fbpx
วิกิพีเดีย

เอเคอร์ (อิสราเอล)

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ เอเคอร์ (แก้ความกำกวม)‎

เอเคอร์ หรือ อักโก (อังกฤษ: Acre หรือ Akko) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของบริเวณกาลิลีทางตอนเหนือของอิสราเอล ตัวเมืองตั้งอยู่บนแหลมหรือแผ่นดินที่ยื่นออกไปในทะเล (promontory) ของอ่าวไฮฟา (Haifa Bay) ตามสถิติของสำนักงานสถิติกลางแห่งอิสราเอล เอเคอร์มีประชากรทั้งหมดราว 46,000 คนในปลายปี ค.ศ. 2007 ในทางประวัติศาสตร์เอเคอร์เป็นเมืองสำคัญทางยุทธศาสตร์ของบริเวณเลแวนต์ (Levant) เพราะมีที่ตั้งอยู่ริมทะเล

เมืองเก่าเอเคอร์ *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
เอเคอร์
ประเทศ อิสราเอล
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(ii)(iii)(v)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2544 (คณะกรรมการสมัยที่ 25)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

สมัยกรีกและโรมัน

นักประวัติศาสตร์กรีกเรียกเมืองนี้ว่า “Ake” ที่แปลว่า “รักษา” ตามตำนานที่ว่าเฮราคลีสพบพันธ์ไม้สมุนไพรที่สามารถใช้ในการรักษาแผลของตนเองได้ นักประวัติศาสตร์กรีกโจซีฟัสเรียกเมืองนี้ว่า “Akre” ต่อมาไม่นานหลังจากที่ถูกยึดโดยอเล็กซานเดอร์มหาราชเอเคอร์ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “Antiochia Ptolemais” (อันติโอเคียโทเลเมส์) หลังจากที่อเล็กซานเดอร์มหาราชทรงแบ่งราชอาณาจักร เอเคอร์ก็ปกครองโดยทอเลมี โซเตอร์

นักประวัติศาสตร์กรีกสตราโบ (Strabo) กล่าวถึงเอเคอร์ว่าเป็นเมืองที่เป็นที่เป็นสนามรบในการต่อสู้เมื่อเปอร์เชียมารณรงค์ต่อต้านอียิปต์ ราว 165 ปีก่อนคริสต์ศักราชไซมอน แม็คคาเบียส (Simon Maccabaeus) ได้รับชัยชนะต่อซีเรียหลายครั้งในยุทธการในบริเวณกาลิลี และได้ขับซีเรียเข้าไปในเมืองโทเลเมส์ ราว 153 ปีก่อนคริสต์ศักราชอเล็กซานเดอร์ บาลัส (Alexander Balas) ลูกของอันติโอคัสที่ 4 แห่งอีพิฟานีส (Antiochus IV Epiphanes) ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ซีเรียต่อเดมิเทรียสที่ 1 โซเตอร์ (Demetrius I Soter) ก็ยึดโทเลเมส์ที่เปิดประตูให้ เดมิเทรียสพยายามติดสินบนฝ่ายแม็คคาบีส (Maccabees) โดยใช้เงินที่รวมทั้งเงินที่มาจากรายได้ของโทเลเมส์สำหรับการบำรุงวัดแห่งเยรูซาเลม เพื่อหาเสียงสนับสนุนจากชนยิวในการต่อต้านบาลัสแต่ก็ไม่สำเร็จ โจนาธาน แม็คคาเบียส (Jonathan Maccabaeus) หันไปสนับสนุนบาลัส และในปี 150 ปีก่อนคริสต์ศักราชโจนาธานก็ได้รับการรับรองเป็นอย่างดีโดยบาลัสในโทเลเมส์ แต่หลายปีต่อมาไทรฟอนเจ้าหน้าที่ชาวซีเรียเกิดความไม่ไว้วางใจในตัวแม็คคาเบียสและล่อลวงตัวไปจับตัวเป็นนักโทษ

โทเลเมส์ถูกยึดโดยอเล็กซานเดอร์ แจนเนียส (Alexander Jannaeus), โดยคลีโอพัตราที่ 7 แห่งอียิปต์ (Cleopatra VII of Egypt) และต่อมาโดย ไทเกรนีสมหาราช (Tigranes the Great) นอกจากนั้นโทเลเมส์ก็ยังเป็นที่ที่พระเจ้าแฮรอดมหาราชทรงสร้างโรงพลศึกษากรีก (Greek gymnasium) และเป็นที่ที่ชาวยิวมาพบเพโทรเนียสผู้ที่ถูกส่งมาติดตั้งประติมากรรมของจักรพรรดิโรมันในวัดของชาวยิว และพยายามหว่านล้อมให้เพโทรเนียสเดินทางกลับไปโรม นักบุญพอลใช้เวลาวันหนึ่งในโทเลเมส์ (กิจการ 21:7) โรมันก่อตั้งเมืองเป็นอาณานิคมที่เรียกว่า “โคโลเนีย คลอเดอี เซซารี” (Colonia Claudii Cæsaris)

ในปี ค.ศ. 395 หลังจากจักรวรรดิโรมัน แบ่งเป็นสองส่วน เอเคอร์ก็ตกไปเป็นของจักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือจักรวรรดิไบแซนไทน์

การปกครองโดยอาหรับและโดยนักรบครูเสด

เมืองเอเคอร์เก่าเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20

หลังจากกองทหารของเฮราคลิอุส (Heraclius) แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ถูกทำลายโดยกองทัพมุสลิมของ คาลิด อิบน์ อัล-วาลิด (Khalid ibn al-Walid) ในยุทธการยาร์มุค (Battle of Yarmouk) และเมืองคริสเตียนแห่งเยรูซาเลมตกไปเป็นของกาหลิบอุมาร์ (Umar) แล้ว เอเคอร์ก็ตกไปเป็นของอาณาจักรกาหลิบราชิดัน (Rashidun Caliphate) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 638, ต่อมาอาณาจักรกาหลิบอูมายยัด (Umayyad Caliphate) และต่อมาอาณาจักรกาหลิบอับบาซิด (Abbasid Caliphate) จนกระทั่งมาถูกยึดโดยบอลด์วินที่ 1 แห่งเยรูซาเลม ระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1104 หลังจากนั้นนักรบครูเสดก็สร้างเอเคอร์ให้เป็นเมืองท่าหลักในปาเลสไตน์ เอเคอร์ถูกยึดกลับไปเป็นของฝ่ายมุสลิมโดยSaladinศอลาฮุดดีนในปี ค.ศ. 1187 แต่อีกสองปีต่อมาก็มาถูกล้อมโดยไม่คาดโดยกีแห่งลูซิยอง (Guy of Lusignan) แต่ก็ยึดไม่ได้จนกระทั่งเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1191 โดยสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ, พระเจ้าฟิลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส และเลโอโปลด์ที่ 5 ดยุคแห่งออสเตรีย และกองทัพเยอรมันบางส่วนและกองทัพครูเสด เอเคอร์จึงกลายเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรเยรูซาเลมที่ยังเหลืออยู่ในปี ค.ศ. 1192 ต่อมาในปี ค.ศ. 1229 เอเคอร์ก็ตกอยู่ภายใต้การปกครองของอัศวินเซนต์จอห์น นักรบครูเสดเรียกเมืองนี้ว่า “เอเคอร์” หรือ “เซนต์จอห์นแห่งเอเคอร์” หรือ “แซงต์-ฌองดาเครอ” (Saint-Jean d'Acre) เพราะเข้าใจผิดว่าเป็นเมืองเอครอน (Ekron) ของฟิลลิสตีน (Philistines) ทางตอนเหนือของฟิลลิสเชียปัจจุบันตั้งอยู่ทางตอนไต้ของอิสราเอล เอเคอร์เป็นที่ตั้งมั่นสุดท้ายของนักรบครูเสดที่มาเสียแก่มามลุค (Mamluk) แห่งอาณาจักรกาหลิบอับบาซิด (Abbasid Caliphate) หลังจากการถูกล้อมในปี ค.ศ. 1291

ตัวเมืองเก่าของเอเคอร์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี ค.ศ. 2001

อ้างอิง

  1. Other spellings and historical names of the city include Accho, Acco and (Bahá'í orthography) `Akká, or formerly Aak, Ake, Akre, Akke, Ocina, Antiochia Ptolemais (กรีก: Αντιόχεια της Πτολεμαΐδος), Antiochenes, Ptolemais Antiochenes, Ptolemais or Ptolemaïs, Colonia Claudii Cæsaris, and St.-Jean d'Acre (Acre for short)
  2. "Table 3 - Population of Localities Numbering Above 1,000 Residents and Other Rural Population" (PDF). Israel Central Bureau of Statistics. 2008-06-30. สืบค้นเมื่อ 2008-10-18.
  3. The Guide to Israel, Zev Vilnay, Ahiever, Jerusalem, 1972, p. 396
  4. "Acco, Ptolemais, Acre". BiblePlaces.com. สืบค้นเมื่อ 2008-10-20.
  5. "Archaeology in Israel - Acco (Acre)". Jewishmag.com. สืบค้นเมื่อ 2009-05-05.
  6. UNESCO: Old City of Acre[1]

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เมืองเอเคอร์

  • เว็ปไซท์ของเมืองเก่าเอเคอร์ 2006-04-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ประวัติของเอเคอร์ (Jewish Virtual Library)
  • ท่องเที่ยวเอเคอร์ 2011-07-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (TripTouch.com)
  • ชื่อต่างๆ ของเมืองเอเคอร์แลภาพ (Bibleplaces.com)
  • กำแพงเมืองเอเคอร์ 2006-04-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (OADC)
  • ท่องเที่ยวเอเคอร์
  • ภาพเมืองอักโก
  • ภาพเมืองเก่าอักโก

เอเคอร, สราเอล, สำหร, บความหมายอ, เอเคอร, แก, ความกำกวม, เอเคอร, หร, กโก, งกฤษ, acre, หร, akko, เป, นเม, องท, งอย, ทางตะว, นตกของบร, เวณกาล, ทางตอนเหน, อของอ, สราเอล, วเม, องต, งอย, บนแหลมหร, อแผ, นด, นท, นออกไปในทะเล, promontory, ของอ, าวไฮฟา, haifa, ตามสถ, ข. sahrbkhwamhmayxun duthi exekhxr aekkhwamkakwm exekhxr hrux xkok xngkvs Acre hrux Akko 1 epnemuxngthitngxyuthangtawntkkhxngbriewnkalilithangtxnehnuxkhxngxisraexl twemuxngtngxyubnaehlmhruxaephndinthiyunxxkipinthael promontory khxngxawihfa Haifa Bay tamsthitikhxngsankngansthitiklangaehngxisraexl exekhxrmiprachakrthnghmdraw 46 000 khninplaypi kh s 2007 2 inthangprawtisastrexekhxrepnemuxngsakhythangyuththsastrkhxngbriewnelaewnt Levant ephraamithitngxyurimthaelemuxngekaexekhxr aehlngmrdkolkodyyuensokexekhxrpraeths xisraexlpraephthmrdkthangwthnthrrmeknthphicarna ii iii v prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiyn2544 khnakrrmkarsmythi 25 chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensok enuxha 1 smykrikaelaormn 2 karpkkhrxngodyxahrbaelaodynkrbkhruesd 3 xangxing 4 duephim 5 aehlngkhxmulxun smykrikaelaormn aekikh nkprawtisastrkrikeriykemuxngniwa Ake thiaeplwa rksa tamtananthiwaehrakhlisphbphnthimsmuniphrthisamarthichinkarrksaaephlkhxngtnexngid 3 nkprawtisastrkrikocsifseriykemuxngniwa Akre txmaimnanhlngcakthithukyudodyxelksanedxrmharachexekhxrthukepliynchuxepn Antiochia Ptolemais xntioxekhiyothelems hlngcakthixelksanedxrmharachthrngaebngrachxanackr exekhxrkpkkhrxngodythxelmi osetxr 4 nkprawtisastrkrikstraob Strabo klawthungexekhxrwaepnemuxngthiepnthiepnsnamrbinkartxsuemuxepxrechiymarnrngkhtxtanxiyipt raw 165 pikxnkhristskrachismxn aemkhkhaebiys Simon Maccabaeus idrbchychnatxsieriyhlaykhrnginyuththkarinbriewnkalili aelaidkhbsieriyekhaipinemuxngothelems raw 153 pikxnkhristskrachxelksanedxr bals Alexander Balas lukkhxngxntioxkhsthi 4 aehngxiphifanis Antiochus IV Epiphanes phuxangsiththiinrachbllngksieriytxedmiethriysthi 1 osetxr Demetrius I Soter kyudothelemsthiepidpratuih edmiethriysphyayamtidsinbnfayaemkhkhabis Maccabees odyichenginthirwmthngenginthimacakrayidkhxngothelemssahrbkarbarungwdaehngeyrusaelm ephuxhaesiyngsnbsnuncakchnyiwinkartxtanbalsaetkimsaerc ocnathan aemkhkhaebiys Jonathan Maccabaeus hnipsnbsnunbals aelainpi 150 pikxnkhristskrachocnathankidrbkarrbrxngepnxyangdiodybalsinothelems aethlaypitxmaithrfxnecahnathichawsieriyekidkhwamimiwwangicintwaemkhkhaebiysaelalxlwngtwipcbtwepnnkothsothelemsthukyudodyxelksanedxr aecneniys Alexander Jannaeus odykhlioxphtrathi 7 aehngxiyipt Cleopatra VII of Egypt aelatxmaody ithekrnismharach Tigranes the Great nxkcaknnothelemskyngepnthithiphraecaaehrxdmharachthrngsrangorngphlsuksakrik Greek gymnasium aelaepnthithichawyiwmaphbephothreniysphuthithuksngmatidtngpratimakrrmkhxngckrphrrdiormninwdkhxngchawyiw aelaphyayamhwanlxmihephothreniysedinthangklbiporm nkbuyphxlichewlawnhnunginothelems kickar 21 7 ormnkxtngemuxngepnxananikhmthieriykwa okholeniy khlxedxi essari Colonia Claudii Caesaris inpi kh s 395 hlngcakckrwrrdiormn aebngepnsxngswn exekhxrktkipepnkhxngckrwrrdiormntawnxxkhruxckrwrrdiibaesnithn karpkkhrxngodyxahrbaelaodynkrbkhruesd aekikh emuxngexekhxrekaemuxtnkhriststwrrsthi 20 hlngcakkxngthharkhxngehrakhlixus Heraclius aehngckrwrrdiibaesnithnthukthalayodykxngthphmuslimkhxng khalid xibn xl walid Khalid ibn al Walid inyuththkaryarmukh Battle of Yarmouk aelaemuxngkhrisetiynaehngeyrusaelmtkipepnkhxngkahlibxumar Umar aelw exekhxrktkipepnkhxngxanackrkahlibrachidn Rashidun Caliphate tngaetpi kh s 638 txmaxanackrkahlibxumayyd Umayyad Caliphate aelatxmaxanackrkahlibxbbasid Abbasid Caliphate cnkrathngmathukyudodybxldwinthi 1 aehngeyrusaelm rahwangsngkhramkhruesdkhrngthi 1 inpi kh s 1104 hlngcaknnnkrbkhruesdksrangexekhxrihepnemuxngthahlkinpaelsitn 5 exekhxrthukyudklbipepnkhxngfaymuslimodySaladinsxlahuddininpi kh s 1187 aetxiksxngpitxmakmathuklxmodyimkhadodykiaehnglusiyxng Guy of Lusignan aetkyudimidcnkrathngeduxnkrkdakhm kh s 1191 odysmedcphraecarichardthi 1 aehngxngkvs phraecafilipthi 2 aehngfrngess aelaeloxopldthi 5 dyukhaehngxxsetriy aelakxngthpheyxrmnbangswnaelakxngthphkhruesd exekhxrcungklayepnemuxnghlwngkhxngrachxanackreyrusaelmthiyngehluxxyuinpi kh s 1192 txmainpi kh s 1229 exekhxrktkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngxswinesntcxhn nkrbkhruesderiykemuxngniwa exekhxr hrux esntcxhnaehngexekhxr hrux aesngt chxngdaekhrx Saint Jean d Acre ephraaekhaicphidwaepnemuxngexkhrxn Ekron khxngfillistin Philistines thangtxnehnuxkhxngfillisechiypccubntngxyuthangtxnitkhxngxisraexl exekhxrepnthitngmnsudthaykhxngnkrbkhruesdthimaesiyaekmamlukh Mamluk aehngxanackrkahlibxbbasid Abbasid Caliphate hlngcakkarthuklxminpi kh s 1291twemuxngekakhxngexekhxr 6 idrbkarkhunthaebiynepnmrdkolkodyxngkhkaryuensokemuxpi kh s 2001xangxing aekikh Other spellings and historical names of the city include Accho Acco and Baha i orthography Akka or formerly Aak Ake Akre Akke Ocina Antiochia Ptolemais krik Antioxeia ths Ptolemaidos Antiochenes Ptolemais Antiochenes Ptolemais or Ptolemais Colonia Claudii Caesaris and St Jean d Acre Acre for short Table 3 Population of Localities Numbering Above 1 000 Residents and Other Rural Population PDF Israel Central Bureau of Statistics 2008 06 30 subkhnemux 2008 10 18 The Guide to Israel Zev Vilnay Ahiever Jerusalem 1972 p 396 Acco Ptolemais Acre BiblePlaces com subkhnemux 2008 10 20 Archaeology in Israel Acco Acre Jewishmag com subkhnemux 2009 05 05 UNESCO Old City of Acre 1 duephim aekikhsngkhramkhruesd mrdkolkaehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb emuxngexekhxr ewpisthkhxngemuxngekaexekhxr Archived 2006 04 07 thi ewyaebkaemchchin prawtikhxngexekhxr Jewish Virtual Library thxngethiywexekhxr Archived 2011 07 17 thi ewyaebkaemchchin TripTouch com chuxtang khxngemuxngexekhxraelphaph Bibleplaces com kaaephngemuxngexekhxr Archived 2006 04 07 thi ewyaebkaemchchin OADC thxngethiywexekhxr phaphemuxngxkok phaphemuxngekaxkok bthkhwamekiywkbpraeths dinaedn hruxekhtkarpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title exekhxr xisraexl amp oldid 9552127, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม