fbpx
วิกิพีเดีย

แรงจูงใจ

แรงจูงใจ (อังกฤษ: motive) เป็นคำที่ได้ความหมายมาจากคำภาษาละตินที่ว่า movere ซึ่งหมายถึง "เคลื่อนไหว"

บทนำ

การจูงใจ (Motivation) คือ สิ่งซึ่งควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ อันเกิดจากความต้องการ (Needs) พลังกดดัน (Drives) หรือ ความปรารถนา (Desires) ที่จะพยายามดิ้นรนเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติหรือจากการเรียนรู้ก็ได้ การจูงใจเกิดจากสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกตัวบุคคลนั้น ๆ เอง ภายใน ได้แก่ ความรู้สึกต้องการ หรือขาดอะไรบางอย่าง จึงเป็นพลังชักจูง หรือกระตุ้นให้มนุษย์ประกอบกิจกรรมเพื่อทดแทนสิ่งที่ขาดหรือต้องการนั้น ส่วนภายนอกได้แก่ สิ่งใดก็ตามที่มาเร่งเร้า นำช่องทาง และมาเสริมสร้างความปรารถนาในการประกอบกิจกรรมในตัวมนุษย์ ซึ่งการจูงใจนี้อาจเกิดจากสิ่งเร้าภายในหรือภายนอก แต่เพียงอย่างเดียว หรือทั้งสองอย่างพร้อมกันได้ อาจกล่าวได้ว่า การจูงใจทำให้เกิดพฤติกรรมซึ่งเกิดจากความต้องการของมนุษย์ ซึ่งความต้องการเป็นสิ่งเร้าภายในที่สำคัญกับการเกิดพฤติกรรม นอกจากนี้ยังมีสิ่งเร้าอื่น ๆ เช่น การยอมรับของสังคม สภาพบรรยากาศที่เป็นมิตร การบังคับขู่เข็ญ การให้รางวัลหรือกำลังใจหรือการทำให้เกิดความพอใจ ล้วนเป็นเหตุจูงใจให้เกิดแรงจูงใจได้

ทฤษฎีแรงจูงใจ

ทฤษฎีแรงจูงใจแบ่งออกได้เป็นทฤษฎีใหญ่ ๆ คือ

  • ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral View of Motivation)

ทฤษฎี นี้ ให้ความสำคัญกับประสบการณ์ในอดีต (Past Experience) ว่ามีผลต่อแรงจูงใจของบุคคลเป็นอย่างมาก ดังนั้นทุกพฤติกรรมของมนุษย์ถ้าวิเคราะห์ดูแล้วจะเห็นว่าได้รับอิทธิพลที่เป็นแรงจูงใจมาจากประสบการณ์ใน อดีตเป็นส่วนมาก โดยประสบการณ์ในด้านดีและกลายเป็นแรงจูงใจทางบวกที่ส่งผลเร้าให้มนุษย์มีความต้อง การแสดงพฤติกรรมในทิศทางนั้นมากยิ่งขึ้นทฤษฎีนี้เน้นความสำคัญของสิ่งเร้าภายนอก (Extrinsic Motivation)

  • ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning View of Motivation)

ทฤษฎีนี้เห็นว่าแรงจูงใจเกิดจากการเรียนรู้ทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเอกลักษณ์และการเลียนแบบ (Identification and Imitation) จากบุคคลที่ตนเองชื่นชม หรือคนที่มีชื่อเสียงในสังคมจะเป็นแรงจูงใจที่สำคัญในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล

  • ทฤษฎีพุทธินิยม (Cognitive View of Motivation)

ทฤษฎีนี้เห็นว่าแรงจูงใจในการกระทำพฤติกรรมของมนุษย์นั้นขึ้นอยู่กับการรับรู้ (Perceive) สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยอาศัยความสามารถทางปัญญาเป็นสำคัญ มนุษย์จะได้รับแรงผลักดันจากหลาย ๆ ทางในการแสดงพฤติกรรม ซึ่งในสภาพเช่นนี้ มนุษย์จะเกิดสภาพความไม่สมดุล (Disequilibrium) ขึ้น เมื่อเกิดสภาพเช่นว่านี้มนุษย์จะต้อง อาศัยขบวนการดูดซึม (Assimilation) และการปรับ (Accomodation) ความแตกต่างของประสบการณ์ที่ได้รับใหม่ให้ ้เข้ากับประสบการณ์เดิมของตนซึ่งการจะทำได้จะต้องอาศัยสติปัญญาเป็นพื้นฐานที่สำคัญทฤษฎีนี้เน้นเรื่องแรงจูง ใจภายใน(intrinsic Motivation) นอกจากนั้นทฤษฎีนี้ยังให้ความสำคัญกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และการวางแผน ทฤษฎีนี้ให้ความสำคัญกับระดับของความคาดหวัง (Level of Aspiration) โดยที่เขากล่าวว่าคนเรามีแนวโน้มที่จะตั้ง ความคาดหวังของตนเองให้สูงขึ้น เมื่อเขาทำงานหนึ่งสำเร็จ และตรงกัน ข้ามคือจะตั้งความคาดหวังของตนเองต่ำลง เมื่อเขาทำงานหนึ่งแล้วล้มเหลว

  • ทฤษฎีมานุษยนิยม (Humanistic View of Motivation)

แนวความคิดนี้เป็นของมาสโลว์ (Maslow) ที่ได้อธิบายถึงลำดับความต้องการของมนุษย์ โดยที่ความต้องการจะเป็น ตัวกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมเพื่อไปสู่ความต้องการนั้น ทำให้เราไม่จำเป็นต้องสืบพฤติกรรมเลย ดังนี้ถ้าเข้าใจความต้องการของมนุษย์ก็สามารถ อธิบายถึงเรื่องแรงจูงใจของมนุษย์ได้เช่นเดียวกัน

องค์ประกอบของแรงจูงใจ

นักจิตวิทยาปัจจุบันได้ศึกษาและสรุปว่า องค์ประกอบของแรงจูงใจ มี 3 ด้านคือ

  • องค์ประกอบทางด้านกายภาพ (Biological Factor) ในองค์ประกอบด้านนี้จะพิจารณาถึงความต้องการทางกายภาพของมนุษย์ เช่น ความต้องการปัจจัย 4 เพื่อจะดำรงชีวิตอยู่ได้
  • องค์ประกอบทางด้านการเรียนรู้ (Learned Factor) องค์ประกอบด้านนี้เป็นผลสืบเนื่องต่อจากองค์ประกอบข้อ 1 ทั้งนี้เพราะมนุษย์ทุกคนไม่สามารถได้รับการตอบสนองความต้องการในปริมาณ ชนิด และคุณภาพตามที่ตนเองต้องการ และในหลาย ๆ ครั้ง สิ่งแวดล้อมเป็นตัววางเงื่อนไขในการสร้างแรงจูงใจของมนุษย์
  • องค์ประกอบทางด้านความคิด (Cognitive Factor)

ประเภทของแรงจูงใจ

นักจิตวิทยาได้แบ่งลักษณะของแรงจูงใจออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้

  • กลุ่มที่1 แรงจูงใจฉับพลัน (Aroused Motive) คือแรงจูงใจที่กระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรม ออกมาทันทีทันใด แรงจูงใจสะสม (Motivational Disposition หรือ Latent Motive) คือแรงจูงใจที่มีอยู่แต่ไม่ได้แสดงออกทันที จะค่อย ๆ เก็บสะสมไว้รอการแสดงออกในเวลา ใดเวลาหนึ่งต่อ
  • กลุ่มที่ 2 แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motive) คือแรงจูงใจที่ได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งเร้าภายในตัวของบุคคลผู้นั้น

แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motive) คือแรงจูงใจที่ได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งเร้าภายนอก

  • กลุ่มที่ 3 แรงจูงใจปฐมภูมิ (Primary Motive) คือแรงจูงใจอันเนื่องมาจากความต้องการที่เห็นพื้นฐานทางร่างกาย เช่น ความหิวโหย, กระหายเหือด แรงจูงใจทุติยภูมิ (Secondary Motive) คือแรงจูงใจที่เป็นผลต่อเนื่องมาจากแรงจูงใจขั้นปฐมภูมิ

แรงจูงใจภายในและภายนอก (Intrinsic and Extrinsic Motivation) นักจิตวิทยาหลายท่านไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีพฤติกรรมนิยมที่อธิบายพฤติกรรมด้วยแรงจูงใจทางสรีระแลแรงจูงใจ ทางจิตวิทยาโดยใช้ทฤษฎีการลดแรงขับ เพราะมีความเชื่อว่า พฤติกรรมบางอย่างของมนุษย์เกิดจากแรงจูงใจภายใน

  • แรงจูงใจภายใน หมายถึง แรงจูงใจที่มาจากภายในตัวบุคคล และเป็นแรงขับที่ทำให้บุคคลนั้นแสดงพฤติกรรม

โดยไม่หวังรางวัลหรือแรงเสริมภายนอก

ความมีสมรรถภาพ (Competence) ไวท์ ได้อธิบายว่าความมีสมรรถภาพเป็นแรงจูงใจภายใน ซึ่งหมายถึงความต้องการที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไวท์ถือว่า มนุษย์เราต้องการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่วัยทารกและพยายามที่จะปรับปรุงตัวอยู่เสมอความต้องการมีสมรรถภาพจึงเป็นแรงจูงใจภายใน

ความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) ความอยากรู้อยากเห็นเป็นแรงจูงใจภายในที่ทำให้เกิดพฤติกรรมที่อยากค้นคว้าสำรวจสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นได้จากเด็กวัย 2-3 ขวบจะมีพฤติกรรมที่ต้องการจะสำรวจสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว โดยไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย

  • แรงจูงใจภายนอก หมายถึง แรงจูงใจที่มาจากภายนอก เป็นต้นว่าคำชมหรือรางวัล

มอว์และมอว์ (MAW&MAW,1964) ได้เสนอแนะเครื่องชี้ (Indicators) ของความกระตือรือร้นของเด็กจากพฤติกรรมต่อไปนี้

  1. เด็กจะมีปฏิกิริยาบวกต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งที่ใหม่ แปลกและตีกลับคือมีการเคลื่อนไหว หาสิ่งเหล่านั้น
  2. เด็กแสดงความอยากรู้เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม
  3. เด็กจะเสาะแสวงหาประสบการณ์ใหม่ ๆ โดยสำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
  4. เด็ก จะแสดงความเพียรพยายามอย่างไม่ท้อถอยในการสำรวจค้นพบสิ่งแวดล้อม

มอว์และมอว์ (Maw and Maw, 1964, 1965) ได้เน้นความสำคัญของความกระตือรือร้นว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และสุขภาพจิต ความต้องการพัฒนาตน (Growth Needs) ก็เป็นความต้องการที่ทำให้เกิดแรงจูงใจภายใน ในการเรียนการสอน ครูมีหน้าที่ที่จะสนับสนุนให้นักเรียนได้มีโอกาสค้นคว้าสำรวจและทดลองความสามารถของตน โดยจัดสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนหรือจัดประสบการณ์ที่ท้าทายความอยากรู้อยากเห็นของนักเรียน

รูปแบบของแรงจูงใจ

บุคคลแต่ละคนมีรูปแบบแรงจูงใจที่แตกต่างกัน ซึงนักจิตวิทยาได้แบ่งรูปแบบ แรงจูงใจของมนุษย์ออกเป็นหลายรูปแบบที่สำคัญ มีดังนี้

  1. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Achievement Motive) หมายถึง แรงจูงใจที่เป็นแรงขับให้บุคคลพยายามที่จะประกอบพฤติกรรมที่จะประสบสัมฤทธิผลตามมาตรฐานความเป็นเลิศ (Standard of Excellence) ที่ตนตั้งไว้ บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์จะไม่ทำงานเพราะหวังรางวัล

แต่ทำเพื่อจะประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์จะมีลักษณะสำคัญ ดังนี้

    1. มุ่งหาความสำเร็จ (Hope of Success) และกลัวความล้มเหลว (Fear of Failure)
    2. มีความทะเยอทะยานสูง
    3. ตั้งเป้าหมายสูง
    4. มีความรับผิดชอบในการงานดี
    5. มีความอดทนในการทำงาน
    6. รู้ความสามารถที่แท้จริงของตนเอง
    7. เป็นผู้ที่ทำงานอย่างมีการวางแผน
    8. เป็นผู้ที่ตั้งระดับความคาดหวังไว้สูง
  1. แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ (Affiliative Motive)ผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ มักจะเป็นผู้ที่โอบอ้อมอารี เป็นที่รักของเพื่อน มีลักษณะเห็นใจผู้อื่น ซึ่งเมื่อศึกษาจากสภาพครอบครัวแล้วผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์มักจะเป็นครอบครัวที่อบอุ่น บรรยากาศในบ้านปราศจาก การแข่งขัน พ่อแม่ไม่มีลักษณะข่มขู่ พี่น้องมีความรักสามัคคีกันดี ผู้มีแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์จะมีลักษณะสำคัญ ดังนี้
    1. เมื่อทำสิ่งใด เป้าหมายก็เพื่อได้รับการยอมรับจากกลุ่ม
    2. ไม่มีความทะเยอทะยาน มีความเกรงใจสูง ไม่กล้าแสดงออก
    3. ตั้งเป้าหมายต่ำ
    4. หลีกเลี่ยงการโต้แย้งมักจะคล้อยตามผู้อื่น
  2. แรงจูงใจใฝ่อำนาจ (Power Motive) สำหรับผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่อำนาจนั้น พบว่า ผู้ที่มีแรงจูงใจแบบนี้ส่วนมากมักจะพัฒนามาจากความรู้สึกว่า ตนเอง "ขาด" ในบางสิ่งบางอย่างที่ต้องการ อาจจะเป็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งก็ได้ทำให้เกิดมีความรู้สึกเป็น "ปมด้อย" เมื่อมีปมด้วยจึงพยายามสร้าง "ปมเด่น" ขึ้นมาเพื่อชดเชยกับสิ่งที่ตนเองขาด ผู้มีแรงจูงใจใฝ่อำนาจจะมีลักษณะสำคัญ ดังนี้
    1. ชอบมีอำนาจเหนือผู้อื่น ซึ่งบางครั้งอาจจะออกมาในลักษณะการก้าวร้าว
    2. มักจะต่อต้านสังคม
    3. แสวงหาชื่อเสียง
    4. ชอบเสี่ยง ทั้งในด้านของการทำงาน ร่างกาย และอุปสรรคต่าง ๆ
    5. ชอบเป็นผู้นำ
  3. แรงจูงใจใฝ่ก้าวร้าว (Aggression Motive)ผู้ที่มีลักษณะแรงจูงใจแบบนี้มักเป็นผู้ที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเข้มงวดมากเกินไป บางครั้งพ่อแม่อาจจะใช้วิธีการลงโทษที่รุนแรงเกินไป ดังนั้นเด็กจึงหาทางระบายออกกับผู้อื่น หรืออาจจะเนื่องมาจากการเลียนแบบ บุคคลหรือจากสื่อต่าง ๆ ผู้มีแรงจูงใจใฝ่ก้าวร้าว จะมีลักษณะที่สำคัญดังนี้
    1. ถือความคิดเห็นหรือความสำคัญของตนเป็นใหญ่
    2. ชอบทำร้ายผู้อื่น ทั้งการทำร้ายด้วยกายหรือวาจา
  4. แรงจูงใจใฝ่พึ่งพา (Dependency Motive)สาเหตุของการมีแรงจูงใจแบบนี้ก็เพราะการเลี้ยงดูที่พ่อแม่ทะนุถนอมมากเกินไป ไม่เปิดโอกาสให้เด็กได้ช่วยเหลือตนเอง ผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่ พึ่งพา จะมีลักษณะสำคัญ ดังนี้
    1. ไม่มั่นใจในตนเอง
    2. ไม่กล้าตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ด้วยตนเอง มักจะลังเล
    3. ไม่กล้าเสี่ยง
    4. ต้องการความช่วยเหลือและกำลังใจจากผู้อื่น

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ทฤษฎีแรงจูงใจ
  • พฤติกรรมมนุษย์

แรงจ, งใจ, งกฤษ, motive, เป, นคำท, ได, ความหมายมาจากคำภาษาละต, นท, movere, งหมายถ, เคล, อนไหว, เน, อหา, บทนำ, ทฤษฎ, องค, ประกอบของ, ประเภทของ, ปแบบของ, แหล, งข, อม, ลอ, นบทนำ, แก, ไขการจ, งใจ, motivation, งซ, งควบค, มพฤต, กรรมของมน, ษย, นเก, ดจากความต, องการ, . aerngcungic xngkvs motive epnkhathiidkhwamhmaymacakkhaphasalatinthiwa movere sunghmaythung ekhluxnihw enuxha 1 bthna 2 thvsdiaerngcungic 3 xngkhprakxbkhxngaerngcungic 4 praephthkhxngaerngcungic 5 rupaebbkhxngaerngcungic 6 aehlngkhxmulxunbthna aekikhkarcungic Motivation khux singsungkhwbkhumphvtikrrmkhxngmnusy xnekidcakkhwamtxngkar Needs phlngkddn Drives hrux khwamprarthna Desires thicaphyayamdinrnephuxihbrrluphlsaerctamwtthuprasngkh sungxaccaekidmatamthrrmchatihruxcakkareriynrukid karcungicekidcaksingerathngphayinaelaphaynxktwbukhkhlnn exng phayin idaek khwamrusuktxngkar hruxkhadxairbangxyang cungepnphlngchkcung hruxkratunihmnusyprakxbkickrrmephuxthdaethnsingthikhadhruxtxngkarnn swnphaynxkidaek singidktamthimaerngera nachxngthang aelamaesrimsrangkhwamprarthnainkarprakxbkickrrmintwmnusy sungkarcungicnixacekidcaksingeraphayinhruxphaynxk aetephiyngxyangediyw hruxthngsxngxyangphrxmknid xacklawidwa karcungicthaihekidphvtikrrmsungekidcakkhwamtxngkarkhxngmnusy sungkhwamtxngkarepnsingeraphayinthisakhykbkarekidphvtikrrm nxkcakniyngmisingeraxun echn karyxmrbkhxngsngkhm sphaphbrryakasthiepnmitr karbngkhbkhuekhy karihrangwlhruxkalngichruxkarthaihekidkhwamphxic lwnepnehtucungicihekidaerngcungicidthvsdiaerngcungic aekikhthvsdiaerngcungicaebngxxkidepnthvsdiihy khux thvsdiphvtikrrmniym Behavioral View of Motivation thvsdi ni ihkhwamsakhykbprasbkarninxdit Past Experience wamiphltxaerngcungickhxngbukhkhlepnxyangmak dngnnthukphvtikrrmkhxngmnusythawiekhraahduaelwcaehnwaidrbxiththiphlthiepnaerngcungicmacakprasbkarnin xditepnswnmak odyprasbkarnindandiaelaklayepnaerngcungicthangbwkthisngphleraihmnusymikhwamtxng karaesdngphvtikrrminthisthangnnmakyingkhunthvsdiniennkhwamsakhykhxngsingeraphaynxk Extrinsic Motivation thvsdikareriynruthangsngkhm Social Learning View of Motivation thvsdiniehnwaaerngcungicekidcakkareriynruthangsngkhm odyechphaaxyangyingkarsrangexklksnaelakareliynaebb Identification and Imitation cakbukhkhlthitnexngchunchm hruxkhnthimichuxesiynginsngkhmcaepnaerngcungicthisakhyinkaraesdngphvtikrrmkhxngbukhkhl thvsdiphuththiniym Cognitive View of Motivation thvsdiniehnwaaerngcungicinkarkrathaphvtikrrmkhxngmnusynnkhunxyukbkarrbru Perceive singtang thixyurxbtw odyxasykhwamsamarththangpyyaepnsakhy mnusycaidrbaerngphlkdncakhlay thanginkaraesdngphvtikrrm sunginsphaphechnni mnusycaekidsphaphkhwamimsmdul Disequilibrium khun emuxekidsphaphechnwanimnusycatxng xasykhbwnkardudsum Assimilation aelakarprb Accomodation khwamaetktangkhxngprasbkarnthiidrbihmih ekhakbprasbkarnedimkhxngtnsungkarcathaidcatxngxasystipyyaepnphunthanthisakhythvsdinienneruxngaerngcung icphayin intrinsic Motivation nxkcaknnthvsdiniyngihkhwamsakhykbepahmay wtthuprasngkh aelakarwangaephn thvsdiniihkhwamsakhykbradbkhxngkhwamkhadhwng Level of Aspiration odythiekhaklawwakhneramiaenwonmthicatng khwamkhadhwngkhxngtnexngihsungkhun emuxekhathanganhnungsaerc aelatrngkn khamkhuxcatngkhwamkhadhwngkhxngtnexngtalng emuxekhathanganhnungaelwlmehlw thvsdimanusyniym Humanistic View of Motivation aenwkhwamkhidniepnkhxngmasolw Maslow thiidxthibaythungladbkhwamtxngkarkhxngmnusy odythikhwamtxngkarcaepn twkratunihmnusyaesdngphvtikrrmephuxipsukhwamtxngkarnn thaiheraimcaepntxngsubphvtikrrmely dngnithaekhaickhwamtxngkarkhxngmnusyksamarth xthibaythungeruxngaerngcungickhxngmnusyidechnediywknxngkhprakxbkhxngaerngcungic aekikhnkcitwithyapccubnidsuksaaelasrupwa xngkhprakxbkhxngaerngcungic mi 3 dankhux xngkhprakxbthangdankayphaph Biological Factor inxngkhprakxbdannicaphicarnathungkhwamtxngkarthangkayphaphkhxngmnusy echn khwamtxngkarpccy 4 ephuxcadarngchiwitxyuid xngkhprakxbthangdankareriynru Learned Factor xngkhprakxbdanniepnphlsubenuxngtxcakxngkhprakxbkhx 1 thngniephraamnusythukkhnimsamarthidrbkartxbsnxngkhwamtxngkarinpriman chnid aelakhunphaphtamthitnexngtxngkar aelainhlay khrng singaewdlxmepntwwangenguxnikhinkarsrangaerngcungickhxngmnusy xngkhprakxbthangdankhwamkhid Cognitive Factor praephthkhxngaerngcungic aekikhnkcitwithyaidaebnglksnakhxngaerngcungicxxkepnpraephthihy iddngni klumthi1 aerngcungicchbphln Aroused Motive khuxaerngcungicthikratunihmnusyaesdngphvtikrrm xxkmathnthithnid aerngcungicsasm Motivational Disposition hrux Latent Motive khuxaerngcungicthimixyuaetimidaesdngxxkthnthi cakhxy ekbsasmiwrxkaraesdngxxkinewla idewlahnungtx klumthi 2 aerngcungicphayin Intrinsic Motive khuxaerngcungicthiidrbxiththiphlmacaksingeraphayintwkhxngbukhkhlphunnaerngcungicphaynxk Extrinsic Motive khuxaerngcungicthiidrbxiththiphlmacaksingeraphaynxk klumthi 3 aerngcungicpthmphumi Primary Motive khuxaerngcungicxnenuxngmacakkhwamtxngkarthiehnphunthanthangrangkay echn khwamhiwohy krahayehuxd aerngcungicthutiyphumi Secondary Motive khuxaerngcungicthiepnphltxenuxngmacakaerngcungickhnpthmphumiaerngcungicphayinaelaphaynxk Intrinsic and Extrinsic Motivation nkcitwithyahlaythanimehndwykbthvsdiphvtikrrmniymthixthibayphvtikrrmdwyaerngcungicthangsriraaelaerngcungic thangcitwithyaodyichthvsdikarldaerngkhb ephraamikhwamechuxwa phvtikrrmbangxyangkhxngmnusyekidcakaerngcungicphayin aerngcungicphayin hmaythung aerngcungicthimacakphayintwbukhkhl aelaepnaerngkhbthithaihbukhkhlnnaesdngphvtikrrmodyimhwngrangwlhruxaerngesrimphaynxkkhwammismrrthphaph Competence iwth idxthibaywakhwammismrrthphaphepnaerngcungicphayin sunghmaythungkhwamtxngkarthicamiptismphnthkbsingaewdlxmidxyangmiprasiththiphaph iwththuxwa mnusyeratxngkarprbtwihekhakbsingaewdlxmmatngaetwytharkaelaphyayamthicaprbprungtwxyuesmxkhwamtxngkarmismrrthphaphcungepnaerngcungicphayinkhwamxyakruxyakehn Curiosity khwamxyakruxyakehnepnaerngcungicphayinthithaihekidphvtikrrmthixyakkhnkhwasarwcsingaewdlxm dngcaehnidcakedkwy 2 3 khwbcamiphvtikrrmthitxngkarcasarwcsingaewdlxmrxb tw odyimruckehndehnuxy aerngcungicphaynxk hmaythung aerngcungicthimacakphaynxk epntnwakhachmhruxrangwlmxwaelamxw MAW amp MAW 1964 idesnxaenaekhruxngchi Indicators khxngkhwamkratuxruxrnkhxngedkcakphvtikrrmtxipni edkcamiptikiriyabwktxsingaewdlxm odyechphaasingthiihm aeplkaelatiklbkhuxmikarekhluxnihw hasingehlann edkaesdngkhwamxyakruekiywkbtnexngaelasingaewdlxm edkcaesaaaeswnghaprasbkarnihm odysarwcsingaewdlxmrxbtw edk caaesdngkhwamephiyrphyayamxyangimthxthxyinkarsarwckhnphbsingaewdlxmmxwaelamxw Maw and Maw 1964 1965 idennkhwamsakhykhxngkhwamkratuxruxrnwaepnxngkhprakxbsakhykhxngkareriynru khwamkhidsrangsrrkh aelasukhphaphcit khwamtxngkarphthnatn Growth Needs kepnkhwamtxngkarthithaihekidaerngcungicphayin inkareriynkarsxn khrumihnathithicasnbsnunihnkeriynidmioxkaskhnkhwasarwcaelathdlxngkhwamsamarthkhxngtn odycdsingaewdlxmkhxnghxngeriynhruxcdprasbkarnthithathaykhwamxyakruxyakehnkhxngnkeriynrupaebbkhxngaerngcungic aekikhbukhkhlaetlakhnmirupaebbaerngcungicthiaetktangkn sungnkcitwithyaidaebngrupaebb aerngcungickhxngmnusyxxkepnhlayrupaebbthisakhy midngni aerngcungicifsmvththi Achievement Motive hmaythung aerngcungicthiepnaerngkhbihbukhkhlphyayamthicaprakxbphvtikrrmthicaprasbsmvththiphltammatrthankhwamepnelis Standard of Excellence thitntngiw bukhkhlthimiaerngcungicifsmvththicaimthanganephraahwngrangwlaetthaephuxcaprasbkhwamsaerctamwtthuprasngkhthitngiw phumiaerngcungicifsmvththicamilksnasakhy dngni munghakhwamsaerc Hope of Success aelaklwkhwamlmehlw Fear of Failure mikhwamthaeyxthayansung tngepahmaysung mikhwamrbphidchxbinkarngandi mikhwamxdthninkarthangan rukhwamsamarththiaethcringkhxngtnexng epnphuthithanganxyangmikarwangaephn epnphuthitngradbkhwamkhadhwngiwsung aerngcungicifsmphnth Affiliative Motive phuthimiaerngcungicifsmphnth mkcaepnphuthioxbxxmxari epnthirkkhxngephuxn milksnaehnicphuxun sungemuxsuksacaksphaphkhrxbkhrwaelwphuthimiaerngcungicifsmphnthmkcaepnkhrxbkhrwthixbxun brryakasinbanprascak karaekhngkhn phxaemimmilksnakhmkhu phinxngmikhwamrksamkhkhikndi phumiaerngcungicifsmphnthcamilksnasakhy dngni emuxthasingid epahmaykephuxidrbkaryxmrbcakklum immikhwamthaeyxthayan mikhwamekrngicsung imklaaesdngxxk tngepahmayta hlikeliyngkarotaeyngmkcakhlxytamphuxun aerngcungicifxanac Power Motive sahrbphuthimiaerngcungicifxanacnn phbwa phuthimiaerngcungicaebbniswnmakmkcaphthnamacakkhwamrusukwa tnexng khad inbangsingbangxyangthitxngkar xaccaepneruxngideruxnghnungkidthaihekidmikhwamrusukepn pmdxy emuxmipmdwycungphyayamsrang pmedn khunmaephuxchdechykbsingthitnexngkhad phumiaerngcungicifxanaccamilksnasakhy dngni chxbmixanacehnuxphuxun sungbangkhrngxaccaxxkmainlksnakarkawraw mkcatxtansngkhm aeswnghachuxesiyng chxbesiyng thngindankhxngkarthangan rangkay aelaxupsrrkhtang chxbepnphuna aerngcungicifkawraw Aggression Motive phuthimilksnaaerngcungicaebbnimkepnphuthiidrbkareliyngduaebbekhmngwdmakekinip bangkhrngphxaemxaccaichwithikarlngothsthirunaerngekinip dngnnedkcunghathangrabayxxkkbphuxun hruxxaccaenuxngmacakkareliynaebb bukhkhlhruxcaksuxtang phumiaerngcungicifkawraw camilksnathisakhydngni thuxkhwamkhidehnhruxkhwamsakhykhxngtnepnihy chxbtharayphuxun thngkartharaydwykayhruxwaca aerngcungicifphungpha Dependency Motive saehtukhxngkarmiaerngcungicaebbnikephraakareliyngduthiphxaemthanuthnxmmakekinip imepidoxkasihedkidchwyehluxtnexng phuthimiaerngcungicif phungpha camilksnasakhy dngni immnicintnexng imklatdsinicineruxngtang dwytnexng mkcalngel imklaesiyng txngkarkhwamchwyehluxaelakalngiccakphuxunaehlngkhxmulxun aekikhthvsdiaerngcungic phvtikrrmmnusyekhathungcak https th wikipedia org w index php title aerngcungic amp oldid 9042557, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม