fbpx
วิกิพีเดีย

โอโซน

บทความนี้เกี่ยวกับอัญรูปหนึ่งของออกซิเจน สำหรับความหมายอื่น ดูที่ โอโซน (แก้ความกำกวม)

โอโซน (Ozone หรือ O3) เป็นโมเลกุลที่ประกอบจากออกซิเจน 3 อะตอม เกิดจากการรวมตัวกันของก๊าซออกซิเจน 1 โมเลกุลกับอะตอมออกซิเจนอิสระ 1 อะตอมที่แตกตัวจากก๊าซออกซิเจนโดยการกระตุ้นของรังสีอัลตร้าไวโอเลตซี (UV-C) ปรากฏอยู่ในชั้นบรรยากาศของโลกโดยที่ชั้นสตราโทสเฟียร์ (Stratosphere) ซึ่งเป็นบรรยากาศที่ระดับความสูงระหว่าง 10 - 50 กิโลเมตรจากผิวดินเป็นชั้นบรรยากาศที่มีโอโซนหนาแน่นที่สุด หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นชั้นที่ผลิตแหล่งก๊าซโอโซน โดยชั้นโอโซนดังกล่าวทำหน้าที่เป็นเกราะคุ้มกัน ปกป้องพืชและสัตว์จากรังสีที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์ โดยเฉพาะรังสีอัลตร้าไวโอเลตบี (UV-B) ซึ่งเป็นรังสีที่เป็นอันตรายต่อชีวิตและธรรมชาติหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป

โอโซน
ชื่อตาม IUPAC Trioxygen
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [10028-15-6][CAS]
PubChem 24823
EC-number 233-069-2
RTECS number RS8225000
InChI
ChemSpider ID 23208
คุณสมบัติ
สูตรเคมี O3
มวลต่อหนึ่งโมล 47.998 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ bluish colored gas
ความหนาแน่น 2.144 g/L (0 °C), gas
จุดหลอมเหลว

80.7 K, −192.5 °C

จุดเดือด

161.3 K, −111.9 °C

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 0.105 g/100mL (0 °C)
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.2226 (liquid)
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation ΔfHo298
+142.3 kJ·mol−1
Standard molar
entropy So298
237.7 J·K−1.mol−1
ความอันตราย
การจำแนกของ EU Oxidant (O)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ก๊าซโอโซนถูกค้นพบครั้งแรกโดยนักเคมีชาวดัตช์ ชื่อ วอน มารุม (Van Marum) จากอุปกรณ์จับปริมาณก๊าซ โดยนายมารุมได้กลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์รอบๆ ขั้วผลิตกระแสไฟฟ้าจากอุปกรณ์ชุดทดลองของเขา อย่างไรก็ตาม การค้นพบโอโซนได้ถูกบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในปี ค.ศ. 1840 คือ คริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ (Christian Friedrich Schönbein) นักเคมีชาวเยอรมัน โดยเขาตั้งชื่อก๊าซตามภาษากรีกคำว่า ozein ซึ่งแปลว่ากลิ่น หลังจากนั้น เครื่องผลิตโอโซนเครื่องแรกได้ถูกผลิตโดย วอน ซีเมนต์ (Von Siemens) ในกรุงเบอร์ลิน (Berlin)[3]

โอโซนเข้มข้นมีสีฟ้าที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (Standard Temperature and Pressure; STP) เมื่ออุณหภูมิลดลงถึง -112 °C โอโซนจะเป็นเป็นของเหลวสีน้ำเงิน และเมื่ออุณหภูมิลดต่ำกว่า -193 °C ก็จะกลายเป็นของแข็งสีดำ

มนุษย์ได้นำโอโซนไปใช้ประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น นำไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตเคมีภัณฑ์ นำไปใช้เป็นสารซักฟอก ใช้ฆ่าแบคทีเรีย เป็นต้น ก๊าซโอโซนจัดเป็นก๊าซพิษ การสูดดมก๊าซโอโซนเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ซึ่งแตกต่างจากคำว่าโอโซนที่บางครั้งถูกใช้ในบริบทของการท่องเที่ยวหรือการพักผ่อนหย่อนใจ เช่นในวลีว่า "สูดโอโซน", "รับโอโซน" หรือ "แหล่งโอโซน" เป็นต้น ถือว่าเป็นการใช้โอโซนผิดความหมาย เพราะความจริงแล้วโอโซนมีความเป็นพิษต่อมนุษย์ บริเวณที่มีโอโซนมากในประเทศไทย ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมแก่งคอย นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และย่านถนนสีลมในกรุงเทพมหานคร คำว่าโอโซนที่คนจำนวนมากใช้กันผิด ๆ ก็คือ ไปใช้ในเชิงการสื่อความหมายถึงออกซิเจนหรืออากาศบริสุทธิ์ซึ่งดีต่อระบบการหายใจ โดยไม่รู้ความจริงว่าแท้จริงแล้วก๊าซโอโซนมีความเป็นพิษสูงและมีอันตรายต่อสุขภาพ

อ้างอิง

  1. สูดโอโซน ดีจริงหรือ?
  2. ​หยุดเลย! หากคิดจะรีเฟรชร่างกายด้วยการไป "สูดโอโซน"

3. 3.0 https://www.lenntech.com/library/ozone/history/ozone-history.htm

โอโซน, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, บทความน, เก, ยวก, บอ, ญร, ปหน,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamniekiywkbxyruphnungkhxngxxksiecn sahrbkhwamhmayxun duthi oxosn aekkhwamkakwm oxosn Ozone hrux O3 epnomelkulthiprakxbcakxxksiecn 3 xatxm ekidcakkarrwmtwknkhxngkasxxksiecn 1 omelkulkbxatxmxxksiecnxisra 1 xatxmthiaetktwcakkasxxksiecnodykarkratunkhxngrngsixltraiwoxeltsi UV C praktxyuinchnbrryakaskhxngolkodythichnstraothsefiyr Stratosphere sungepnbrryakasthiradbkhwamsungrahwang 10 50 kiolemtrcakphiwdinepnchnbrryakasthimioxosnhnaaennthisud hruxxacklawidwaepnchnthiphlitaehlngkasoxosn odychnoxosndngklawthahnathiepnekraakhumkn pkpxngphuchaelastwcakrngsithiaephxxkmacakdwngxathity odyechphaarngsixltraiwoxeltbi UV B sungepnrngsithiepnxntraytxchiwitaelathrrmchatihakidrbinprimanthimakekinipoxosnchuxtam IUPAC Trioxygenelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 10028 15 6 CAS PubChem 24823EC number 233 069 2RTECS number RS8225000InChI 1 O3 c1 3 2ChemSpider ID 23208khunsmbtisutrekhmi O3mwltxhnungoml 47 998 g mol 1lksnathangkayphaph bluish colored gaskhwamhnaaenn 2 144 g L 0 C gascudhlxmehlw 80 7 K 192 5 Ccudeduxd 161 3 K 111 9 Ckhwamsamarthlalayid in na 0 105 g 100mL 0 C dchnihkehaesng nD 1 2226 liquid xunhekhmiStd enthalpy offormation DfHo298 142 3 kJ mol 1Standard molarentropy So298 237 7 J K 1 mol 1khwamxntraykarcaaenkkhxng EU Oxidant O sarprakxbxunthiekiywkhxngknhakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmikasoxosnthukkhnphbkhrngaerkodynkekhmichawdtch chux wxn marum Van Marum cakxupkrncbprimankas odynaymarumidklinthiepnexklksnrxb khwphlitkraaesiffacakxupkrnchudthdlxngkhxngekha xyangirktam karkhnphboxosnidthukbnthukepnlaylksnxksrinpi kh s 1840 khux khrisetiyn fridrich echinibn Christian Friedrich Schonbein nkekhmichaweyxrmn odyekhatngchuxkastamphasakrikkhawa ozein sungaeplwaklin hlngcaknn ekhruxngphlitoxosnekhruxngaerkidthukphlitody wxn siemnt Von Siemens inkrungebxrlin Berlin 3 oxosnekhmkhnmisifathixunhphumiaelakhwamdnmatrthan Standard Temperature and Pressure STP emuxxunhphumildlngthung 112 C oxosncaepnepnkhxngehlwsinaengin aelaemuxxunhphumildtakwa 193 C kcaklayepnkhxngaekhngsidamnusyidnaoxosnipichpraoychninhlay dan echn naipichepnsartngtninkarphlitekhmiphnth naipichepnsarskfxk ichkhaaebkhthieriy epntn kasoxosncdepnkasphis karsuddmkasoxosnepnxntraytxrabbthangedinhayic 1 2 sungaetktangcakkhawaoxosnthibangkhrngthukichinbribthkhxngkarthxngethiywhruxkarphkphxnhyxnic echninwliwa sudoxosn rboxosn hrux aehlngoxosn epntn thuxwaepnkarichoxosnphidkhwamhmay ephraakhwamcringaelwoxosnmikhwamepnphistxmnusy briewnthimioxosnmakinpraethsithy idaek nikhmxutsahkrrmaekngkhxy nikhmxutsahkrrmmabtaphud aelayanthnnsilminkrungethphmhankhr khawaoxosnthikhncanwnmakichknphid kkhux ipichinechingkarsuxkhwamhmaythungxxksiecnhruxxakasbrisuththisungditxrabbkarhayic odyimrukhwamcringwaaethcringaelwkasoxosnmikhwamepnphissungaelamixntraytxsukhphaph 1 2 xangxing aekikh 1 0 1 1 sudoxosn dicringhrux 2 0 2 1 hyudely hakkhidcariefrchrangkaydwykarip sudoxosn 3 3 0 https www lenntech com library ozone history ozone history htmekhathungcak https th wikipedia org w index php title oxosn amp oldid 9097226, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม