fbpx
วิกิพีเดีย

โรคย้ำคิดย้ำทำ

โรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive–compulsive disorder หรือ OCD) คือความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยต้องตรวจสอบสิ่งรอบตัวซ้ำ ๆ, มีความคิดผุดขึ้นมา, หรือมีความรู้สึกอยากทำในสิ่งที่ทำไปแล้วซ้ำไปซ้ำมา ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมและความคิดของตนเองได้ พฤติกรรมซึ่งพบเห็นได้บ่อย อาทิ การล้างมือ, การนับสิ่งของ, การตรวจสอบว่าประตูล็อกแล้วหรือยัง บางรายรู้สึกยากลำบากในการทิ้งสิ่งของ โดยพฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลเสียต่อชีวิตประจำวันของผู้ป่วย หลายครั้งพฤติกรรมเหล่านี้กินเวลาในแต่ละวันไม่น้อยกว่าหนึ่งชั่วโมง ผู้ใหญ่หลายคนรู้ตัวว่าพฤติกรรมของพวกเขาไม่มีเหตุผล ความเจ็บป่วยนั้นเกี่ยวเนื่องกับอาการกระตุกบนใบหน้า, โรควิตกกังวล และการฆ่าตัวตาย

โรคย้ำคิดย้ำทำ
การล้างมือบ่อยเกินไปสามารถพบได้ในผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำบางราย
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10F42
ICD-9300.3
OMIM164230
DiseasesDB33766
MedlinePlus000929
eMedicinearticle/287681
MeSHD009771

อาการ

การถูกครอบงำทางความคิด

 
ผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำอาจจะต้องเผชิญกับความคิดที่น่ากลัว เช่น ความคิดเกี่ยวกับภูติผีปีศาจ (ดังที่ได้แสดงในภาพวาดเกี่ยวกับนรก)

การถูกครอบงำทางความคิดคือภาวะที่ความคิดถูกครอบงำอยู่ตลอดเวลาทั้ง ๆ ที่ผู้ป่วยมีความพยายามจะกำจัดและเผชิญหน้ากับความคิดนั้น ผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำมักกระทำพฤติกรรมเพื่อสนองความต้องการของความคิดซึ่งถูกครอบงำ ความคลุมเครือของการถูกครอบงำทางความคิดอาจรวมถึงความรู้สึกสับสนและเครียด เนื่องจากมีความคิดว่าชีวิตของตนไม่สามารถเป็นปรกติได้อีกต่อไป ความคิดที่ถูกครอบงำซึ่งมีพลังแรงกล้าขึ้นอาจจะเป็นความคิดจดจ่ออยู่กับภาพของบุคคลใกล้ตัวหรือญาติกำลังเสียชีวิต หรือเกี่ยวกับความสัมพันธ์ การถูกครอบงำทางความคิดอื่น ๆ นั้นรวมถึงความคิดที่ว่าผู้มีอำนาจเหนือตน อาทิ เทพเจ้า, ภูติผีปีศาจ, หรือโรคร้าย จะทำอันตรายต่อตนเองหรือบุคคุลที่ตนเองรัก ผู้ป่วยบางรายอาจมีความรู้สึกว่าบางอย่างที่มองไม่เห็นกำลังไหลออกมาจากร่างกายของเขา

การรักษา

การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิด (BT), การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT), และการใช้ยาทางจิตเวช เป็นวิธีการรักษาที่นิยมที่สุดสำหรับผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำ ยาจิตเวชที่ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาสหรัฐมีทั้งหมด 5 ตัว

  1. Clomipramine [Anafranil]
  2. Fluoxetine [Prozac]
  3. Fluvoxamine
  4. Paroxetine [Paxil, Pexeva; โดยเป็น anticholinergic ระดับ 3 เพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในระยะยาว]
  5. Sertraline [Zoloft]

ส่วนยาที่ยังไม่ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาสหรัฐ แต่บางผลวิจัยพบว่ามีประโยชน์ ได้แก่ venlafaxine​

โรคย้ำคิดย้ำทำ​ สามารถรักษาด้วยเครื่อง Deep Transcranial Magnetic Stimulation (DTMS) ได้ หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยา โดยองค์การอาหารและยาสหรัฐได้รับรอง DTMS ตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม​ 2018 เป็นต้นไป การรักษาดังกล่าวเป็นการเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคล้ายเครื่อง MRI ผ่านกระโหลกศีรษะไปยังสมอง สนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ประสาทในบริเวณนั้น ในผู้ป่วยโรคย้ำคิดย้ำทำ จะมีการกระตุ้นสมองในส่วน Posterior-Anterior ใน Medial Prefrontal Cortex ซึ่งจะช่วยปรับการทำงานของสมองให้เข้าสู่ภาวะปกติได้ โรงพยาบาลรัฐบาลเฉพาะทางด้านจิตเวช และโรงพยาบาลทั่วไป หลายแห่งในประเทศไทยมีการรักษาในรูปแบบดังกล่าว ทั้งนี้ องค์การอาหารและยาสหรัฐไม่ได้อนุมัติ​ TMS แบบธรรมดาในการรักษาโรคย้ำคิดย้ำทำ เนื่องจากระดับความลึกในการรักษาไม่เพียงพอ คงอนุมัติเฉพาะ DTMS เท่านั้น

นอกจากนี้จิตบำบัดแบบจิตพลวัตอาจช่วยรักษาอาการบางอย่างของโรคนี้ได้ และสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกาได้กล่าวว่าจิตวิเคราะห์ หรือจิตบำบัดแบบพลวัตนั้นสามารถรักษาอาการหลักของโรคย้ำคิดย้ำทำได้

อ้างอิง

  1. "What is Obsessive-Compulsive Disorder (OCD)?". สืบค้นเมื่อ 27 May 2015.
  2. Diagnostic and statistical manual of mental disorders : DSM-5 (5 ed.). Washington: American Psychiatric Publishing. 2013. pp. 237–242. ISBN 9780890425558.
  3. Angelakis, I; Gooding, P; Tarrier, N; Panagioti, M (25 March 2015). "Suicidality in obsessive compulsive disorder (OCD): A systematic review and meta-analysis". Clinical Psychology Review. 39: 1–15. doi:10.1016/j.cpr.2015.03.002. PMID 25875222.
  4. Markarian Y, Larson MJ, Aldea MA, Baldwin SA, Good D, Berkeljon A, Murphy TK, Storch EA, McKay D (February 2010). "Multiple pathways to functional impairment in obsessive-compulsive disorder". Clin Psychol Rev. 30 (1): 78–88. doi:10.1016/j.cpr.2009.09.005. PMID 19853982.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  5. Baer (2001), p. 33, 78
  6. Baer (2001), p. xiv.
  7. Doron G, Szepsenwol O, Karp E, Gal N (2013). "Obsessing About Intimate-Relationships: Testing the Double Relationship-Vulnerability Hypothesis". Journal of Behavior Therapy and Experimental Psychiatry. 44 (4): 433–440. doi:10.1016/j.jbtep.2013.05.003. PMID 23792752.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  8. Mash, E. J., & Wolfe, D. A. (2005). Abnormal child psychology (3rd ed.). Belmont, CA: Thomson Wadsworth, p. 197.
  9. Doctor's Guide. (2007). New guidelines to set standards for best treatment of OCD 2012-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Doctor's Guide Publishing, Ltd.
  10. "ocd". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  11. "สมองเสื่อมจากยากลุ่มแอนตี้โคลิเนอร์จิก (anticholinergic)". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  12. "Venlafaxine in treatment-resistant obsessive-compulsive disorder". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  13. "FDA permits marketing of transcranial magnetic stimulation for treatment of obsessive compulsive disorder". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  14. "โรคย้ำคิดย้ำทำ Obsessive-Compulsive Disorder (OCD)". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  15. "dtmsannouce" (PDF). สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  16. "Transcranial Magnetic Stimulation (TMS)". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  17. "Integrating Deep Transcranial Magnetic Stimulation Into the OCD Treatment Algorithm". สืบค้นเมื่อ 7 July 2020.
  18. Koran LM, Hanna GL, Hollander E, Nestadt G, Simpson HB (July 2007). "Practice guideline for the treatment of patients with obsessive-compulsive disorder". The American Journal of Psychiatry. 164 (7 Suppl): 5–53. PMID 17849776.CS1 maint: multiple names: authors list (link)

โรคย, ำค, ดย, ำทำ, obsessive, compulsive, disorder, หร, อความผ, ดปกต, ทางจ, ตซ, งทำให, วยต, องตรวจสอบส, งรอบต, วซ, ความค, ดผ, ดข, นมา, หร, อม, ความร, กอยากทำในส, งท, ทำไปแล, วซ, ำไปซ, ำมา, วยไม, สามารถควบค, มพฤต, กรรมและความค, ดของตนเองได, พฤต, กรรมซ, งพบเห, น. orkhyakhidyatha Obsessive compulsive disorder hrux OCD khuxkhwamphidpktithangcitsungthaihphupwytxngtrwcsxbsingrxbtwsa mikhwamkhidphudkhunma hruxmikhwamrusukxyakthainsingthithaipaelwsaipsama phupwyimsamarthkhwbkhumphvtikrrmaelakhwamkhidkhxngtnexngid phvtikrrmsungphbehnidbxy xathi karlangmux karnbsingkhxng kartrwcsxbwapratulxkaelwhruxyng bangrayrusukyaklabakinkarthingsingkhxng odyphvtikrrmehlanisngphlesiytxchiwitpracawnkhxngphupwy 1 hlaykhrngphvtikrrmehlanikinewlainaetlawnimnxykwahnungchwomng 2 phuihyhlaykhnrutwwaphvtikrrmkhxngphwkekhaimmiehtuphl 1 khwamecbpwynnekiywenuxngkbxakarkratukbnibhna orkhwitkkngwl aelakarkhatwtay 2 3 orkhyakhidyathakarlangmuxbxyekinipsamarthphbidinphupwyorkhyakhidyathabangraybychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F42ICD 9300 3OMIM164230DiseasesDB33766MedlinePlus000929eMedicinearticle 287681MeSHD009771 enuxha 1 xakar 1 1 karthukkhrxbngathangkhwamkhid 2 karrksa 3 xangxingxakar aekikhkarthukkhrxbngathangkhwamkhid aekikh phupwyorkhyakhidyathaxaccatxngephchiykbkhwamkhidthinaklw echn khwamkhidekiywkbphutiphipisac dngthiidaesdnginphaphwadekiywkbnrk karthukkhrxbngathangkhwamkhidkhuxphawathikhwamkhidthukkhrxbngaxyutlxdewlathng thiphupwymikhwamphyayamcakacdaelaephchiyhnakbkhwamkhidnn 4 phupwyorkhyakhidyathamkkrathaphvtikrrmephuxsnxngkhwamtxngkarkhxngkhwamkhidsungthukkhrxbnga khwamkhlumekhruxkhxngkarthukkhrxbngathangkhwamkhidxacrwmthungkhwamrusuksbsnaelaekhriyd enuxngcakmikhwamkhidwachiwitkhxngtnimsamarthepnprktiidxiktxip khwamkhidthithukkhrxbngasungmiphlngaerngklakhunxaccaepnkhwamkhidcdcxxyukbphaphkhxngbukhkhlikltwhruxyatikalngesiychiwit 5 6 hruxekiywkbkhwamsmphnth 7 karthukkhrxbngathangkhwamkhidxun nnrwmthungkhwamkhidthiwaphumixanacehnuxtn xathi ethpheca phutiphipisac hruxorkhray cathaxntraytxtnexnghruxbukhkhulthitnexngrk phupwybangrayxacmikhwamrusukwabangxyangthimxngimehnkalngihlxxkmacakrangkaykhxngekha 8 karrksa aekikhkarbabdodykarprbepliynkhwamkhid BT karbabdodykarprbepliynkhwamkhidaelaphvtikrrm CBT aelakarichyathangcitewch epnwithikarrksathiniymthisudsahrbphupwyorkhyakhidyatha 9 yacitewchthiidrbkarrbrxngcakxngkhkarxaharaelayashrthmithnghmd 5 tw 10 Clomipramine Anafranil Fluoxetine Prozac Fluvoxamine Paroxetine Paxil Pexeva odyepn anticholinergic radb 3 ephimkhwamesiyngtxkaresiychiwitinrayayaw 11 Sertraline Zoloft swnyathiyngimidrbkarrbrxngcakxngkhkarxaharaelayashrth aetbangphlwicyphbwamipraoychn idaek venlafaxine 12 orkhyakhidyatha samarthrksadwyekhruxng Deep Transcranial Magnetic Stimulation DTMS id hakphupwyimtxbsnxngtxya odyxngkhkarxaharaelayashrthidrbrxng DTMS tngaetwnthi 17 singhakhm 2018 epntnip 13 karrksadngklawepnkarehniywnaihekidsnamaemehlkiffa sngkhlunaemehlkiffakhlayekhruxng MRI phankraohlksirsaipyngsmxng snamaemehlkcaehniywnaihekidkarepliynaeplngkhxngesllprasathinbriewnnn inphupwyorkhyakhidyatha camikarkratunsmxnginswn Posterior Anterior in Medial Prefrontal Cortex sungcachwyprbkarthangankhxngsmxngihekhasuphawapktiid 14 orngphyabalrthbalechphaathangdancitewch 15 aelaorngphyabalthwip hlayaehnginpraethsithymikarrksainrupaebbdngklaw thngni xngkhkarxaharaelayashrthimidxnumti TMS aebbthrrmdainkarrksaorkhyakhidyatha enuxngcakradbkhwamlukinkarrksaimephiyngphx khngxnumtiechphaa DTMS ethann 16 17 nxkcaknicitbabdaebbcitphlwtxacchwyrksaxakarbangxyangkhxngorkhniid aelasmakhmcitewchsastrshrthxemrikaidklawwacitwiekhraah hruxcitbabdaebbphlwtnnsamarthrksaxakarhlkkhxngorkhyakhidyathaid 18 xangxing aekikh 1 0 1 1 What is Obsessive Compulsive Disorder OCD subkhnemux 27 May 2015 2 0 2 1 Diagnostic and statistical manual of mental disorders DSM 5 5 ed Washington American Psychiatric Publishing 2013 pp 237 242 ISBN 9780890425558 Angelakis I Gooding P Tarrier N Panagioti M 25 March 2015 Suicidality in obsessive compulsive disorder OCD A systematic review and meta analysis Clinical Psychology Review 39 1 15 doi 10 1016 j cpr 2015 03 002 PMID 25875222 Markarian Y Larson MJ Aldea MA Baldwin SA Good D Berkeljon A Murphy TK Storch EA McKay D February 2010 Multiple pathways to functional impairment in obsessive compulsive disorder Clin Psychol Rev 30 1 78 88 doi 10 1016 j cpr 2009 09 005 PMID 19853982 CS1 maint multiple names authors list link Baer 2001 p 33 78 Baer 2001 p xiv Doron G Szepsenwol O Karp E Gal N 2013 Obsessing About Intimate Relationships Testing the Double Relationship Vulnerability Hypothesis Journal of Behavior Therapy and Experimental Psychiatry 44 4 433 440 doi 10 1016 j jbtep 2013 05 003 PMID 23792752 CS1 maint multiple names authors list link Mash E J amp Wolfe D A 2005 Abnormal child psychology 3rd ed Belmont CA Thomson Wadsworth p 197 Doctor s Guide 2007 New guidelines to set standards for best treatment of OCD Archived 2012 03 04 thi ewyaebkaemchchin Doctor s Guide Publishing Ltd ocd subkhnemux 7 July 2020 smxngesuxmcakyaklumaexntiokhlienxrcik anticholinergic subkhnemux 7 July 2020 Venlafaxine in treatment resistant obsessive compulsive disorder subkhnemux 7 July 2020 FDA permits marketing of transcranial magnetic stimulation for treatment of obsessive compulsive disorder subkhnemux 7 July 2020 orkhyakhidyatha Obsessive Compulsive Disorder OCD subkhnemux 7 July 2020 dtmsannouce PDF subkhnemux 7 July 2020 Transcranial Magnetic Stimulation TMS subkhnemux 7 July 2020 Integrating Deep Transcranial Magnetic Stimulation Into the OCD Treatment Algorithm subkhnemux 7 July 2020 Koran LM Hanna GL Hollander E Nestadt G Simpson HB July 2007 Practice guideline for the treatment of patients with obsessive compulsive disorder The American Journal of Psychiatry 164 7 Suppl 5 53 PMID 17849776 CS1 maint multiple names authors list link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title orkhyakhidyatha amp oldid 9555010, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม