fbpx
วิกิพีเดีย

โยนิโสมนสิการ

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ โยนิ (แก้ความกำกวม)

โยนิโสมนสิการ (บาลี: โยนิโสมนสิการ yonisomanasikāra, คำอ่าน: โยนิโสมะนะสิกาน) หมายถึง การทำในใจให้ดีละเอียดถี่ถ้วน กล่าวคือ การพิจารณาอย่างรอบคอบถี่ถ้วน ทางพุทธศาสนาถือว่ามีคุณค่าเท่ากับความไม่ประมาทหรือ "อัปมาท" ซึ่งเป็นแหล่งรวมแห่งธรรมฝ่ายดีหรือ "กุศลธรรม" ทั้งปวง ดังปรากฏในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๙ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ข้อ ๔๖๔ หน้า ๑๒๙ นอกจากนั้น ยังจัดเป็นธรรมะข้อหนึ่งในกลุ่มธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญด้วยปัญญา และเป็นธรรมะมีอุปการะมากแก่มนุษย์ดังพรรณาในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๒ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ข้อ ๒๖๘-๙ หน้า ๓๓๒

การใช้ความคิดถูกวิธี คือ การกระทำในใจโดยแยบคาย มองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดพิจารณาสืบค้นถึงต้นเค้า สาวหาเหตุผลจนตลอดสายแยกแยะออกพิเคราะห์ดูด้วยปัญญาที่คิดเป็นระเบียบและโดย อุบายวิธีให้เห็นสิ่งนั้นๆ หรือปัญหานั้นๆ ตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย เช่น

  • คิดจากเหตุไปหาผล
  • คิดจากผลไปหาเหตุ
  • คิดแบบ แยกแยะองค์ประกอบ
  • คิดแบบ มองเป็นองค์รวม
  • คิดแบบเห็น ความสัมพันธ์ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
  • คิดเห็น องค์ประกอบที่มาทำให้เจริญ
  • คิดเห็น องค์ประกอบที่มาทำให้เสื่อม
  • คิดเน้น เฉพาะจุดที่ทำให้เกิด
  • คิดเน้น สิ่งที่มาตัดขาดให้ดับ
  • คิดเทียบเคียง อะไรเป็นไปได้ หรือเป็นไปไม่ได้

ในทางพระพุทธศาสนาได้แบ่งโยนิโสมนสิการทั้งหมด10อย่างด้วยกัน คือ

  • 1.วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (Inquiry) หรือวิธีคิดแบบอิทัปปัจจยตา คือการพิจารณาว่า สิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติว่าทอดไข่เจียว ถ้ามีน้ำมันผลเป็นเช่นไร ไม่มีน้ำมันผลเป็นเช่นไร ใส่เกลือผลเป็นเช่นไร(เค็ม) ไม่ใส่เกลือผลเป็นเช่นไร ไฟแรงผลเป็นเช่นไร(ไหม้เร็วไหม้ง่าย) ไฟไม่แรงผลเป็นเช่นไร
  • 2.วิธีคิดแบบแยกส่วน (Analysis)คือการคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ เช่นการพิจารณาว่า ร่างกายนี้ประกอบด้วยธาตุทั้ง4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่า รถยนต์ถ้าเราเอามาแยกส่วนเป็นชิ้น ก็จะเห็นว่ามีอะไรเป็นองค์ประกอบบ้าง เป็นการศึกษาและเทียบเคียงองค์ประกอบ ว่ามีลักษณะอย่างไร ทำด้วยอะไร แตกต่างกันอย่างไร มีหน้าที่อย่างไรเพื่อเข้าใจองค์ประกอบต่างๆให้ชัดเจน
  • 3.วิธีคิดแบบสามัญญลักษณะ (The Three Characteristic)หรือคิดแบบศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือการพิจารณาว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่แปรเปลี่ยน ดับไป วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติว่าวางปลาทอดไว้ ปลาจะค่อยๆเน่าในที่สุด หรือเมื่อสังเกตธรรมชาติ จะเห็นว่าฤดูกาลจะเปลี่ยนแปลงเป็นหน้าร้อน หน้าฝน หน้าหนาว ผู้คนจะเปลี่ยนแปลงจากเด็กเป็นวัยรุ่นเป็นผู้ใหญ่เป็นคนแก่ เป็นต้น
  • 4.วิธีคิดแบบอริยสัจ (The Four Noble Truths)คือวิธีการแก้ปัญหา แบบหาสาเหตุแห่งปัญหา โดยหาวิธีแก้ที่ต้นเหตุ เพื่อเข้าถึงการแก้ปัญหา คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
  • 5.วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ (Principle and Rational) คือการศึกษาเป้าหมายและวิธีการ ว่าวิธีการถูกต้องต่อการที่จะทำให้เป้าหมายบรรลุผลหรือไม่
  • 6.วิธีคิดแบบพิจารณาคุณโทษและทางออก (Reward and Punishment Approach and Avoidance)หรือการพิจารณาข้อดี(อายโกศล) ข้อเสีย(อปายโกศล) และอุบายการใช้ประโยชน์จากข้อดี ข้อเสียนั้น(อุปายโกศล) วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าข้อดีของคนตัวใหญ่คือมีกำลังมาก ข้อเสียคือน้ำหนักเยอะไม่คล่องตัว ข้อดีของคนตัวเล็กคือคล่องแคล่ว ข้อเสียของคนตัวเล็กคือมีกำลังน้อย การใช้ประโยชน์เวลานำมาแข่งขันกีฬาก็ให้อยู่ในตำแหน่งหน้าที่ที่เหมาะสม ในทุกสิ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสียในตัวเองด้วยกันทั้งนั้น ในคุณลักษณะตรงข้ามกันให้นำจุดแข็งของด้านนั้นเพื่อเอาชนะจุดอ่อนของอีกด้าน เช่นเอาข้อดีของสั้นเอาชนะข้อเสียของยาวเป็นต้น และในข้อเสียบ้างครั้งก็ใช้ประโยชน์ได้ เช่น พิษงูก็ยังนำไปทำเซรุ่มได้ ดังคำกล่าวที่ว่า ไม่มีสิ่งใดไร้ประโยชน์ มีเพียงสิ่งที่ไม่อยู่ในที่ๆเหมาะสมกับตัวเองเท่านั้น
  • 7.วิธีคิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม (Real Value and Unreal Value)คือการพิจารณาว่าอะไรคือแก่น อะไรคือเปลือก อะไรคือสิ่งประดับ อะไรคือกาฝาก
  • 8.วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรม (Virture and stimulation)คือการคิดเป็นแสวงหาประโยชน์ในสิ่งต่างๆ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดบวก วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าปากกาด้ามหนึ่งใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง ใช้เป็นตะเกียบได้หรือเปล่า(คิดพลิกแพลง) นำไปดัดแปลงเป็นอะไรร่วมกับอะไรได้บ้าง(คิดประยุกษ์) และคิดในแง่บวก เช่น เกิดอุบัติเหตุแขนเจ็บ ก็คิดในแง่ดีว่าดีกว่าหัวเจ็บ อาจตายได้ เป็นต้น หรือวันนี้เราสามารถทำอะไรให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นได้บ้าง
  • 9.วิธีคิดแบบปัจจุบัน (Present Thought)เป็นกระบวนการคิดที่จะค้นหาวิเคราะห์ความจริงจากประสบการณ์ตรงผ่านประสาทสัมผัสทั้ง6คือตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ผ่านการมีสติในปัจจุบันจนเกิดความรู้จริงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากโยนิโสมนสิการข้ออื่นที่เน้นกระบวนการคิด ส่วนโยนิโสมนสิการข้อนี้เน้นประสบการณ์ตรง ซึ่งทำให้เกิดความสมบูรณ์ ในข้ออื่นจะเกี่ยวข้องกับอดีตอนาคตผ่านการพิจารณาเหตุปัจจัย แต่ข้อนี้จะเน้นอยู่กับปัจจุบัน ทำให้เกิดความสมบูรณ์ในกระบวนการพิจารณาอย่างรอบด้านครบถ้วน
  • 10.วิธีคิดแบบวิภัชชวาที (Well-Rounded Thought)คือการคิดแบบองค์รวมโดยไม่เหมารวม คือการพิจารณาสิ่งต่างๆเป็นกรณีๆไป หรือการคิดแบบเทียบเคียงความจริงเฉพาะหน้า คือการพิจารณาถึงความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้นั่นเอง เป็นการพิจารณาความเข้ากันได้หรือเข้ากันไม่ได้ของข้อมูล วิธีคิดแบบนี้อธิบายว่าสมมุติเกิดการฆาตกรรมขึ้น ฝ่ายสืบสวนและฝ่ายนิติวิทยาศาสตร์ ค้นพบหลักฐานที่มีความจริง ถ้ามีข้อสันนิษฐานอะไรที่ไม่ตรงกับหลักฐานที่มีย่อมใช้ไม่ได้ เมื่อเจอความจริงสองอย่างที่ขัดแย้งกันก็ต้องพิจารณาว่าอันไหนที่จริงหรือจริงทั้งคู่แต่มีอะไรถึงขัดแย้งกัน หรือควรสืบสวนใหม่หมดเพื่อได้คำตอบที่ถูกต้องชัดเจน ไม่มีความจริงใดขัดแย้งกัน, เปรียบได้กับความจริงของโลก ที่เราแบ่งการเข้าใจความจริงของโลกเป็นกลุ่มย่อยๆ และเมื่อนำความจริงทั้งหมดมารวมกันก็จะได้ความจริงของสรรพสิ่งที่สมบูรณ์ในที่สุด เมื่อข้อความรู้ในความจริงขัดแย้ง ก็เข้าไปศึกษาว่าควรแก้ไขหรือตัดออก ซึ่งอาจเกิดความรู้ความเข้าใจในความจริงๆใหม่ได้ เป็นการเข้าใจอดีต เข้าใจปัจจุบัน เข้าใจอนาคต เป็นการเข้าใจความจริงทุกสรรพสิ่งในภาพรวมทั้งหมด


  • วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย จัดเป็นการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
  • วิธีคิดแบบแยกส่วน จัดเป็นการคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis Thinking)
  • วิธีคิดแบบสามัญญลักษณะ จัดเป็นการคิดเชิงอนาคต ( Futuristic Thinking )
  • วิธีคิดแบบอริยสัจ จัดเป็นการคิดเชิงบูรณาการ (Integrative Thinking)
  • วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ จัดเป็นการคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking)
  • วิธีคิดแบบพิจารณาคุณโทษและทางออก จัดเป็นการคิดเชิงประยุกต์ (Applicative Thinking)
  • วิธีคิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม จัดเป็นการคิดเชิงวิพากย์ (Critical Thinking)
  • วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรม จัดเป็นการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative thinking)
  • วิธีคิดแบบปัจจุบัน จัดเป็นการคิดเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Thinking)
  • วิธีคิดแบบวิภัชชวาที จัดเป็นการคิดเชิงเปรียบเทียบ (Comparative thinking)

ศัพทมูลและนิยาม

คำ "โยนิโสมนสิการ" นั้นประกอบด้วยคำสองคำ คือ

  • "โยนิโส" มาจาก "โยนิ" แปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปัญญา อุบาย วิธี ทาง
  • "มนสิการ" (จาก มนสิ (สัตตมีวิภัตติของ มนสฺ (ใจ)) + การ (การทำ) (จาก กรฺ ธาตุ + -ณ ปัจจัย)) หมายถึง การทำในใจ การคิด คำนึง นึกถึง ใส่ใจ

ดังนั้น "โยนิโสมนสิการ" จึงหมายถึง การทำในใจให้แยบคาย หรือ การพิจารณาโดยแยบคาย กล่าวคือ ความเป็นผู้ฉลาดในการคิด คิดอย่างถูกวิธีถูกระบบ พิจารณา ไตร่ตรองสาวไปจนถึงสาเหตุหรือต้นตอของเรื่องที่กำลังคิด คือคิดถึงรากถึงโคนนั่นเอง แล้วประมวลความคิดรอบด้านจนกระทั่งสรุปออกมาได้ว่าสิ่งนั้นควรหรือไม่ควร ดีหรือไม่ดี เป็นวิถีทางแห่งปัญญา เป็นธรรมสำหรับกลั่นกรองแยกแยะข้อมูลหรือแหล่งข่าวหรือที่เรียก "ปรโตโฆสะ" อีกชั้นหนึ่ง กับทั้งเป็นบ่อเกิดแห่งความคิดชอบหรือ "สัมมาทิฐิ" ทำให้มีเหตุผล และไม่งมงาย

 คัมภีร์ในพระไตรปิฎก ชั้นอรรถกถาและฎีกาได้แสดงไวพจน์แจกแจงความหมายในแง่ต่าง ๆ ของโยนิโสมนสิการว่า 
  • "อุบายมนสิการ" เป็น การคิดหรือพิจารณาโดยอุบาย คือ การคิดอย่างมีวิธีหรือถูกวิธี ซึ่งหมายถึง การเข้าถึงความจริง สอดคล้องกับแนวสัจจะ ซึ่งทำให้รู้สภาวลักษณะและสามัญลักษณะของสิ่งทั้งหลาย
  • "ปถมนสิการ" เป็น การคิดถูกทาง ต่อเนื่องเป็นลำดับ หมายถึง ความคิดที่เป็นระเบียบตามหลักเหตุผล ไม่ยุ่งเหยิงสับสน จิตไม่แว๊บติดพันในเรื่องนี้ แต่เดี๋ยวกลับเตลิดไปคิดอีกเรื่องหนึ่ง จิตยุ่งเหยิงนี้กระโดดไปมา ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน แต่รวมทั้งความสามารถในการชักความนึกคิดไปสู้แนวทางที่ถูกต้อง
  • "การณมนสิการ" เป็น การคิดอย่างมีเหตุผล เป็นการสืบค้นตามแนวความสัมพันธ์สืบทอดแห่งเหตุปัจจัย พิจารณาสืบสาวหาสาเหตุ ให้เข้าใจถึงต้นเค้า หรือแหล่งที่มาซึ่งส่งผลต่อเนื่องตามลำดับ
  • อุปปาทกมนสิการ การคิดการพิจารณาให้เกิดกุศลธรรม เช่น การพิจารณาที่ทำให้มีสติ หรือทำให้จิตใจเข้มแข็งมั่นคง เป็นต้น

ไขความทั้ง 4 ข้อนี้ เป็นเพียงการแสดงลักษณะด้านต่างๆ ของความคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งการเกิดในแต่ละครั้ง อาจมีลักษณะครบทั้ง 4 ข้อ หรือเกิดครบทั้งหมด หรือเขียนลักษณะทั้ง 4 ข้อนี้สั้นๆ ได้ว่า คิดถูกวิธี คิดมีระเบียบ คิดมีเหตุผล คิดเร้ากุศล

คุณค่า

โยนิโสมนสิการนั้น ทางพุทธศาสนาถือว่ามีคุณค่าเท่ากับความไม่ประมาทหรือ "อัปมาท" ซึ่งเป็นแหล่งรวมแห่งธรรมฝ่ายดีหรือ "กุศลธรรม" ทั้งปวง ดังปรากฏในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๙ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ข้อ ๔๖๔ หน้า ๑๒๙ นอกจากนั้น ยังจัดเป็นธรรมะข้อหนึ่งในกลุ่มธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญด้วยปัญญา และเป็นธรรมะมีอุปการะมากแก่มนุษย์ดังพรรณาในพระไตรปิฎก เล่ม ๑๒ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ข้อ ๒๖๘-๙ หน้า ๓๓๒

นอกจากนี้ ยังมีคำพรรณนาคุณของโยนิโสมนสิการอีกมาก เช่น เป็นส่วนหนึ่งที่ให้เกิดความเห็นที่ถูกต้อง เป็นเครื่องขจัดความลังเลสงสัย เป็นองค์ประกอบของความเป็นพระอริยบุคคลชั้นแรกหรือ "โสตาปัตติยังคะ" อันแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาส่งเสริมโยนิโสมนสิการว่าจำเป็นสำหรับทุกคน

เชิงอรรถ

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๘ : ๕๘๗.
  2. พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต) : Yonisomanasikàra (S.V.2–30; A.I.11–31; It.9.)
  3. พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ๒๕๔๖ : ๖๖๙-๖๗๐.
  4. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), ๒๕๔๘ : ...
  5. reasoned attention; systematic attention; genetical reflection; analytical reflection, พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546), หน้า 670-671

อ้างอิง

  • พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (๒๕๔๘). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด. กรุงเทพฯ : วัดราชโอรสาราม.
  • พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (๒๕๔๖). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
  • ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๘). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ ๒, แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9749588339.

โยน, โสมนส, การ, สำหร, บความหมายอ, โยน, แก, ความกำกวม, บาล, yonisomanasikāra, คำอ, าน, โยน, โสมะนะส, กาน, หมายถ, การทำในใจให, ละเอ, ยดถ, วน, กล, าวค, การพ, จารณาอย, างรอบคอบถ, วน, ทางพ, ทธศาสนาถ, อว, าม, ณค, าเท, าก, บความไม, ประมาทหร, ปมาท, งเป, นแหล, งรวมแห,. sahrbkhwamhmayxun duthi oyni aekkhwamkakwm oyniosmnsikar bali oyniosmnsikar yonisomanasikara khaxan oyniosmanasikan hmaythung karthainicihdilaexiydthithwn klawkhux karphicarnaxyangrxbkhxbthithwn thangphuththsasnathuxwamikhunkhaethakbkhwamimpramathhrux xpmath sungepnaehlngrwmaehngthrrmfaydihrux kuslthrrm thngpwng dngpraktinphraitrpidk elm 19 sngyuttnikay mhawarwrrkh khx 464 hna 129 nxkcaknn yngcdepnthrrmakhxhnunginklumthrrmthiepnipephuxkhwamecriydwypyya aelaepnthrrmamixupkaramakaekmnusydngphrrnainphraitrpidk elm 12 xngkhuttrnikay ctukknibat khx 268 9 hna 332 1 karichkhwamkhidthukwithi khux karkrathainicodyaeybkhay mxngsingthnghlaydwykhwamkhidphicarnasubkhnthungtnekha sawhaehtuphlcntlxdsayaeykaeyaxxkphiekhraahdudwypyyathikhidepnraebiybaelaody xubaywithiihehnsingnn hruxpyhann tamsphawaaelatamkhwamsmphnthaehngehtupccy 2 echn khidcakehtuiphaphl khidcakphliphaehtu khidaebb aeykaeyaxngkhprakxb khidaebb mxngepnxngkhrwm khidaebbehn khwamsmphnthtxenuxngepnlukos khidehn xngkhprakxbthimathaihecriy khidehn xngkhprakxbthimathaihesuxm khidenn echphaacudthithaihekid khidenn singthimatdkhadihdb khidethiybekhiyng xairepnipid hruxepnipimidinthangphraphuththsasnaidaebngoyniosmnsikarthnghmd10xyangdwykn khux 1 withikhidaebbsubsawehtupccy Inquiry hruxwithikhidaebbxithppccyta khuxkarphicarnawa singnimi singnicungmi ephraasingniimmi singnicungimmi withikhidaebbnixthibaywasmmutiwathxdikheciyw thaminamnphlepnechnir imminamnphlepnechnir isekluxphlepnechnir ekhm imisekluxphlepnechnir ifaerngphlepnechnir ihmerwihmngay ifimaerngphlepnechnir2 withikhidaebbaeykswn Analysis khuxkarkhidaebbaeykaeyaxngkhprakxb echnkarphicarnawa rangkayniprakxbdwythatuthng4 khux din na lm if withikhidaebbnixthibaywa rthyntthaeraexamaaeykswnepnchin kcaehnwamixairepnxngkhprakxbbang epnkarsuksaaelaethiybekhiyngxngkhprakxb wamilksnaxyangir thadwyxair aetktangknxyangir mihnathixyangirephuxekhaicxngkhprakxbtangihchdecn3 withikhidaebbsamyylksna The Three Characteristic hruxkhidaebbsuksapraktkarnthangthrrmchati khuxkarphicarnawa imethiyng epnthukkh imichtwtn mikarekidkhun tngxyuaeprepliyn dbip withikhidaebbnixthibaywasmmutiwawangplathxdiw placakhxyenainthisud hruxemuxsngektthrrmchati caehnwavdukalcaepliynaeplngepnhnarxn hnafn hnahnaw phukhncaepliynaeplngcakedkepnwyrunepnphuihyepnkhnaek epntn4 withikhidaebbxriysc The Four Noble Truths khuxwithikaraekpyha aebbhasaehtuaehngpyha odyhawithiaekthitnehtu ephuxekhathungkaraekpyha khux thukkh smuthy niorth mrrkh5 withikhidaebbxrrththrrmsmphnth Principle and Rational khuxkarsuksaepahmayaelawithikar wawithikarthuktxngtxkarthicathaihepahmaybrrluphlhruxim6 withikhidaebbphicarnakhunothsaelathangxxk Reward and Punishment Approach and Avoidance hruxkarphicarnakhxdi xayoksl khxesiy xpayoksl aelaxubaykarichpraoychncakkhxdi khxesiynn xupayoksl withikhidaebbnixthibaywakhxdikhxngkhntwihykhuxmikalngmak khxesiykhuxnahnkeyxaimkhlxngtw khxdikhxngkhntwelkkhuxkhlxngaekhlw khxesiykhxngkhntwelkkhuxmikalngnxy karichpraoychnewlanamaaekhngkhnkilakihxyuintaaehnnghnathithiehmaasm inthuksingmithngkhxdiaelakhxesiyintwexngdwyknthngnn inkhunlksnatrngkhamknihnacudaekhngkhxngdannnephuxexachnacudxxnkhxngxikdan echnexakhxdikhxngsnexachnakhxesiykhxngyawepntn aelainkhxesiybangkhrngkichpraoychnid echn phisngukyngnaipthaesrumid dngkhaklawthiwa immisingidirpraoychn miephiyngsingthiimxyuinthiehmaasmkbtwexngethann7 withikhidaebbkhunkhaaethkhunkhaethiym Real Value and Unreal Value khuxkarphicarnawaxairkhuxaekn xairkhuxepluxk xairkhuxsingpradb xairkhuxkafak8 withikhidaebberakhunthrrm Virture and stimulation khuxkarkhidepnaeswnghapraoychninsingtang karkhidxyangsrangsrrkh karkhidbwk withikhidaebbnixthibaywapakkadamhnungichpraoychnxairidbang ichepntaekiybidhruxepla khidphlikaephlng naipddaeplngepnxairrwmkbxairidbang khidprayuks aelakhidinaengbwk echn ekidxubtiehtuaekhnecb kkhidinaengdiwadikwahwecb xactayid epntn hruxwnnierasamarththaxairihekidpraoychnaektnexngaelaphuxunidbang9 withikhidaebbpccubn Present Thought epnkrabwnkarkhidthicakhnhawiekhraahkhwamcringcakprasbkarntrngphanprasathsmphsthng6khuxta hu cmuk lin kay aelaic phankarmistiinpccubncnekidkhwamrucringkhun sungaetktangcakoyniosmnsikarkhxxunthiennkrabwnkarkhid swnoyniosmnsikarkhxniennprasbkarntrng sungthaihekidkhwamsmburn inkhxxuncaekiywkhxngkbxditxnakhtphankarphicarnaehtupccy aetkhxnicaennxyukbpccubn thaihekidkhwamsmburninkrabwnkarphicarnaxyangrxbdankhrbthwn10 withikhidaebbwiphchchwathi Well Rounded Thought khuxkarkhidaebbxngkhrwmodyimehmarwm khuxkarphicarnasingtangepnkrniip hruxkarkhidaebbethiybekhiyngkhwamcringechphaahna khuxkarphicarnathungkhwamepnipidaelaepnipimidnnexng epnkarphicarnakhwamekhaknidhruxekhaknimidkhxngkhxmul withikhidaebbnixthibaywasmmutiekidkarkhatkrrmkhun faysubswnaelafaynitiwithyasastr khnphbhlkthanthimikhwamcring thamikhxsnnisthanxairthiimtrngkbhlkthanthimiyxmichimid emuxecxkhwamcringsxngxyangthikhdaeyngknktxngphicarnawaxnihnthicringhruxcringthngkhuaetmixairthungkhdaeyngkn hruxkhwrsubswnihmhmdephuxidkhatxbthithuktxngchdecn immikhwamcringidkhdaeyngkn epriybidkbkhwamcringkhxngolk thieraaebngkarekhaickhwamcringkhxngolkepnklumyxy aelaemuxnakhwamcringthnghmdmarwmknkcaidkhwamcringkhxngsrrphsingthismburninthisud emuxkhxkhwamruinkhwamcringkhdaeyng kekhaipsuksawakhwraekikhhruxtdxxk sungxacekidkhwamrukhwamekhaicinkhwamcringihmid epnkarekhaicxdit ekhaicpccubn ekhaicxnakht epnkarekhaickhwamcringthuksrrphsinginphaphrwmthnghmd withikhidaebbsubsawehtupccy cdepnkarkhidechingwiekhraah Analytical Thinking withikhidaebbaeykswn cdepnkarkhidechingsngekhraah Synthesis Thinking withikhidaebbsamyylksna cdepnkarkhidechingxnakht Futuristic Thinking withikhidaebbxriysc cdepnkarkhidechingburnakar Integrative Thinking withikhidaebbxrrththrrmsmphnth cdepnkarkhidechingklyuthth Strategic Thinking withikhidaebbphicarnakhunothsaelathangxxk cdepnkarkhidechingprayukt Applicative Thinking withikhidaebbkhunkhaaethkhunkhaethiym cdepnkarkhidechingwiphaky Critical Thinking withikhidaebberakhunthrrm cdepnkarkhidechingsrangsrrkh Creative thinking withikhidaebbpccubn cdepnkarkhidechingmonthsn Conceptual Thinking withikhidaebbwiphchchwathi cdepnkarkhidechingepriybethiyb Comparative thinking enuxha 1 sphthmulaelaniyam 2 khunkha 3 echingxrrth 4 xangxingsphthmulaelaniyam aekikhkha oyniosmnsikar nnprakxbdwykhasxngkha khux 3 oynios macak oyni aeplwa ehtu tnekha aehlngekid pyya xubay withi thang mnsikar cak mnsi sttmiwiphttikhxng mns ic kar kartha cak kr thatu n pccy hmaythung karthainic karkhid khanung nukthung isicdngnn oyniosmnsikar cunghmaythung karthainicihaeybkhay hrux karphicarnaodyaeybkhay klawkhux khwamepnphuchladinkarkhid khidxyangthukwithithukrabb phicarna itrtrxngsawipcnthungsaehtuhruxtntxkhxngeruxngthikalngkhid khuxkhidthungrakthungokhnnnexng aelwpramwlkhwamkhidrxbdancnkrathngsrupxxkmaidwasingnnkhwrhruximkhwr dihruximdi epnwithithangaehngpyya epnthrrmsahrbklnkrxngaeykaeyakhxmulhruxaehlngkhawhruxthieriyk protokhsa xikchnhnung kbthngepnbxekidaehngkhwamkhidchxbhrux smmathithi thaihmiehtuphl aelaimngmngay 4 khmphirinphraitrpidk chnxrrthkthaaeladikaidaesdngiwphcnaeckaecngkhwamhmayinaengtang khxngoyniosmnsikarwa xubaymnsikar epn karkhidhruxphicarnaodyxubay khux karkhidxyangmiwithihruxthukwithi sunghmaythung karekhathungkhwamcring sxdkhlxngkbaenwscca sungthaihrusphawlksnaaelasamylksnakhxngsingthnghlay pthmnsikar epn karkhidthukthang txenuxngepnladb hmaythung khwamkhidthiepnraebiybtamhlkehtuphl imyungehyingsbsn citimaewbtidphnineruxngni aetediywklbetlidipkhidxikeruxnghnung cityungehyingnikraoddipma imepnchinepnxn aetrwmthngkhwamsamarthinkarchkkhwamnukkhidipsuaenwthangthithuktxng karnmnsikar epn karkhidxyangmiehtuphl epnkarsubkhntamaenwkhwamsmphnthsubthxdaehngehtupccy phicarnasubsawhasaehtu ihekhaicthungtnekha hruxaehlngthimasungsngphltxenuxngtamladb xuppathkmnsikar karkhidkarphicarnaihekidkuslthrrm echn karphicarnathithaihmisti hruxthaihciticekhmaekhngmnkhng epntnikhkhwamthng 4 khxni epnephiyngkaraesdnglksnadantang khxngkhwamkhidaebboyniosmnsikar sungkarekidinaetlakhrng xacmilksnakhrbthng 4 khx hruxekidkhrbthnghmd hruxekhiynlksnathng 4 khxnisn idwa khidthukwithi khidmiraebiyb khidmiehtuphl khiderakusl 5 khunkha aekikhoyniosmnsikarnn thangphuththsasnathuxwamikhunkhaethakbkhwamimpramathhrux xpmath sungepnaehlngrwmaehngthrrmfaydihrux kuslthrrm thngpwng dngpraktinphraitrpidk elm 19 sngyuttnikay mhawarwrrkh khx 464 hna 129 nxkcaknn yngcdepnthrrmakhxhnunginklumthrrmthiepnipephuxkhwamecriydwypyya aelaepnthrrmamixupkaramakaekmnusydngphrrnainphraitrpidk elm 12 xngkhuttrnikay ctukknibat khx 268 9 hna 332 1 nxkcakni yngmikhaphrrnnakhunkhxngoyniosmnsikarxikmak echn epnswnhnungthiihekidkhwamehnthithuktxng epnekhruxngkhcdkhwamlngelsngsy epnxngkhprakxbkhxngkhwamepnphraxriybukhkhlchnaerkhrux ostapttiyngkha xnaesdngihehnwaphuththsasnasngesrimoyniosmnsikarwacaepnsahrbthukkhn 1 echingxrrth aekikh 1 0 1 1 1 2 rachbnthitysthan 2548 587 phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyutot Yonisomanasikara S V 2 30 A I 11 31 It 9 phrathrrmpidk p x pyut ot 2546 669 670 phrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch 2548 reasoned attention systematic attention genetical reflection analytical reflection phrathrrmpidk p x pyut ot phuthththrrm krungethph orngphimphmhaculalngkrnrachwithyaly 2546 hna 670 671xangxing aekikhphrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch 2548 phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd krungethph wdrachoxrsaram phrathrrmpidk p x pyut ot 2546 phuthththrrm krungethph orngphimphmhaculalngkrnrachwithyaly rachbnthitysthan 2548 phcnanukrmsphthsasnasakl ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 2 aekikhephimetim krungethph rachbnthitysthan ISBN 9749588339 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title oyniosmnsikar amp oldid 9467748, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม