fbpx
วิกิพีเดีย

โลกาภิวัตน์

โลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (อังกฤษ: globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก

โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก

โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง

อ้างอิง

  1. โลกาภิวัตน์ จากคำบาลี โลก + อภิวตฺตน ตามรูปศัพท์หมายถึง การแผ่ถึงกันทั่วโลก, การเข้าถึงโลก, การเอาชนะโลก (ดู ศัพท์บัญญัติ globalization) คำที่มีความหมายใกล้เคียง และนิยมใช้แทนกัน คือ โลกานุวัตร (ดู คำอธิบายความหมาย 2006-06-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน) ตามรูปศัพท์คือ ความประพฤติตามโลก
  2. Sheila L. Croucher. Globalization and Belonging: The Politics of Identity in a Changing World. Rowman & Littlefield. (2004). p.10

โลกาภ, ตน, กเข, ยนผ, ดเป, โลกาภ, ฒน, หร, โลกาน, ตร, งกฤษ, globalization, ผลจากการพ, ฒนาการต, ดต, อส, อสาร, การคมนาคมขนส, และเทคโนโลย, สารสนเทศ, นแสดงให, เห, นถ, งการเจร, ญเต, บโตของความส, มพ, นธ, ทางเศรษฐก, การเม, อง, เทคโนโลย, และว, ฒนธรรมท, เช, อมโยงระหว, าง. olkaphiwtn mkekhiynphidepn olkaphiwthn hrux olkanuwtr xngkvs globalization 1 khux phlcakkarphthnakartidtxsuxsar karkhmnakhmkhnsng aelaethkhonolyisarsneths xnaesdngihehnthungkarecriyetibotkhxngkhwamsmphnththangesrsthkic karemuxng ethkhonolyi aelawthnthrrmthiechuxmoyngrahwangpceckbukhkhl chumchn hnwythurkic aelarthbal thwthngolkolkaphiwtn tamphcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 hmaythung karaephrkracayipthwolk karthiprachakhmolkimwacaxyu n cudid samarthrbru smphnth hruxrbphlkrathbcaksingthiekidkhunidxyangrwderwkwangkhwang sungenuxngmacakkarphthnarabbsarsnethsepntn olkaphiwtn epnkhasphthechphaathibyytikhunephuxtxbsnxngpraktkarnkhxngsngkhmolkthiehtukarnthangesrsthkic karemuxng singaewdlxm aelawthnthrrmthiekidkhuninswnhnungkhxngolk sngphlkrathbxnrwderwaelasakhytxswnxunkhxngolkolkaphiwtn hmaythungkrabwnkarthiprachakrkhxngolkthukhlxmrwmklayepnsngkhmediyw krabwnkarniekidcakaerngkhxngxiththiphlrwmthangesrsthkic ethkhonolyiaelasngkhm wthnthrrmaelakaremuxng 2 xangxing aekikh olkaphiwtn cakkhabali olk xphiwt tn tamrupsphthhmaythung karaephthungknthwolk karekhathungolk karexachnaolk du sphthbyyti globalization khathimikhwamhmayiklekhiyng aelaniymichaethnkn khux olkanuwtr du khaxthibaykhwamhmay Archived 2006 06 25 thi ewyaebkaemchchin tamrupsphthkhux khwampraphvtitamolk Sheila L Croucher Globalization and Belonging The Politics of Identity in a Changing World Rowman amp Littlefield 2004 p 10 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title olkaphiwtn amp oldid 9690972, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม