fbpx
วิกิพีเดีย

ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์

ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ (อังกฤษ: Maslow's hierarchy of needs) เป็นทฤษฎีทางจิตวิทยา ที่เสนอโดย อับราฮัม มาสโลว์ ในรายงานเรื่อง "A Theory of Human Motivation" ปี พ.ศ. 2486 หลังจากนั้นมาสโลว์ยังไปขยายแนวคิดออกไป รวมถึงข้อสังเกตของเขาเกี่ยวกับความอยากรู้อยากเห็นแต่กำเนิดของมนุษย์ ทฤษฎีของเขาคล้ายกับจิตวิทยาพัฒนาการหลาย ๆ ทฤษฎี ซึ่งทั้งหมดเน้นที่การเติบโตของมนุษย์ในระยะต่าง ๆ

การตีความลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ แสดงในรูปของพีระมิดโดยมีความต้องการพื้นฐานกว่าอยู่ข้างล่าง

ลำดับขั้น

 
ภาพแสดงพลวัตของลำดับขั้นความต้องการ
ซึ่งมีการซ้อนทับกันของความต้องการที่ต่างกัน
ในเวลาเดียวกัน

ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ มักถูกนำเสนอโดยรูปพิระมิด ที่ความต้องการที่มากที่สุด พื้นฐานที่สุดจะอยู่ข้างล่างและความต้องการความสมบูรณ์ของชีวิต (self-actualization) จะอยู่บนสุด

พิระมิดแบ่งออกเป็น 5 ชั้นคร่าว ๆ ของความต้องการต่าง ๆ คือ ความสมบูรณ์ของชีวิต (self-actualization), ความเคารพนับถือ (esteem), มิตรภาพและความรัก (friendship and love), ความมั่นคงปลอดภัย (security), และความต้องการทางกายภาพ ถ้าความเคารพนับถือ, มิตรภาพและรัก หรือ ความมั่นคงปลอดภัย ขาดพร่องไป แม้ร่างกายจะไม่ได้แสดงอาการใด ๆ ออกมาแต่บุคคลนั้น ๆ จะรู้สึกกระวนกระวายและเกร็งเครียด ทฤษฎีของมาสโลว์ยังบอกด้วยว่า ชั้นความต้องการที่พื้นฐานมากกว่าหรืออยู่ข้างล่างของพิระมิด จะต้องได้รับการตอบสนองก่อนที่บุคคลจะเกิดความปรารถนาอย่างแรงกล้าต่อความต้องการในระดับที่สูงขึ้นได้

ความต้องการทางกายภาพ

ความต้องการทางกายภาพ เป็นความต้องการเพื่อจะอยู่รอดของมนุษย์

ถ้าความต้องการพื้นฐานที่สุดนี้ไม่ได้รับการตอบสนอง ร่างกายของมนุษย์ก็ไม่สามารถทำงานได้ หรือไม่สามารถทำงานได้ดี

อากาศ น้ำ อาหาร เป็นสิ่งที่ร่างกายต้องการเพื่อใช้ในกระบวนการสร้างและสลาย เพื่อให้มนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้ เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มและ ที่พัก จะให้การปกป้องที่จำเป็นกับมนุษย์ จากสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม สัญชาตญาณและความต้องการทางเพศ ถูกพัฒนามาจากการแข่งขันเพื่อโอกาสในการผสมและสืบพันธุ์

ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย

เมื่อความต้องการทางกายภาพได้รับการตอบสนองในระดับที่พอเพียง ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยจะมีอิทธิพลกับพฤติกรรม ถ้าไม่มีความปลอดภัยทางกายภาพ (จากสาเหตุ เช่น อาชญากรรม สงคราม การก่อการร้าย ภัยพิบัติธรรมชาติ หรือ ความรุนแรงในครอบครัว) คนอาจมีอาการของความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ (post-traumatic stress disorder) และอาจมีส่งผ่านความเครียดนี้ไปยังคนรุ่นหลังได้ ถ้าไม่มีความปลอดภัยมั่นคงทางเศรษฐกิจ (จากสาเหตุ เช่น วิกฤติเศรษฐกิจ หรือ การขาดโอกาสทางการงาน) ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยนี้ อาจปรากฏออกมาในรูปของ การนิยมงานที่มีความมั่นคง กระบวนการร้องทุกข์เพื่อปกป้องบุคคลจากการกลั่นแกล้งของผู้บังคับบัญชา หรือ ปกป้องบัญชีเงินฝาก เรียกร้องนโยบายประกันภัย ประกันสุขภาพ ประกันชีวิตต่าง ๆ การเรียกร้องที่พักที่เหมาะสมสำหรับคนพิการ เป็นต้น

ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย รวมถึง

  • ความมั่นคงปลอดภัยส่วนบุคคล
  • ความมั่นคงปลอดภัยทางการเงิน
  • สุขภาพและความเป็นอยู่
  • ระบบรับประกัน-ช่วยเหลือ ในกรณีของอุบัติเหตุ/ความเจ็บป่วย

ความรักและการเป็นเจ้าของ

เมื่อความต้องการทางกายภาพและความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว ระดับขั้นที่สามของความต้องการมนุษย์คือ ความต้องการเป็นเจ้าของ ความต้องการนี้จะรุนแรงมากในวัยเด็กและบางครั้งอาจจะชนะความต้องการความปลอดภัยได้ในบางครั้ง ดังเห็นได้จากการที่เด็กติดพ่อแม่ที่เป็นอันตราย ซึ่งบางครั้งเรียกว่า "Stockholm syndrome" การขาดความรักและความเป็นเจ้าของ (อาจมาจาก การขาดความผูกพันจากผู้เลี้ยงดูขณะเป็นทารก (hospitalism), การถูกทอดทิ้ง (neglect), การถูกสังคมรังเกียจหรือกีดกัน (shunning), การถูกขับออกจากกลุ่ม (ostracism) เป็นต้น) อาจมีผลทำให้บุคคลไม่สามารถพัฒนาหรือรักษาความสัมพันธ์ที่สำคัญ (เช่น มิตรภาพ ความรัก ครอบครัว) ไว้ได้

มนุษย์ต้องการที่จะรู้สึกเป็นเจ้าของและถูกยอมรับ ไม่ว่าจะเป็นในระดับกลุ่มสังคมใหญ่ เช่น สโมสร กลุ่มศาสนา องค์กรสายอาชีพ ทีมกีฬา แก๊ง หรือ ความสัมพันธ์ทางสังคมเล็ก ๆ (สมาชิกในครอบครัว คู่ชีวิต พี่เลี้ยง เพื่อนสนิท) มนุษย์ต้องการที่จะรักและถูกรักจากคนอื่น ถ้าขาดความต้องการเรื่องนี้ไป หลาย ๆ คนกลายเป็นคนขี้เหงา มีปัญหาการเข้าสังคม และ เป็นโรคซึมเศร้า ความต้องการเป็นเจ้าของนี้ บ่อยครั้งที่สามารถจะชนะความต้องการทางกายภาพและความมั่นคงปลอดภัยได้ ขึ้นกับแรงกดดันจากคนรอบข้าง (peer pressure) เช่น คนที่มีอาการ anorexic (เบื่ออาหาร) อาจละเลยความต้องการอาหาร และความปลอดภัย เพียงเพื่อได้ความต้องการควบคุมและเป็นเจ้าของ

ความเคารพนับถือ

มนุษย์ทุกคนต้องการที่จะได้รับการนับถือและเคารพให้เกียรติ ความเคารพนับถือแสดงถึงความต้องการของมนุษย์ที่จะได้รับการยอมรับและเห็นคุณค่าโดยคนอื่น คนต้องการที่จะทำอะไรจริงจังเพื่อจะได้รับการยอมรับนับถือ และต้องการจะมีกิจกรรมที่ทำให้รู้สึกว่าเขาได้มีส่วนทำประโยชน์ เพื่อจะรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า ไม่ว่าจะเป็นอาชีพ หรือ งานอดิเรก ความไม่สมดุลในความเคารพนับถือ อาจส่งผลให้มีความภาคภูมิใจในตนเองต่ำและรู้สึกต้อยต่ำ คนที่มีความภาคภูมิใจในตนเองต่ำต้องการการเคารพจากคนอื่น ๆ เขาอาจพยายามแสวงหาความมีชื่อเสียง (ซึ่งขึ้นกับผู้อื่น) หมายเหตุ อย่างไรก็ตาม คนจำนวนมากที่มีความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ ไม่สามารถที่จะแก้ไขความภาคภูมิใจตัวเองได้ง่าย ๆ โดยการมีชื่อเสียง ได้รับความเคารพ จากภายนอก แต่ต้องยอมรับตัวเองจากภายใน ความไม่สมดุลทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า อาจทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถมีความภาคภูมิใจในตนเอง (self-esteem) ได้

คนส่วนใหญ่มีความต้องการความเคารพและความภาคภูมิใจในตนเองที่มั่นคง มาสโลว์ได้กล่าวถึงต้องการความเคารพนับถือใน 2 ระดับ คือ ระดับล่าง กับ ระดับสูง ระดับล่าง เป็นความต้องการความนับถือจากคนอื่น ความต้องการสถานะ การยอมรับ ชื่อเสียง ศักดิ์ศรี และ ความสนใจ ระดับสูง เป็นความต้องการความเคารพตัวเอง ความต้องการความแข็งแกร่ง ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความมั่นใจในตัวเอง ความเป็นตัวของตัวเอง และ อิสระ ที่ความต้องการเหล่านี้จัดเป็นระดับสูง ก็เพราะว่า มันขึ้นกับความสามารถภายในมากกว่า ซึ่งได้มาโดยผ่านประสบการณ์

การขาดความต้องการเหล่านี้ อาจทำให้ความรู้สึกต่ำต้อย อ่อนแอ และช่วยตัวเองไม่ได้ หมดหนทาง

มาสโลว์ได้หมายเหตุไว้ว่าการแบ่งขั้นความต้องการความเคารพนับถือระดับล่างกับสูงนี้ เกี่ยวข้องกันมากกว่าที่จะเป็นการแบ่งแยกกันอย่างชัดเจน

ความสมบูรณ์ของชีวิต

ดูบทความหลักที่: ความสมบูรณ์ของชีวิต

“อะไรที่บุคคลเป็นได้ เขาต้องเป็น” (“What a man can be, he must be.”) เป็นคำกล่าวของมาสโลว์ที่สรุปความหมายของความต้องการความสมบูรณ์ของชีวิตไว้ ความต้องการนี้ เกี่ยวกับ ศักยภาพสูงสุดของบุคคล และ การตระหนักถึงศักยภาพนั้น มาสโลว์อธิบายว่านี้คือความต้องการที่ปรารถนาจะเป็นมากกว่าที่เขาเป็นอยู่ เป็นความปรารถนาที่จะเป็นทุก ๆ อย่างที่เขาจะสามารถเป็นได้

เพื่อที่จะเข้าใจความต้องการความสมบูรณ์ของชีวิตได้ บุคคลจะต้องได้รับการตอบสนองความต้องการอื่น ๆ (กายภาพ ความปลอดภัย ความรัก ความเคารพนับถือ) อย่างดีแล้วก่อน

ทัศนะวิจารณ์

มีงานศึกษาลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์อย่างกว้างขวาง หนึ่งในนั้น วาบาและบริดจ์เวลล์ (Wahba and Bridgewell) พบว่า มีหลักฐานน้อยมากที่ยืนยันถึงลำดับขั้นตามที่มาสโลว์บรรยาย หรือแม้แต่หลักฐานของการมีลำดับขั้นเองก็น้อยมาก

ลำดับของลำดับขั้นที่วางความสมบูรณ์ของชีวิตไว้บนสุด ถูกวิจารณ์โดย เจิร์ต ฮอฟสตีด (Geert Hofstede) ว่าเป็นทฤษฎีที่ลำเอียงตามเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ (ethnocentric) การที่เจิร์ต ฮอฟสตีด วิจารณ์พิระมิดของมาสโลว์ว่าลำเอียงจากเชื้อชาติเผ่าพันธุ์นั้น อาจมาจาก ลำดับขั้นของมาสโลว์ ไม่ได้อ้างถึง หรือ อธิบายถึงความแตกต่างของ ความต้องการทางสังคมและบุคคล ที่เติบโตในสังคมที่มีแนวคิดแบบปัจเจกนิยม (individualism) กับสังคมที่มีแนวคิดแบบคติรวมหมู่นิยม (collectivism) มาสโลว์ เสนอลำดับขั้นจากมุมมองของแนวคิดแบบปัจเจกนิยม ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมในสังคมของมาสโลว์ ความต้องการของและแรงจูงใจของคนที่อยู่ในสังคมปัจเจกนิยม มักเน้นที่ตัวเองมากกว่า คนที่อยู่ในสังคมแบบคติรวมหมู่นิยม เนื่องจากลำดับขั้นถูกกำหนดจากมุมมองของคนในสังคมปัจเจกนิยม ลำดับของความต้องการความสมบูรณ์ของชีวิตที่ถูกวางไว้บนสุดของลำดับความต้องการ นั้นไม่สามารถใช้อธิบายลำดับความต้องการของบุคคลจากสังคมคติรวมหมู่นิยมได้ โดยในสังคมแบบคติรวมหมู่นิยม ความต้องการการยอมรับและกลุ่มสังคมจะมีความสำคัญเหนือกว่าความต้องการอิสรภาพและความเป็นตัวของตัวเอง

ลำดับขั้นของมาสโลว์ ก็ยังถูกวิจารณ์ว่าเป็นปัจเจกนิยมจากการที่ลำดับที่เขาใส่ความต้องการทางเพศไว้ในพิระมิด มาสโลว์ใส่ความต้องการทางเพศไว้ล่างสุดของพิระมิด ซึ่งเป็นระดับเดียวกับ ความต้องการหายใจ และ ความต้องการอาหาร ซึ่งมุมมองนี้เป็นมุมมองถูกจัดว่าเป็นมุมมองแบบปัจเจกนิยม ไม่ใช่มุมมองจากสังคมแบบคติรวมหมู่นิยม มุมมองความต้องการทางเพศแบบปัจเจกนิยมนี้ ไม่มีการนำปัจจัยเรื่องของครอบครัวและชุมชนที่มีความสำคัญในคติรวมหมู่นิยมเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย

ธุรกิจ

การตลาด

มีการนำลำดับขั้นของมาสโลว์มาใช้ในการเรียนการสอนเรื่องการตลาด เพื่อช่วยในการเข้าใจแรงจูงใจของลูกค้า นักการตลาดจะวิเคราะห์ประวัติความต้องการของลูกค้าเพื่อหาวิธีดำเนินการทางการตลาด ถ้าผู้ผลิตออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ลูกค้ามักจะเลือกผลิตภัณฑ์นั้นมากกว่าผลิตภัณฑ์แบบเดียวกันจากคู่แข่ง

ธุรกิจระหว่างประเทศ

การเข้าใจจุดแข็งและจุดอ่อนของลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์สำคัญมากสำหรับสาขาธุรกิจระหว่างประเทศ การประเมินความต้องการ ค่านิยม แรงจูงใจ และ การให้ความสำคัญ ที่ต่างกันระหว่างคนจากประเทศต่าง ๆ มีค่ามากในการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมที่ต่างกัน นอกจากนั้นมันยังทำให้เห็นด้วยว่าค่านิยมที่ต่างกันจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน มีผลกับบรรยากาศและจริยธรรมในการทำงานอย่างไร เช่น วัฒนธรรมปัจเจกนิยม อาจนำไปสู่ความได้เปรียบทางการวิจัยและพัฒนา ในขณะที่วัฒนธรรมคติรวมหมู่นิยม อาจได้เปรียบในองค์กรแรงงาน ในการควบคุมคุณภาพของสินค้าและบริการ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคู่ค้า

อ้างอิง

  1. Janet A. Simons; Donald B. Irwin; Beverly A. Drinnien (1987). . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2010-06-13. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
  2. A.H. Maslow, A Theory of Human Motivation, Psychological Review 50(4) (1943):370-96.
  3. Bob F. Steere (1988). Becoming an effective classroom manager: a resource for teachers. SUNY Press. ISBN 9780887066207. ISBN 0887066208
  4. Maslow, Abraham H (1954). Motivation and personality (PDF). New York: Harper and Row. p. 91. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
  5. Maslow, Abraham H (1954). Motivation and personality (PDF). New York: Harper and Row. p. 92. สืบค้นเมื่อ 2019-12-24.
  6. Wahba, Mahmoud A.; Bridgewell, Lawrence G. (April 1976). "Maslow reconsidered: A review of research on the need hierarchy theory". Organizational Behavior and Human Performance. Elsevier. 15 (2): 212–240. doi:10.1016/0030-5073(76)90038-6.
  7. Hofstede, G (1984). "The cultural relativity of the quality of life concept" (PDF). Academy of Management Review. 9 (3): 389–398. doi:10.2307/258280. JSTOR 258280.
  8. Cianci, R., Gambrel, P.A. (2003). Maslow's hierarchy of needs: Does it apply in a collectivist culture. Journal of Applied Management and Entrepreneurship, 8(2), 143-161. ISSN 1077-1158
  9. Kenrick, D. (2010, May 19). Rebuilding Maslow’s pyramid on an evolutionary foundation. Psychology Today: Health, Help, Happiness + Find a Therapist. Retrieved July 16, 2010, from http://www.psychologytoday.com/blog/sex-murder-and-the-meaning-life/201005/rebuilding-maslow-s-pyramid-evolutionary-foundation
  10. Kenrick, D.T., Griskevicius, V., Neuberg, S.L., & Schaller, M. (2010). Renovating the pyramid of needs: Contemporary extensions built upon ancient foundations. Perspectives on Psychological Science, 5. Retrieved July 16, 2010, from http://www.csom.umn.edu/assets/144040.pdf
  11. Li, J., Lam, K., Fu, P. (2000). Family-oriented collectivism and its effect on firm performance: A comparison between overseas Chinese and foreign firms in China. International Journal of Organizational Analysis, 8(4), 364-379. ISSN 1055-3185

แหล่งข้อมูลอื่น

  • A Theory of Human Motivation, original 1943 article by Maslow.
  • Maslow's Hierarchy of Needs, Teacher's Toolbox. A video overview of Maslow's work by Geoff Petty.
  • A Theory of Human Motivation: Annotated.
  • Theory and biography including detailed description and examples of self-actualizers.
  • Maslow's Hierarchy of Needs, Valdosta.
  • Abraham Maslow by C George Boheree

ลำด, บข, นความต, องการของมาสโลว, งกฤษ, maslow, hierarchy, needs, เป, นทฤษฎ, ทางจ, ตว, ทยา, เสนอโดย, บราฮ, มาสโลว, ในรายงานเร, อง, theory, human, motivation, 2486, หล, งจากน, นมาสโลว, งไปขยายแนวค, ดออกไป, รวมถ, งข, อส, งเกตของเขาเก, ยวก, บความอยากร, อยากเห, นแต. ladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolw xngkvs Maslow s hierarchy of needs epnthvsdithangcitwithya thiesnxody xbrahm masolw inraynganeruxng A Theory of Human Motivation pi ph s 2486 2 hlngcaknnmasolwyngipkhyayaenwkhidxxkip rwmthungkhxsngektkhxngekhaekiywkbkhwamxyakruxyakehnaetkaenidkhxngmnusy thvsdikhxngekhakhlaykbcitwithyaphthnakarhlay thvsdi sungthnghmdennthikaretibotkhxngmnusyinrayatang kartikhwamladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolw aesdnginrupkhxngphiramidodymikhwamtxngkarphunthankwaxyukhanglang 1 enuxha 1 ladbkhn 1 1 khwamtxngkarthangkayphaph 1 2 khwamtxngkarkhwammnkhngplxdphy 1 3 khwamrkaelakarepnecakhxng 1 4 khwamekharphnbthux 1 5 khwamsmburnkhxngchiwit 2 thsnawicarn 3 thurkic 3 1 kartlad 3 2 thurkicrahwangpraeths 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunladbkhn aekikh phaphaesdngphlwtkhxngladbkhnkhwamtxngkarsungmikarsxnthbknkhxngkhwamtxngkarthitangkninewlaediywkn ladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolw mkthuknaesnxodyrupphiramid thikhwamtxngkarthimakthisud phunthanthisudcaxyukhanglangaelakhwamtxngkarkhwamsmburnkhxngchiwit self actualization caxyubnsud 3 phiramidaebngxxkepn 5 chnkhraw khxngkhwamtxngkartang khux khwamsmburnkhxngchiwit self actualization khwamekharphnbthux esteem mitrphaphaelakhwamrk friendship and love khwammnkhngplxdphy security aelakhwamtxngkarthangkayphaph thakhwamekharphnbthux mitrphaphaelark hrux khwammnkhngplxdphy khadphrxngip aemrangkaycaimidaesdngxakarid xxkmaaetbukhkhlnn carusukkrawnkrawayaelaekrngekhriyd thvsdikhxngmasolwyngbxkdwywa chnkhwamtxngkarthiphunthanmakkwahruxxyukhanglangkhxngphiramid catxngidrbkartxbsnxngkxnthibukhkhlcaekidkhwamprarthnaxyangaerngklatxkhwamtxngkarinradbthisungkhunid khwamtxngkarthangkayphaph aekikh khwamtxngkarthangkayphaph epnkhwamtxngkarephuxcaxyurxdkhxngmnusythakhwamtxngkarphunthanthisudniimidrbkartxbsnxng rangkaykhxngmnusykimsamarththanganid hruximsamarththanganiddixakas na xahar epnsingthirangkaytxngkarephuxichinkrabwnkarsrangaelaslay ephuxihmnusysamarthmichiwitxyuid esuxphaekhruxngnunghmaela thiphk caihkarpkpxngthicaepnkbmnusy caksphaphxakasaelasingaewdlxm sychatyanaelakhwamtxngkarthangephs thukphthnamacakkaraekhngkhnephuxoxkasinkarphsmaelasubphnthu khwamtxngkarkhwammnkhngplxdphy aekikh emuxkhwamtxngkarthangkayphaphidrbkartxbsnxnginradbthiphxephiyng khwamtxngkarkhwammnkhngplxdphycamixiththiphlkbphvtikrrm thaimmikhwamplxdphythangkayphaph caksaehtu echn xachyakrrm sngkhram karkxkarray phyphibtithrrmchati hrux khwamrunaernginkhrxbkhrw khnxacmixakarkhxngkhwamphidpktithiekidhlngkhwamekhriydthisaethuxnic post traumatic stress disorder aelaxacmisngphankhwamekhriydniipyngkhnrunhlngid thaimmikhwamplxdphymnkhngthangesrsthkic caksaehtu echn wikvtiesrsthkic hrux karkhadoxkasthangkarngan khwamtxngkarkhwammnkhngplxdphyni xacpraktxxkmainrupkhxng karniymnganthimikhwammnkhng krabwnkarrxngthukkhephuxpkpxngbukhkhlcakkarklnaeklngkhxngphubngkhbbycha hrux pkpxngbychienginfak eriykrxngnoybaypraknphy praknsukhphaph praknchiwittang kareriykrxngthiphkthiehmaasmsahrbkhnphikar epntnkhwamtxngkarkhwammnkhngplxdphy rwmthung khwammnkhngplxdphyswnbukhkhl khwammnkhngplxdphythangkarengin sukhphaphaelakhwamepnxyu rabbrbprakn chwyehlux inkrnikhxngxubtiehtu khwamecbpwykhwamrkaelakarepnecakhxng aekikh emuxkhwamtxngkarthangkayphaphaelakhwamplxdphyidrbkartxbsnxngaelw radbkhnthisamkhxngkhwamtxngkarmnusykhux khwamtxngkarepnecakhxng khwamtxngkarnicarunaerngmakinwyedkaelabangkhrngxaccachnakhwamtxngkarkhwamplxdphyidinbangkhrng dngehnidcakkarthiedktidphxaemthiepnxntray sungbangkhrngeriykwa Stockholm syndrome karkhadkhwamrkaelakhwamepnecakhxng xacmacak karkhadkhwamphukphncakphueliyngdukhnaepnthark hospitalism karthukthxdthing neglect karthuksngkhmrngekiychruxkidkn shunning karthukkhbxxkcakklum ostracism epntn xacmiphlthaihbukhkhlimsamarthphthnahruxrksakhwamsmphnththisakhy echn mitrphaph khwamrk khrxbkhrw iwidmnusytxngkarthicarusukepnecakhxngaelathukyxmrb imwacaepninradbklumsngkhmihy echn somsr klumsasna xngkhkrsayxachiph thimkila aekng hrux khwamsmphnththangsngkhmelk smachikinkhrxbkhrw khuchiwit phieliyng ephuxnsnith mnusytxngkarthicarkaelathukrkcakkhnxun 2 thakhadkhwamtxngkareruxngniip hlay khnklayepnkhnkhiehnga mipyhakarekhasngkhm aela epnorkhsumesra khwamtxngkarepnecakhxngni bxykhrngthisamarthcachnakhwamtxngkarthangkayphaphaelakhwammnkhngplxdphyid khunkbaerngkddncakkhnrxbkhang peer pressure echn khnthimixakar anorexic ebuxxahar xaclaelykhwamtxngkarxahar aelakhwamplxdphy ephiyngephuxidkhwamtxngkarkhwbkhumaelaepnecakhxng khwamekharphnbthux aekikh mnusythukkhntxngkarthicaidrbkarnbthuxaelaekharphihekiyrti khwamekharphnbthuxaesdngthungkhwamtxngkarkhxngmnusythicaidrbkaryxmrbaelaehnkhunkhaodykhnxun khntxngkarthicathaxaircringcngephuxcaidrbkaryxmrbnbthux aelatxngkarcamikickrrmthithaihrusukwaekhaidmiswnthapraoychn ephuxcarusukwatwexngmikhunkha imwacaepnxachiph hrux nganxdierk khwamimsmdulinkhwamekharphnbthux xacsngphlihmikhwamphakhphumiicintnexngtaaelarusuktxyta khnthimikhwamphakhphumiicintnexngtatxngkarkarekharphcakkhnxun ekhaxacphyayamaeswnghakhwammichuxesiyng sungkhunkbphuxun hmayehtu xyangirktam khncanwnmakthimikhwamphakhphumiicintnexngta imsamarththicaaekikhkhwamphakhphumiictwexngidngay odykarmichuxesiyng idrbkhwamekharph cakphaynxk aettxngyxmrbtwexngcakphayin khwamimsmdulthangcit echn orkhsumesra xacthaihphupwyimsamarthmikhwamphakhphumiicintnexng self esteem idkhnswnihymikhwamtxngkarkhwamekharphaelakhwamphakhphumiicintnexngthimnkhng masolwidklawthungtxngkarkhwamekharphnbthuxin 2 radb khux radblang kb radbsung radblang epnkhwamtxngkarkhwamnbthuxcakkhnxun khwamtxngkarsthana karyxmrb chuxesiyng skdisri aela khwamsnic radbsung epnkhwamtxngkarkhwamekharphtwexng khwamtxngkarkhwamaekhngaekrng khwamsamarth khwamechiywchay khwammnicintwexng khwamepntwkhxngtwexng aela xisra thikhwamtxngkarehlanicdepnradbsung kephraawa mnkhunkbkhwamsamarthphayinmakkwa sungidmaodyphanprasbkarnkarkhadkhwamtxngkarehlani xacthaihkhwamrusuktatxy xxnaex aelachwytwexngimid hmdhnthangmasolwidhmayehtuiwwakaraebngkhnkhwamtxngkarkhwamekharphnbthuxradblangkbsungni ekiywkhxngknmakkwathicaepnkaraebngaeykknxyangchdecn khwamsmburnkhxngchiwit aekikh dubthkhwamhlkthi khwamsmburnkhxngchiwit xairthibukhkhlepnid ekhatxngepn What a man can be he must be 4 epnkhaklawkhxngmasolwthisrupkhwamhmaykhxngkhwamtxngkarkhwamsmburnkhxngchiwitiw khwamtxngkarni ekiywkb skyphaphsungsudkhxngbukhkhl aela kartrahnkthungskyphaphnn masolwxthibaywanikhuxkhwamtxngkarthiprarthnacaepnmakkwathiekhaepnxyu epnkhwamprarthnathicaepnthuk xyangthiekhacasamarthepnid 5 ephuxthicaekhaickhwamtxngkarkhwamsmburnkhxngchiwitid bukhkhlcatxngidrbkartxbsnxngkhwamtxngkarxun kayphaph khwamplxdphy khwamrk khwamekharphnbthux xyangdiaelwkxnthsnawicarn aekikhmingansuksaladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolwxyangkwangkhwang hnunginnn wabaaelabridcewll Wahba and Bridgewell phbwa mihlkthannxymakthiyunynthungladbkhntamthimasolwbrryay hruxaemaethlkthankhxngkarmiladbkhnexngknxymak 6 ladbkhxngladbkhnthiwangkhwamsmburnkhxngchiwitiwbnsud thukwicarnody ecirt hxfstid Geert Hofstede waepnthvsdithilaexiyngtamechuxchatiephaphnthu ethnocentric 7 karthiecirt hxfstid wicarnphiramidkhxngmasolwwalaexiyngcakechuxchatiephaphnthunn xacmacak ladbkhnkhxngmasolw imidxangthung hrux xthibaythungkhwamaetktangkhxng khwamtxngkarthangsngkhmaelabukhkhl thietibotinsngkhmthimiaenwkhidaebbpceckniym individualism kbsngkhmthimiaenwkhidaebbkhtirwmhmuniym collectivism masolw esnxladbkhncakmummxngkhxngaenwkhidaebbpceckniym sungepnsingaewdlxminsngkhmkhxngmasolw khwamtxngkarkhxngaelaaerngcungickhxngkhnthixyuinsngkhmpceckniym mkennthitwexngmakkwa khnthixyuinsngkhmaebbkhtirwmhmuniym enuxngcakladbkhnthukkahndcakmummxngkhxngkhninsngkhmpceckniym ladbkhxngkhwamtxngkarkhwamsmburnkhxngchiwitthithukwangiwbnsudkhxngladbkhwamtxngkar nnimsamarthichxthibayladbkhwamtxngkarkhxngbukhkhlcaksngkhmkhtirwmhmuniymid odyinsngkhmaebbkhtirwmhmuniym khwamtxngkarkaryxmrbaelaklumsngkhmcamikhwamsakhyehnuxkwakhwamtxngkarxisrphaphaelakhwamepntwkhxngtwexng 8 ladbkhnkhxngmasolw kyngthukwicarnwaepnpceckniymcakkarthiladbthiekhaiskhwamtxngkarthangephsiwinphiramid masolwiskhwamtxngkarthangephsiwlangsudkhxngphiramid sungepnradbediywkb khwamtxngkarhayic aela khwamtxngkarxahar sungmummxngniepnmummxngthukcdwaepnmummxngaebbpceckniym imichmummxngcaksngkhmaebbkhtirwmhmuniym mummxngkhwamtxngkarthangephsaebbpceckniymni immikarnapccyeruxngkhxngkhrxbkhrwaelachumchnthimikhwamsakhyinkhtirwmhmuniymekhamaekiywkhxngdwy 9 10 thurkic aekikhkartlad aekikh mikarnaladbkhnkhxngmasolwmaichinkareriynkarsxneruxngkartlad ephuxchwyinkarekhaicaerngcungickhxnglukkha nkkartladcawiekhraahprawtikhwamtxngkarkhxnglukkhaephuxhawithidaeninkarthangkartlad thaphuphlitxxkaebbphlitphnththitrngkbkhwamtxngkarkhxnglukkha lukkhamkcaeluxkphlitphnthnnmakkwaphlitphnthaebbediywkncakkhuaekhng thurkicrahwangpraeths aekikh karekhaiccudaekhngaelacudxxnkhxngladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolwsakhymaksahrbsakhathurkicrahwangpraeths karpraeminkhwamtxngkar khaniym aerngcungic aela karihkhwamsakhy thitangknrahwangkhncakpraethstang mikhamakinkarsuxsarkhamwthnthrrmthitangkn nxkcaknnmnyngthaihehndwywakhaniymthitangkncakwthnthrrmthitangkn miphlkbbrryakasaelacriythrrminkarthanganxyangir echn wthnthrrmpceckniym xacnaipsukhwamidepriybthangkarwicyaelaphthna inkhnathiwthnthrrmkhtirwmhmuniym xacidepriybinxngkhkraerngngan inkarkhwbkhumkhunphaphkhxngsinkhaaelabrikar aelasrangkhwamsmphnththidirahwangkhukha 11 xangxing aekikh Janet A Simons Donald B Irwin Beverly A Drinnien 1987 Maslow s Hierarchy of Needs khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2010 06 13 subkhnemux 2019 12 24 2 0 2 1 A H Maslow A Theory of Human Motivation Psychological Review 50 4 1943 370 96 Bob F Steere 1988 Becoming an effective classroom manager a resource for teachers SUNY Press ISBN 9780887066207 ISBN 0887066208 Maslow Abraham H 1954 Motivation and personality PDF New York Harper and Row p 91 subkhnemux 2019 12 24 Maslow Abraham H 1954 Motivation and personality PDF New York Harper and Row p 92 subkhnemux 2019 12 24 Wahba Mahmoud A Bridgewell Lawrence G April 1976 Maslow reconsidered A review of research on the need hierarchy theory Organizational Behavior and Human Performance Elsevier 15 2 212 240 doi 10 1016 0030 5073 76 90038 6 Hofstede G 1984 The cultural relativity of the quality of life concept PDF Academy of Management Review 9 3 389 398 doi 10 2307 258280 JSTOR 258280 Cianci R Gambrel P A 2003 Maslow s hierarchy of needs Does it apply in a collectivist culture Journal of Applied Management and Entrepreneurship 8 2 143 161 ISSN 1077 1158 Kenrick D 2010 May 19 Rebuilding Maslow s pyramid on an evolutionary foundation Psychology Today Health Help Happiness Find a Therapist Retrieved July 16 2010 from http www psychologytoday com blog sex murder and the meaning life 201005 rebuilding maslow s pyramid evolutionary foundation Kenrick D T Griskevicius V Neuberg S L amp Schaller M 2010 Renovating the pyramid of needs Contemporary extensions built upon ancient foundations Perspectives on Psychological Science 5 Retrieved July 16 2010 from http www csom umn edu assets 144040 pdf Li J Lam K Fu P 2000 Family oriented collectivism and its effect on firm performance A comparison between overseas Chinese and foreign firms in China International Journal of Organizational Analysis 8 4 364 379 ISSN 1055 3185aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb ladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolwA Theory of Human Motivation original 1943 article by Maslow Maslow s Hierarchy of Needs Teacher s Toolbox A video overview of Maslow s work by Geoff Petty A Theory of Human Motivation Annotated Theory and biography including detailed description and examples of self actualizers Maslow s Hierarchy of Needs Valdosta Abraham Maslow by C George Boheree bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title ladbkhnkhwamtxngkarkhxngmasolw amp oldid 9510012, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม