fbpx
วิกิพีเดีย

เขตการค้าเสรี

เขตการค้าเสรี (อังกฤษ: Free trade area, FTA) เป็นกลุ่มประเทศที่ได้ทำข้อตกลงที่จะทำการค้าแบบเสรี โดยกำจัด การเก็บภาษีศุลกากร การจำกัดส่วนแบ่ง (โควตา) และการให้สิทธิพิเศษ กับสินค้าส่วนใหญ่ (ถ้าไม่ทั้งหมด) ที่ทำการค้าขายระหว่างกัน[ต้องการอ้างอิง]

ประวัติการค้าระหว่างประเทศ
มุมมองการเมือง
การค้าโดยชอบธรรม
การค้าเสรี
การค้าคุ้มกัน
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
การให้สิทธิพิเศษทางการค้า
เขตการค้าเสรี
สหภาพศุลกากร
ตลาดร่วม
สหภาพทางเศรษฐกิจ
MERCOSUR เป็นตัวอย่างของเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศกรวยภาคใต้

ความเป็นมาของเขตการค้าเสรี

นโยบายการค้าเสรี (อังกฤษ: Free Trade Policy) มีรากฐานมาจากทฤษฎีการได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (อังกฤษ: The Theory of Comparative Advantage) ที่เสนอว่า “แต่ละประเทศควรจะเลือกผลิตแต่เฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบโดยเปรียบเทียบมากที่สุด แล้วนำสินค้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศอื่นมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ ถึงแม้ว่าประเทศหนึ่งจะอยู่ในฐานะเสียเปรียบอีกประเทศหนึ่งในการผลิตสินค้าทุกชนิดก็ตาม ประเทศทั้งสองก็ย่อมจะทำการค้าต่อกันได้ โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่เมื่อเปรียบกับสินค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด แล้วนำมาแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตขึ้นกับอีกประเทศหนึ่ง”

นโยบายการค้าเสรีไม่สนับสนุนการเก็บภาษีศุลกากรในอัตราที่สูงและขจัดข้อบังคับต่าง ๆ ที่กีดกันการค้าระหว่างประเทศ ดังนั้นประเทศที่ใช้นโยบายการค้าเสรีจะมีลักษณะโดยทั่วไป ดังนี้

  1. ดำเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงานกันทำ กล่าวคือ เลือกผลิตแต่สินค้าที่ประเทศนั้นมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงและมีต้นทุนการผลิตต่ำ
  2. ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน (Protective Duty) เพื่อคุ้มครองช่วยเหลืออุตสาหกรรมในประเทศแต่อย่างใด คงเก็บแต่ภาษีศุลกากรเพื่อเป็นรายได้ของรัฐ
  3. ไม่ให้สิทธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง มีการเก็บภาษีอัตราเดียวและให้ความเป็นธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่า ๆ กัน
  4. ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า (Trade Restriction) ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ ไม่มีการควบคุมการนำเข้าหรือการส่งออกที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ศีลธรรมจรรยาหรือความมั่นคงของรัฐเท่านั้น

ความหมายของเขตการค้าเสรี

เขตการค้าเสรี หมายถึง การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทำข้อตกลงลงให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0% และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า (Goods) โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก แต่เขตการค้าเสรีในระยะหลัง ๆ นั้น รวมไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ (Service) และการลงทุนด้วย[ต้องการอ้างอิง]

เขตการค้าเสรีที่สำคัญในปัจจุบัน คือ NAFTA และ AFTA และขณะนี้ ประเทศสหรัฐอเมริกา อยู่ในระหว่างการเจรจาทำเขตการค้าเสรีในภูมิภาคอเมริกา (อังกฤษ: Free Trade Area of the Americas: FTAA) โดยตั้งเป้าหมายที่จะให้การเจรจาเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2548[ต้องการอ้างอิง] รูปแบบเขตการค้าเสรีแบ่งได้ 2 ชนิดคือ

  1. สหภาพศุลกากร (อังกฤษ: Custom Union) หมายถึง การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในระดับที่ลึกและกว้างกว่าเขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) เพราะมีลักษณะที่เป็นตลาดร่วม (Single Market) ซึ่งไม่มีกำแพงภาษีระหว่างประเทศสมาชิกในสหภาพศุลกากรเก็บภาษีศุลกากรอัตราเดียวกัน (Common Level) กับทุกประเทศนอกกลุ่ม สหภาพศุลกากรจึงทำให้ประเทศในกลุ่มมีสภาพเป็นเสมือนประเทศเดียวกันหรือตลาดเดียวกัน สหภาพศุลกากรที่สำคัญ คือ สหภาพยุโรป (อังกฤษ: European Union) (กำลังจะขยายสมาชิกภาพโดยรับประเทศในยุโรปตะวันออกบางประเทศเข้าร่วมด้วย) และ MERCOSUR
  2. พันธมิตรทางเศรษฐกิจ (อังกฤษ: Closer Economic Partnership: CEP) หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีการพัฒนารูปแบบไปจากที่เคยมีมา โดยมีกรอบความร่วมมือที่กว้างขวางกว่าเขตการค้าเสรี อย่างไรก็ดี ความเข้าใจเกี่ยวกับ CEP หรือขอบเขตของ CEP อาจจะแตกต่างไป โดยทั่วไป CEP (หรือศัพท์อื่นที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน) ครอบคลุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั้งในด้านการค้า สินค้า บริการและการลงทุน และแบ่งอย่างกว้าง ๆ ได้ 2 ประเภท คือ
    • CEP ที่มีเขตการค้าเสรี เป็นหัวใจสำคัญ และรวมไปถึงความร่วมมือทางเศรษฐกิจด้านอื่น ๆ ด้วย เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา การประสานนโยบายการแข่งขัน และการจัดซื้อโดยรัฐ เป็นต้น ดังกรณี CEP ระหว่างออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ และความร่วมมือที่อาเซียนกำลังจะเจรจากับจีน ในกรณีดังกล่าวนี้ CEP จึงเป็นกรอบความร่วมมือทั้งในเชิงลึกและกว้างกว่าเขตการค้าเสรี โดยปกติ
    • CEP ที่ไม่มีการทำเขตการค้าเสรี แต่อาจมีการลดภาษีศุลกากร (ไม่ใช่การลดถึงขั้นต่ำสุด หรือเป็น 0 ดังเช่นกรณี FTA) และมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากรที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าด้วย รวมทั้งมีการร่วมมือกันในด้านอื่น ๆ อย่างกว้างขวาง เช่น CEP ระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เป็นต้น

อย่างไรก็ตามทั้ง FTA และ Custom Union ต่างก็เป็นกระบวนการในการผนึกความร่วมมือ และหรือการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ (Economic Integration) และเป็นปัจจัยเร่งการเปิดเสรีที่ก้าวไปเร็วกว่าการเปิดเสรีตามข้อผูกพันของ WTO รวมทั้งเป็นการเตรียมการเปิดเสรีตามเป้าหมายภายใต้ปฏิญญาโบกอร์ของ APEC ซึ่งกำหนดให้ประเทศสมาชิกที่พัฒนาแล้วเปิดเสรีอย่างเต็มที่ภายในปี ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553) และ ประเทศสมาชิกที่กำลังพัฒนาเปิดเสรีภายในปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563)[ต้องการอ้างอิง]

ในที่นี้ การใช้คำว่า "เขตการค้าเสรี" นั้น หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดกันเป็นพิเศษในลักษณะที่เป็นการกล่าวอย่างกว้าง ๆ คลุมไปทั้ง FTA, Customs Union และ CEP ส่วนการใช้คำว่า FTA หรือCustom Union หรือCEPนั้น หมายถึง ความร่วมมือในรูปแบบนั้น ๆ เป็นกรณี ๆ ไป

อย่างไรก็ดี เขตการค้าเสรีนั้น ในทางปฏิบัติเป็นเรื่องที่มีความยุ่งยากในระดับหนึ่ง และหากต้องการให้ได้ผลจริงจัง ก็จะต้องพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงการหลบหนีภาษีในรูปแบบต่าง ๆ เนื่องจากประเทศนอกกลุ่มจะพยายามส่งสินค้าเข้าทางประเทศที่ทำข้อตกลงเขตการค้าเสรี ที่มีภาษีต่ำไปสู่ประเทศในเขตการค้าที่มีภาษีสูง ยกตัวอย่างโดยสมมติว่าประเทศไทยมีเขตการค้าเสรีกับประเทศมาเลเซีย แต่ประเทศไทยเก็บภาษีศุลกากรการนำเข้าสิ่งทอเพียง 10 % ในขณะที่มาเลเซียเก็บภาษีสินค้าเดียวกันในอัตรา 30 % พ่อค้าจีนก็จะพยายามนำเข้าสิ่งทอทางประเทศไทยเพื่อเสียภาษีเพียง 10 % แล้วนำไปแปรรูปเล็กน้อย เช่น บรรจุห่อใหม่เพื่อแปลงสภาพให้เป็นสินค้าประเทศไทยแล้ว นำไปขายในประเทศมาเลเซียอันจะทำให้เขาเลี่ยงภาษีได้ 20% กล่าวคือ เขตการค้าเสรีจะต้องใช้ทรัพยากรของภาครัฐเป็นจำนวนมาก เพื่อกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดสินค้าที่รัดกุม ซึ่งทางออกที่ดีที่สุด คือ การแปลงภาษีศุลกากรของประเทศในเขตการค้าเสรีให้เท่ากันทั้งหมด หรือแปลงให้เป็นสหภาพศุลกากรโดยเร็วนั่นเอง

เป้าหมายของเขตการค้าเสรี

เขตการค้าเสรีสะท้อนแนวคิดสำคัญทางเศรษฐศาสตร์ที่ว่า "ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นสูงสุดเมื่อประเทศต่าง ๆ ผลิตสินค้าที่ตนมีต้นทุนในการผลิตต่ำที่สุดเมื่อเปรียบ เทียบกับประเทศอื่น ๆ แล้วนำสินค้าเหล่านั้นมาค้าขายแลกเปลี่ยนกัน" ซึ่งในโลกแห่งความเป็นจริงนั้น ประโยชน์สูงสุดดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้น หากยังมีการเก็บภาษีขาเข้าและมีการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าต่าง ๆ ซึ่งส่งผลบิดเบือนราคาที่แท้จริงของสินค้า และทำให้การค้าขายไม่เป็นไปอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ

พร้อมกันนี้ FTA ถือเป็นเครื่องมือทางการค้าสำคัญที่ประเทศต่าง ๆ สามารถใช้เพื่อขยายโอกาสในการค้า สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ พร้อม ๆ กับเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านราคาให้แก่สินค้าของตน เนื่องจากสินค้าที่ผลิตใน FTA จะถูกเก็บภาษีขาเข้าในอัตราที่ต่ำกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สมาชิก FTA จึงทำให้สินค้าที่ผลิตภายในกลุ่มได้ เปรียบในด้านราคากว่าสินค้าจากประเทศนอกกลุ่ม

แนวทางในการจัดทำเขตการค้าเสรีที่ดีควรมีรูปแบบ ดังนี้

  1. ทำให้กรอบกว้าง (Comprehensive) เพื่อให้ได้รับประโยชน์ทั้งสองฝ่าย (Win-Win) การเจรจาทำความตกลงจัดตั้งเขตการค้าเสรีมีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุมสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจทุกสาขา ทั้งการเปิดเสรีทางการค้า (สินค้าและบริการ) การลงทุน และการขยายความร่วมมือทั้งในสาขาที่ร่วมมือกันตลอดจนประสานแนวนโยบายและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นับว่าเป็นการทำข้อผูกพันเพิ่มเติมจากข้อผูกพันที่แต่ละประเทศมีอยู่แล้วในฐานะสมาชิก WTO จึงเป็นข้อผูกพันใน WTO (WTO plus)
  2. ทำให้สอดคล้องกับกฎ WTO โดยที่ WTO กำหนดเงื่อนไขให้มีการเปิดเสรีโดยคลุมการค้าสินค้า/บริการ ระหว่างประเทศที่เข้าร่วมทำเขตการค้าเสรีอย่างมากพอ (Substantial) และสร้างความโปร่งใสโดยแจ้งต่อ WTO ก่อนและหลังการทำความตกลงตั้งเขตการค้าเสรี รวมทั้งเปิดให้ประเทศสมาชิกตรวจสอบความตกลง
  3. แลกเปลี่ยนผลประโยชน์ตอบแทนกัน (Reciprocity) ในกรณีที่ คู่เจรจาเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ควรเรียกร้องความยืดหยุ่นเพื่อให้มีเวลานานกว่าในการปรับตัวหรือทำข้อผูกพันในระดับที่ต่ำกว่า
  4. กำหนดกลไกและมาตรการป้องกันผลกระทบต่ออุตสาหกรรมภายใน การเจรจาจัดตั้งเขตการค้าเสรีจะรวมถึงเรื่องกฎเกณฑ์และขั้นตอนในการใช้มาตรการป้องกันผลกระทบต่ออุตสาหกรรมภายใน เช่น การเก็บภาษี การต่อต้านการทุ่มตลาด (AD) ภาษีตอบโต้การอุดหนุน (CVD) และมาตรการคุ้มกัน (Safeguards) ซึ่งใช้กฎเกณฑ์ของ WTO เป็นพื้นฐาน แต่ปรับปรุงให้ตรงตามความประสงค์ของประเทศที่ร่วมเจรจา หรือบางกรณีอาจมีการตกลงที่จะระงับการใช้มาตรการ AD, CVD ระหว่างกัน

เขตการค้าเสรีกับประเทศไทย

ข้อมูลโดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

เขตการค้าเสรีที่ได้ลงนามและมีผลใช้บังคับแล้ว

  • ในนามประเทศไทย
    • เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) - จัดตั้งปี 2535
    • ไทย - อินเดีย (ITFTA) - มีผลเริ่มลดภาษีรายการสินค้าเร่งลดภาษีเบื้องต้น 82 รายการ (Early Harvest Scheme) 1 กันยายน 2547 - ลดภาษีเป็น 0 วันที่ 1 กันยายน 2549
    • ไทย - ออสเตรเลีย (TAFTA) - มีผลใช้บังคับ 1 มกราคม 2548
    • ไทย - นิวซีแลนด์ (TNZCEP) - มีผลใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2548
    • ไทย - ญี่ปุ่น (JTEPA) - มีผลใช้บังคับ 1 พฤศจิกายน 2550
    • ไทย - เปรู - มีผลเริ่มลดภาษีรายการสินค้าเร่งลดภาษีเบื้องต้น (Early Harvest Scheme) 19 พฤศจิกายน 2548
    • ไทย - ชิลี - ลงนาม 4 ตุลาคม 2556
  • ในนามอาเซียน
    • อาเซียน - จีน (ACFTA) - ลงนาม 29 พฤศจิกายน 2547
    • อาเซียน - ญี่ปุ่น (AJCEP) - ลงนาม 11 เมษายน 2551
    • อาเซียน - เกาหลีใต้ (AKFTA) - ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552
    • อาเซียน - ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) - ลงนาม 27 กุมภาพันธ์ 2552
    • อาเซียน - อินเดีย (AIFTA) - ลงนาม 13 สิงหาคม 2552

เขตการค้าเสรีที่อยู่ระหว่างการเจรจา

  • ไทย - แคนาดา (TCFTA)
  • ไทย - สหภาพยุโรป

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  • กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน
  • http://www.ftadigest.com/

เขตการค, าเสร, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, บทความน, หร, อส, วนน, ของบทความต, องการปร, บร, ปแบบ, งอาจหมายถ, องการจ, ดร, ปแบบข, อความ, ดหน, แบ, งห, วข, ดล, งก,. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidbthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasmbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ekhtkarkhaesri xngkvs Free trade area FTA epnklumpraethsthiidthakhxtklngthicathakarkhaaebbesri odykacd karekbphasisulkakr karcakdswnaebng okhwta aelakarihsiththiphiess kbsinkhaswnihy thaimthnghmd thithakarkhakhayrahwangkn txngkarxangxing karkharahwangpraethsdkhkprawtikarkharahwangpraethsmummxngkaremuxngkarkhaodychxbthrrmkarkhaesrikarkhakhumknkhwamrwmmuxthangesrsthkickarihsiththiphiessthangkarkhaekhtkarkhaesrishphaphsulkakrtladrwmshphaphthangesrsthkicMERCOSUR epntwxyangkhxngekhtkarkhaesrirahwangpraethskrwyphakhit enuxha 1 khwamepnmakhxngekhtkarkhaesri 2 khwamhmaykhxngekhtkarkhaesri 3 epahmaykhxngekhtkarkhaesri 4 ekhtkarkhaesrikbpraethsithy 4 1 ekhtkarkhaesrithiidlngnamaelamiphlichbngkhbaelw 4 2 ekhtkarkhaesrithixyurahwangkarecrca 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunkhwamepnmakhxngekhtkarkhaesri aekikhnoybaykarkhaesri xngkvs Free Trade Policy mirakthanmacakthvsdikaridepriybodyepriybethiyb xngkvs The Theory of Comparative Advantage thiesnxwa aetlapraethskhwrcaeluxkphlitaetechphaasinkhathitnmitnthunkarphlitidepriybodyepriybethiybmakthisud aelwnasinkhathiphlitidnnipaelkepliynkbsinkhathipraethsxunmitnthunkarphlitidepriyb thungaemwapraethshnungcaxyuinthanaesiyepriybxikpraethshnunginkarphlitsinkhathukchnidktam praethsthngsxngkyxmcathakarkhatxknid odyaetlapraethscaeluxkphlitechphaasinkhathiemuxepriybkbsinkhaxunaelw praethstnsamarthphlitiddwytnthunthitathisud aelwnamaaelkepliynsinkhathiphlitkhunkbxikpraethshnung noybaykarkhaesriimsnbsnunkarekbphasisulkakrinxtrathisungaelakhcdkhxbngkhbtang thikidknkarkharahwangpraeths dngnnpraethsthiichnoybaykarkhaesricamilksnaodythwip dngni daeninkarphlittamhlkkaraebngngankntha klawkhux eluxkphlitaetsinkhathipraethsnnmiprasiththiphaphinkarphlitsungaelamitnthunkarphlitta immikarekbphasikhumkn Protective Duty ephuxkhumkhrxngchwyehluxxutsahkrrminpraethsaetxyangid khngekbaetphasisulkakrephuxepnrayidkhxngrth imihsiththiphiesshruxkidknsinkhakhxngpraethsidpraethshnung mikarekbphasixtraediywaelaihkhwamepnthrrmaeksinkhakhxngthukpraethsetha kn immikhxcakdthangkarkha Trade Restriction thiepnxupsrrkhtxkarkharahwangpraeths immikarkhwbkhumkarnaekhahruxkarsngxxkthiepnxupsrrkhtxkarkharahwangpraeths ykewnkarkhwbkhumsinkhabangxyangthicaepnxntraytxsukhphaphxnamy silthrrmcrryahruxkhwammnkhngkhxngrthethannkhwamhmaykhxngekhtkarkhaesri aekikhekhtkarkhaesri hmaythung karrwmklumesrsthkicodymiepahmayephuxldphasisulkakrrahwangknphayinklum thithakhxtklnglngihehluxnxythisud hruxepn 0 aelaichxtraphasipktithisungkwakbpraethsnxkklum karthaekhtkarkhaesriinxditmungindankarepidesridansinkha Goods odykarldphasiaelaxupsrrkhthiimichphasiepnhlk aetekhtkarkhaesriinrayahlng nn rwmipthungkarepidesridanbrikar Service aelakarlngthundwy txngkarxangxing ekhtkarkhaesrithisakhyinpccubn khux NAFTA aela AFTA aelakhnani praethsshrthxemrika xyuinrahwangkarecrcathaekhtkarkhaesriinphumiphakhxemrika xngkvs Free Trade Area of the Americas FTAA odytngepahmaythicaihkarecrcaesrcsininpi ph s 2548 txngkarxangxing rupaebbekhtkarkhaesriaebngid 2 chnidkhux shphaphsulkakr xngkvs Custom Union hmaythung karrwmtwknthangesrsthkicinradbthilukaelakwangkwaekhtkarkhaesri Free Trade Area FTA ephraamilksnathiepntladrwm Single Market sungimmikaaephngphasirahwangpraethssmachikinshphaphsulkakrekbphasisulkakrxtraediywkn Common Level kbthukpraethsnxkklum shphaphsulkakrcungthaihpraethsinklummisphaphepnesmuxnpraethsediywknhruxtladediywkn shphaphsulkakrthisakhy khux shphaphyuorp xngkvs European Union kalngcakhyaysmachikphaphodyrbpraethsinyuorptawnxxkbangpraethsekharwmdwy aela MERCOSUR phnthmitrthangesrsthkic xngkvs Closer Economic Partnership CEP hmaythung khwamrwmmuxthangesrsthkicthimikarphthnarupaebbipcakthiekhymima odymikrxbkhwamrwmmuxthikwangkhwangkwaekhtkarkhaesri xyangirkdi khwamekhaicekiywkb CEP hruxkhxbekhtkhxng CEP xaccaaetktangip odythwip CEP hruxsphthxunthimikhwamhmaykhlaykhlungkn khrxbkhlumkhwamrwmmuxthangesrsthkicthngindankarkha sinkha brikaraelakarlngthun aelaaebngxyangkwang id 2 praephth khux CEP thimiekhtkarkhaesri epnhwicsakhy aelarwmipthungkhwamrwmmuxthangesrsthkicdanxun dwy echn thrphysinthangpyya karprasannoybaykaraekhngkhn aelakarcdsuxodyrth epntn dngkrni CEP rahwangxxsetreliyaelaniwsiaelnd aelakhwamrwmmuxthixaesiynkalngcaecrcakbcin inkrnidngklawni CEP cungepnkrxbkhwamrwmmuxthnginechinglukaelakwangkwaekhtkarkhaesri odypkti CEP thiimmikarthaekhtkarkhaesri aetxacmikarldphasisulkakr imichkarldthungkhntasud hruxepn 0 dngechnkrni FTA aelamatrkarthiimichphasisulkakrthiepnxupsrrkhtxkarkhadwy rwmthngmikarrwmmuxknindanxun xyangkwangkhwang echn CEP rahwangxaesiynkbxxsetreliyaelaniwsiaelnd epntnxyangirktamthng FTA aela Custom Union tangkepnkrabwnkarinkarphnukkhwamrwmmux aelahruxkarrwmtwknthangesrsthkic Economic Integration aelaepnpccyerngkarepidesrithikawiperwkwakarepidesritamkhxphukphnkhxng WTO rwmthngepnkaretriymkarepidesritamepahmayphayitptiyyaobkxrkhxng APEC sungkahndihpraethssmachikthiphthnaaelwepidesrixyangetmthiphayinpi kh s 2010 ph s 2553 aela praethssmachikthikalngphthnaepidesriphayinpi kh s 2020 ph s 2563 txngkarxangxing inthini karichkhawa ekhtkarkhaesri nn hmaythung khwamrwmmuxthangesrsthkicthiiklchidknepnphiessinlksnathiepnkarklawxyangkwang khlumipthng FTA Customs Union aela CEP swnkarichkhawa FTA hruxCustom Union hruxCEPnn hmaythung khwamrwmmuxinrupaebbnn epnkrni ipxyangirkdi ekhtkarkhaesrinn inthangptibtiepneruxngthimikhwamyungyakinradbhnung aelahaktxngkarihidphlcringcng kcatxngphthnaipsukarepnshphaphsulkakrodyerw ephuxhlikeliyngkarhlbhniphasiinrupaebbtang enuxngcakpraethsnxkklumcaphyayamsngsinkhaekhathangpraethsthithakhxtklngekhtkarkhaesri thimiphasitaipsupraethsinekhtkarkhathimiphasisung yktwxyangodysmmtiwapraethsithymiekhtkarkhaesrikbpraethsmaelesiy aetpraethsithyekbphasisulkakrkarnaekhasingthxephiyng 10 inkhnathimaelesiyekbphasisinkhaediywkninxtra 30 phxkhacinkcaphyayamnaekhasingthxthangpraethsithyephuxesiyphasiephiyng 10 aelwnaipaeprrupelknxy echn brrcuhxihmephuxaeplngsphaphihepnsinkhapraethsithyaelw naipkhayinpraethsmaelesiyxncathaihekhaeliyngphasiid 20 klawkhux ekhtkarkhaesricatxngichthrphyakrkhxngphakhrthepncanwnmak ephuxkahndkdeknthekiywkbaehlngkaenidsinkhathirdkum sungthangxxkthidithisud khux karaeplngphasisulkakrkhxngpraethsinekhtkarkhaesriihethaknthnghmd hruxaeplngihepnshphaphsulkakrodyerwnnexngepahmaykhxngekhtkarkhaesri aekikhekhtkarkhaesrisathxnaenwkhidsakhythangesrsthsastrthiwa praoychncakkarkharahwangpraethscaekidkhunsungsudemuxpraethstang phlitsinkhathitnmitnthuninkarphlittathisudemuxepriyb ethiybkbpraethsxun aelwnasinkhaehlannmakhakhayaelkepliynkn sunginolkaehngkhwamepncringnn praoychnsungsuddngklawcaimekidkhun hakyngmikarekbphasikhaekhaaelamikarichmatrkarkidknthangkarkhatang sungsngphlbidebuxnrakhathiaethcringkhxngsinkha aelathaihkarkhakhayimepnipxyangesriaelamiprasiththiphaphphrxmknni FTA thuxepnekhruxngmuxthangkarkhasakhythipraethstang samarthichephuxkhyayoxkasinkarkha srangphnthmitrthangesrsthkic phrxm kbephimkhwamsamarthinkaraekhngkhndanrakhaihaeksinkhakhxngtn enuxngcaksinkhathiphlitin FTA cathukekbphasikhaekhainxtrathitakwasinkhathiphlitinpraethsxun thiimichsmachik FTA cungthaihsinkhathiphlitphayinklumid epriybindanrakhakwasinkhacakpraethsnxkklumaenwthanginkarcdthaekhtkarkhaesrithidikhwrmirupaebb dngni thaihkrxbkwang Comprehensive ephuxihidrbpraoychnthngsxngfay Win Win karecrcathakhwamtklngcdtngekhtkarkhaesrimikhxbekhtkwangkhwangkhrxbkhlumsmphnththangesrsthkicthuksakha thngkarepidesrithangkarkha sinkhaaelabrikar karlngthun aelakarkhyaykhwamrwmmuxthnginsakhathirwmmuxkntlxdcnprasanaenwnoybayaelaphthnathrphyakrmnusy nbwaepnkarthakhxphukphnephimetimcakkhxphukphnthiaetlapraethsmixyuaelwinthanasmachik WTO cungepnkhxphukphnin WTO WTO plus thaihsxdkhlxngkbkd WTO odythi WTO kahndenguxnikhihmikarepidesriodykhlumkarkhasinkha brikar rahwangpraethsthiekharwmthaekhtkarkhaesrixyangmakphx Substantial aelasrangkhwamoprngisodyaecngtx WTO kxnaelahlngkarthakhwamtklngtngekhtkarkhaesri rwmthngepidihpraethssmachiktrwcsxbkhwamtklng aelkepliynphlpraoychntxbaethnkn Reciprocity inkrnithi khuecrcaepnpraethsphthnaaelw khwreriykrxngkhwamyudhyunephuxihmiewlanankwainkarprbtwhruxthakhxphukphninradbthitakwa kahndklikaelamatrkarpxngknphlkrathbtxxutsahkrrmphayin karecrcacdtngekhtkarkhaesricarwmthungeruxngkdeknthaelakhntxninkarichmatrkarpxngknphlkrathbtxxutsahkrrmphayin echn karekbphasi kartxtankarthumtlad AD phasitxbotkarxudhnun CVD aelamatrkarkhumkn Safeguards sungichkdeknthkhxng WTO epnphunthan aetprbprungihtrngtamkhwamprasngkhkhxngpraethsthirwmecrca hruxbangkrnixacmikartklngthicarangbkarichmatrkar AD CVD rahwangknekhtkarkhaesrikbpraethsithy aekikhkhxmulodykrmecrcakarkharahwangpraeths krathrwngphanichy 1 2 ekhtkarkhaesrithiidlngnamaelamiphlichbngkhbaelw aekikh innampraethsithy ekhtkarkhaesrixaesiyn AFTA cdtngpi 2535 ithy xinediy ITFTA miphlerimldphasiraykarsinkhaerngldphasiebuxngtn 82 raykar Early Harvest Scheme 1 knyayn 2547 ldphasiepn 0 wnthi 1 knyayn 2549 ithy xxsetreliy TAFTA miphlichbngkhb 1 mkrakhm 2548 ithy niwsiaelnd TNZCEP miphlichbngkhb 1 krkdakhm 2548 ithy yipun JTEPA miphlichbngkhb 1 phvscikayn 2550 ithy epru miphlerimldphasiraykarsinkhaerngldphasiebuxngtn Early Harvest Scheme 19 phvscikayn 2548 ithy chili lngnam 4 tulakhm 2556innamxaesiyn xaesiyn cin ACFTA lngnam 29 phvscikayn 2547 xaesiyn yipun AJCEP lngnam 11 emsayn 2551 xaesiyn ekahliit AKFTA lngnam 27 kumphaphnth 2552 xaesiyn xxsetreliy niwsiaelnd AANZFTA lngnam 27 kumphaphnth 2552 xaesiyn xinediy AIFTA lngnam 13 singhakhm 2552ekhtkarkhaesrithixyurahwangkarecrca aekikh ithy aekhnada TCFTA ithy shphaphyuorpduephim aekikhkarkhaesrixangxing aekikh http www thaifta com thaifta Home FTAbyCountry tabid 53 Default aspx http www thairath co th column oversea worldsky 319058aehlngkhxmulxun aekikhklumsuksakhxtklngekhtkarkhaesriphakhprachachn http www ftadigest com ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhtkarkhaesri amp oldid 9532105, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม