fbpx
วิกิพีเดีย

แพลงก์ตอนพืช

แพลงก์ตอนพืช หรือ ไฟโทแพลงก์ตอน (อังกฤษ: Phytoplankton) มีรากศัพท์จากภาษากรีกว่า φυτόν (ฟิตอน) หมายถึง "พืช" และ πλαγκτός (พลังค์ตอส) หมายถึง "ผู้เดินทาง" หรือ "ผู้เร่ร่อน" คือแพลงก์ตอนที่สามารถสังเคราะห์แสงและสร้างอาหารเองได้ สิ่งมีชีวิตกลุ่มหลักของแพลงก์ตอนพืชประกอบด้วย ไดอะตอม สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีทอง ไดโนแฟลกเจลเลต และไซยาโนแบคทีเรีย (สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน) ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เนื่องจากเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิของห่วงโซ่และสายใยอาหาร พบได้ทั้งในระบบนิเวศน้ำจืด ระบบนิเวศน้ำเค็ม ตลอดจนในระบบนิเวศน้ำกร่อย แพลงก์ตอนพืชส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งมีชีวิตจำพวกสาหร่าย ทั้งที่เป็นโพรแคริโอตและยูแคริโอต โดยในแหล่งน้ำจืดจะพบสาหร่ายสีเขียว โดยเฉพาะในอันดับเดสมิด เป็นกลุ่มหลัก ส่วนในแหล่งน้ำเค็มอย่างทะเลและทะเลสาบ พบว่าแพลงก์ตอนพืชกลุ่มหลักคือกลุ่มไดอะตอมและไดโนแฟลกเจลเลต

แพลงก์ตอนพืชชนิดและรูปร่างต่าง ๆ ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กไม่ถึงมิลลิเมตร
ไดอะตอม สิ่งมีชีวิตหลักกลุ่มหนึ่งในแพลงก์ตอนพืช

ในทางชีววิทยา แพลงก์ตอนพืชบางสปีชี่ส์จัดอยู่ในอาณาจักรพืช เช่น สาหร่ายสีเขียว บางชนิดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา เช่น ไดอะตอม สาหร่ายสีทอง บางชนิดอยู่ในกลุ่มเฮเทอโรคอนท์ ซึ่งไม่ได้จัดอันดับไว้ (จำพวกไดโนแฟลกเจลเลต) และบางชนิดถูกจัดอยู่ในอาณาจักรยูแบคทีเรีย เช่น ไซยาโนแบคทีเรีย

แพลงก์ตอนพืชยังเป็นอาหารของแพลงก์ตอนสัตว์และสัตว์หลายชนิดที่อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำหรือท้องทะเล สัตว์บางชนิดมีอวัยวะคล้ายตาข่ายเพื่อดักจับแพลงก์ตอนพืชโดยเฉพาะ เช่น กุ้งเคย ห่วงโซ่อาหารหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดคือ แพลงก์ตอนพืชกุ้งเคยวาฬ

มนุษย์นำแพลงก์ตอนพืชมาใช้ประโยชน์ในหลายทาง แพลงก์ตอนบางชนิดมีคุณค่าทางอาหารสูง จึงถูกนำไปใช้เป็นอาหารเสริมหรือเป็นส่วนประกอบของอาหารเสริม บางชนิดถูกนำไปใช้เป็นอาหารให้แก่สัตว์น้ำวัยอ่อนที่ต้องการเพาะพันธุ์ แพลงก์ตอนพืชที่มีปริมาณมากและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแหล่งน้ำใด ๆ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ทำให้น้ำเปลี่ยนสีเป็นสีเขียว แดง น้ำตาล หรือเหลือง ขึ้นอยู่กับชนิดของแพลงก์ตอนพืช เช่น ไดโนแฟลกเจลเลตอย่าง Noctiluca scintillans ทำให้น้ำเป็นสีเขียว Ceratium furca ทำให้น้ำเป็นสีน้ำตาล เป็นต้น แพลงก์ตอนพืชปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เนื่องจากทำให้น้ำขาดออกซิเจนหรือลดลงอย่างมาก หรือทำให้เกิดภาวะสะสมของสารพิษที่มาจากตัวแพลงก์ตอน

แพลงก์ตอนพืชมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการผลิตออกซิเจน นักชีววิทยาคาดการณ์ว่าปริมาณออกซิเจนถึงร้อยละ 50–80 ในชั้นบรรยากาศโลกผลิตขึ้นจากแพลงก์ตอนพืช ปัจจุบันแพลงก์ตอนพืชมีจำนวนลดลงอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญคือน้ำทะเลมีอุณหภูมิสูงขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา จำนวนแพลงก์ตอนพืชในทะเลลดลงกว่าร้อยละ 40

อ้างอิง

  1. Thurman, H. V. (2550). Introductory Oceanography. Academic Internet Publishers. ISBN 978-1-4288-3314-2. Check date values in: |year= (help)
  2. ลัดดา วงศ์รัตน์ (2542). แพลงก์ตอนพืช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  3. Antarctic krill Euphausia superba filter of thoracopods, สืบค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2558
  4. แพลงก์ตอนพืชที่เป็นอันตราย MyFirstBrain.com, สืบค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2558
  5. Jack Hall (12 กันยายน 2554), The Most Important Organism?, สืบค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2558
  6. (28 กรกฎาคม 2553), Marine phytoplankton declining: Striking global changes at the base of the marine food web linked to rising ocean temperatures, สืบค้นวันที่ 4 ตุลาคม 2558

แหล่งข้อมูลอื่น

แพลงก, ตอนพ, หร, ไฟโทแพลงก, ตอน, งกฤษ, phytoplankton, รากศ, พท, จากภาษากร, กว, φυτόν, ตอน, หมายถ, และ, πλαγκτός, พล, งค, ตอส, หมายถ, เด, นทาง, หร, เร, อน, อแพลงก, ตอนท, สามารถส, งเคราะห, แสงและสร, างอาหารเองได, งม, ตกล, มหล, กของประกอบด, วย, ไดอะตอม, สาหร, ายส. aephlngktxnphuch hrux ifothaephlngktxn xngkvs Phytoplankton miraksphthcakphasakrikwa fyton fitxn hmaythung phuch aela plagktos phlngkhtxs hmaythung phuedinthang hrux phuerrxn 1 khuxaephlngktxnthisamarthsngekhraahaesngaelasrangxaharexngid singmichiwitklumhlkkhxngaephlngktxnphuchprakxbdwy idxatxm sahraysiekhiyw sahraysithxng idonaeflkeclelt aelaisyaonaebkhthieriy sahraysiekhiywaekmnaengin thuxepnsingmichiwitthimikhwamsakhyxyangmaktxrabbniews enuxngcakepnphuphlitpthmphumikhxnghwngosaelasayiyxahar phbidthnginrabbniewsnacud rabbniewsnaekhm tlxdcninrabbniewsnakrxy aephlngktxnphuchswnihycaepnsingmichiwitcaphwksahray thngthiepnophraekhrioxtaelayuaekhrioxt odyinaehlngnacudcaphbsahraysiekhiyw odyechphaainxndbedsmid epnklumhlk swninaehlngnaekhmxyangthaelaelathaelsab phbwaaephlngktxnphuchklumhlkkhuxklumidxatxmaelaidonaeflkeclelt 2 aephlngktxnphuchchnidaelaruprangtang swnihymikhnadelkimthungmilliemtr idxatxm singmichiwithlkklumhnunginaephlngktxnphuch inthangchiwwithya aephlngktxnphuchbangspichiscdxyuinxanackrphuch echn sahraysiekhiyw bangchnidxyuinxanackrophrthista echn idxatxm sahraysithxng bangchnidxyuinklumehethxorkhxnth sungimidcdxndbiw caphwkidonaeflkeclelt aelabangchnidthukcdxyuinxanackryuaebkhthieriy echn isyaonaebkhthieriyaephlngktxnphuchyngepnxaharkhxngaephlngktxnstwaelastwhlaychnidthixasyxyutamphunnahruxthxngthael stwbangchnidmixwywakhlaytakhayephuxdkcbaephlngktxnphuchodyechphaa echn kungekhy 3 hwngosxaharhnungthiepnthiruckknmakthisudkhux aephlngktxnphuch kungekhy walmnusynaaephlngktxnphuchmaichpraoychninhlaythang aephlngktxnbangchnidmikhunkhathangxaharsung cungthuknaipichepnxaharesrimhruxepnswnprakxbkhxngxaharesrim bangchnidthuknaipichepnxaharihaekstwnawyxxnthitxngkarephaaphnthu aephlngktxnphuchthimiprimanmakaelaephimkhunxyangrwderwinaehlngnaid xacepnsaehtuihekidpraktkarnkhiplawal thaihnaepliynsiepnsiekhiyw aedng natal hruxehluxng khunxyukbchnidkhxngaephlngktxnphuch echn idonaeflkecleltxyang Noctiluca scintillans thaihnaepnsiekhiyw Ceratium furca thaihnaepnsinatal epntn aephlngktxnphuchprimanmakxacepnxntraytxsingmichiwitthixasyxyuinbriewnnn enuxngcakthaihnakhadxxksiecnhruxldlngxyangmak hruxthaihekidphawasasmkhxngsarphisthimacaktwaephlngktxn 4 aephlngktxnphuchmiswnsakhyxyangyinginkarphlitxxksiecn nkchiwwithyakhadkarnwaprimanxxksiecnthungrxyla 50 80 inchnbrryakasolkphlitkhuncakaephlngktxnphuch 5 pccubnaephlngktxnphuchmicanwnldlngxyangmak sungpccysakhykhuxnathaelmixunhphumisungkhun tngaet ph s 2493 epntnma canwnaephlngktxnphuchinthaelldlngkwarxyla 40 6 aephnthiolkaesdngkarkracaytwkhxngaephlngktxnphuch odysinaenginekhmmikhwamhnaaennsung khxmulcakdawethiymxakhwakhxngnasa phvscikayn 2556 praktkarnsahraysaphrngthiekidcakaephlngktxnphuchinthaeldaxangxing aekikh Thurman H V 2550 Introductory Oceanography Academic Internet Publishers ISBN 978 1 4288 3314 2 Check date values in year help ldda wngsrtn 2542 aephlngktxnphuch krungethph sankphimphmhawithyalyekstrsastr Antarctic krill Euphausia superba filter of thoracopods subkhnwnthi 4 tulakhm 2558 aephlngktxnphuchthiepnxntray MyFirstBrain com subkhnwnthi 4 tulakhm 2558 Jack Hall 12 knyayn 2554 The Most Important Organism subkhnwnthi 4 tulakhm 2558 28 krkdakhm 2553 Marine phytoplankton declining Striking global changes at the base of the marine food web linked to rising ocean temperatures subkhnwnthi 4 tulakhm 2558aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb aephlngktxnphuchldda wngsrtn aephlngktxnphuch phakhwichachiwwithyapramng khnapramng mhawithyalyekstrsastr phimphkhrngthi 2 2544 851 hna ISBN 974 553 902 3 aephlngktxnphuchthiepnxntray ody MyFirstBrain comekhathungcak https th wikipedia org w index php title aephlngktxnphuch amp oldid 6444688, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม