fbpx
วิกิพีเดีย

เฮอร์คิวลีส

บทความนี้เกี่ยวกับวีรบุรุษในปกรณัมโรมัน สำหรับกลุ่มดาว ดูที่ กลุ่มดาวเฮอร์คิวลีส

เฮอร์คิวลีส (อังกฤษ: Hercules) เป็นชื่อโรมันของเทพเจ้ากรีก ชื่อ เฮราคลีส (Heracles) เฮอร์คิวลีส เป็นลูกของเทพซุส และ อัลค์เมนา (มนุษย์) เฮอร์คิวลีส มีภรรยาสองคน: เทพีเมการา (Megara) และ เทพีไดอะไนรา (Deianeira)

เฮอร์คิวลีส
เทพแห่งความแข็งแกร่งและวีรบุรุษ
ภาพ เฮราคลีสสู้กับสิงโตนีเมียน
โดยเปเตอร์ เปาล์ รือเบินส์
วิมานโรม
สัญลักษณ์กระบอง, สิงโตนีเมียน, คันธนูและลูกศร
คู่ครองจูเวนตัส
บิดา-มารดาจูปิเตอร์กับอัลค์มีนี
เทียบเท่าในกรีกเฮราคลีส
เทียบเท่าใน Etruscanเฮอร์เคล
เฮอร์คิวลีสและสิงห์โตเนเมียน (รายละเอียด) , บนถาดเงินจากคริสต์ศตวรรษที่ 6
เฮอร์คิวลีสและหลานชายหนุ่ม (eromenos) ไอโอลอส (Iolaus)
งานโมเสกร้อยปีก่อนคริสต์ศตวรรษจากอันซิโอ นิมฟเฟอุม, โรม
บรอนซ์โรมันพบใกล้โรงละครปอมเปย์ในปี ค.ศ. 1864 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วาติกัน
“เฮอร์คิวลีสและไฮดราเลิร์นเนียน (Lernaean Hydra) ” โดย อันโตนิโอ พอลลาอูโล (Antonio Pollaiuolo)

ที่มา

ชื่อภาษาละตินของเฮอร์คิวลีสมิได้เป็นชื่อที่แปลงมาโดยตรงจากชื่อกรีก “เฮราคลีส” แต่แปลงมาจากตำนาน อีทรัสคัน “เฮอร์คลี” (Hercle) ซึ่งมาจากชื่อกรีก การตั้งสัตย์สาบานโดยกล่าวชื่อเฮอร์คิวลีส (“เฮอร์คลี!” หรือ “เมเฮอร์คลี!”) เป็นที่นิยมกันในภาษาละตินโบราณ (Classical Latin)

ลักษณะ

รูปเฮอร์คิวลีสในศิลปะของโรมันและเรอเนซองส์ และหลังเรอเนซองส์ที่ใช้รูปสัญลักษณ์ของโรมันจะมีสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น สิงห์โตเนเมียน และ ตระบอง ในงานโมเสกเฮอร์คิวลีสจะเป็นผู้ที่มีผิวคล้ำแดดเป็นการแสดงว่าเป็นผู้สำบุกสำบันจากกิจการต่างที่ต้องทำกลางแจ้ง เฮอร์คิวลีสเป็นแบบแผนที่ที่เป็นตัวอย่างของความเป็นบุรุษที่มีความแข็งแรง ความกล้าหาญ และมีกระหายที่รวมไปถึงความต้องการทางเพศทั้งกับสตรีและเด็กหนุ่ม (pederasty) แต่ลักษณะดังกล่าวก็มิได้ทำให้เฮอร์คิวลีสขาดความมีความขี้เล่น ผู้ที่มักจะเล่นเกมส์เพื่อผ่อนคลายจากงานหนักและมักชอบเล่นกับเด็ก แม้ว่าเฮอร์คิวลีสจะเป็นนักรบผู้กล้าหาญแต่ก็ยังใช้วิธีขึ้โกงเพื่อให้คู่ต่อสู้เพลี่ยงพล้ำ แต่ในขณะเดียวกันก็มีชื่อว่าเป็นผู้ “ทำให้โลกเป็นที่ปลอดภัยสำหรับมนุษย์” โดยการสังหารสัตว์ร้ายที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ ความเสียสละของเฮอร์คิวลีสทำให้ได้รับตำแหน่งในบรรดาเทพเจ้าโอลิมเปียนและเป็นที่ต้อนรับโดยเทพเจ้า

ลัทธินิยมโรมัน

โรมันนำตำนานวีรบุรุษ “เฮอร์คลี” ของอีทรัสคันซึ่งมีอิทธิพลจากวัฒนธรรมกรีก “เฮอร์คลี” ปรากฏในงานศิลปะของอีทรัสคันที่งดงามเช่นภาพของเฮอร์คิวลีสดูดนมจากอกของ เทพีอูนิ/จูโน สลักบนด้านหลังของกระจกบรอนซ์ที่สร้างราว 400 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษที่พบที่โวลเทอรรา งานเขียนของกรีกเกี่ยวกับเฮอร์คิวลีสมาจากงานเขียนของโรมันเริ่มตั้งแต่ราว 200 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษซึ่งมิได้เปลื่ยนแปลงจากเดิมเท่าใด แต่โรมันมาต่อเติมรายละเอียดของตนเอง บางเรื่องที่ขยายความก็ทำให้เฮอร์คิวลีสมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก รายละเอียดของลัทธินิยมเฮอร์คิวลีสของกรีกก็นำมาแปลงเป็นของโรมันโดยการที่เฮอร์คิวลีสกลายเป็นผู้ก่อตั้งเฮอร์คิวเลเนียม (Herculaneum) และที่อื่น ๆ นอกจากนั้นลัทธินิยมเฮอร์คิวลีสก็เป็นที่นิยมของลัทธินิยมของผู้ปกครองโรม (Imperial cult) ที่เห็นได้จาก จิตรกรรมฝาผนังภายในสิ่งก่อสร้างที่เฮอร์คิวเลเนียม แท่นบูชาเฮอร์คิวลีสที่พบสร้างมาตั้งแต่ 600 ถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษไม่ใกลจาก วัดเฮอร์คิวลีสเดอะวิคเตอร์ (Temple of Hercules Victor) เฮอร์คิวลีสเป็นที่นิยมของพ่อค้าผู้มักจะอุทิศทรัพย์บางส่วนจากกำไรที่ได้ให้

มาร์ค แอนโทนีเปรียบเทียบตนเองกับเฮอร์คิวลีสและยังขยายความว่าเฮอร์คิวลีสมีลูกชายชื่อแอนทอนซึ่งเป็นบรรพบุรุษของแอนโทนี เพื่อเป็นการโต้ตอบอ็อกเทเวียนผู้เป็นศัตรูของมาร์ค แอนโทนีจึงเปรียบตนเองว่าเป็นเทพอพอลโล

จักรพรรดิโบราณมักจะพยายามเลียนแบบลักษณะของเฮอร์คิวลีสเช่นทราจัน ต่อมาจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันโดยเฉพาะจักรพรรดิคอมโมดัส และจักรพรรดิแม็กซิเมียนที่นอกจากจะเปรียบเทียบตนเองกับเฮอร์คิวลีสแล้วก็ยังสนับสนุนลัทธินิยมด้วย ลัทธินิยมเฮอร์คิวลีสเผยแพร่ไปทั่วจักรวรรดิโรมัน ในโรมันอียิปต์เชื่อกันว่าซากวัดที่พบที่โอเอซิสบาฮาริยา (Bahariya Oasis) เป็นวัดที่สร้างสำหรับการบูชาเฮอร์คิวลีส

ตำนานเฮอร์คิวลีส

ในตำนานเทพของโรมัน อัคคา ลาเร็นเทียผู้เป็นเมียน้อยของเฮอร์คิวลีสแต่งงานกับทารูเทียสพ่อค้าฐานะดีมาก่อน เมื่อทารูเทียสเสียชีวิตลาเร็นเทียก็บริจาคทรัพย์สมบัติให้เป็นทาน อีกตำนานหนึ่งลาเร็นเทียเป็นภรรยาของฟอทุลัส

เฮอร์คิวลีสสังหารเมการาผู้ภรรยาและลูก เพื่อจะแก้บาปที่ทำเฮอร์คิวลีสต้องทำภารกิจสิบสองอย่าง (The Twelve Labours of Hercules) ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากเกินกว่ามนุษย์ที่จะทำสำเร็จซึ่งเป็นผลที่ทำให้มีชื่อว่าเป็นเทพแห่งภูเขาโอลิมเปีย

อ้างอิง

  1. W. M. Lindsay, "Mehercle and Herc (v) lvs. [Mehercle and Herc (u) lus]" The Classical Quarterly 12.2 (April 1918:58).
  2. The Classical and Hellenistic conventions of frescoes and mosaics is to show women as pale-skinned and men as tanned dark from their outdoor arena of action and exercising in the gymnasium. (See also[1] and [2]).
  3. Aelian, Varia Historia, 12.15

แหล่งข้อมูลอื่น

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เฮอร์คิวลีส

เฮอร, วล, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดบทความน, เก, ยวก, บว, รบ, ษในปกรณ, มโรม, สำหร, บกล, มดาว, กล, มดาว, บทความน, าง. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamniekiywkbwirburusinpkrnmormn sahrbklumdaw duthi klumdawehxrkhiwlis bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha ehxrkhiwlis xngkvs Hercules epnchuxormnkhxngethphecakrik chux ehrakhlis Heracles ehxrkhiwlis epnlukkhxngethphsus aela xlkhemna mnusy ehxrkhiwlis miphrryasxngkhn ethphiemkara Megara aela ethphiidxainra Deianeira ehxrkhiwlisethphaehngkhwamaekhngaekrngaelawirburusphaph ehrakhlissukbsingotniemiyn odyepetxr epal ruxebinswimanormsylksnkrabxng singotniemiyn khnthnuaelaluksrkhukhrxngcuewntsbida mardacupietxrkbxlkhminiethiybethainkrikehrakhlisethiybethain Etruscanehxrekhlehxrkhiwlisaelasinghotenemiyn raylaexiyd bnthadengincakkhriststwrrsthi 6 ehxrkhiwlisaelahlanchayhnum eromenos ixoxlxs Iolaus nganomeskrxypikxnkhriststwrrscakxnsiox nimfefxum orm brxnsormnphbiklornglakhrpxmepyinpi kh s 1864 pccubntngaesdngxyuthiphiphithphnthwatikn ehxrkhiwlisaelaihdraelirneniyn Lernaean Hydra ody xnotniox phxllaxuol Antonio Pollaiuolo enuxha 1 thima 2 lksna 3 lththiniymormn 4 tananehxrkhiwlis 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunthima aekikhchuxphasalatinkhxngehxrkhiwlismiidepnchuxthiaeplngmaodytrngcakchuxkrik ehrakhlis aetaeplngmacaktanan xithrskhn ehxrkhli Hercle sungmacakchuxkrik kartngstysabanodyklawchuxehxrkhiwlis ehxrkhli hrux emehxrkhli epnthiniymkninphasalatinobran Classical Latin 1 lksna aekikhrupehxrkhiwlisinsilpakhxngormnaelaerxensxngs aelahlngerxensxngsthiichrupsylksnkhxngormncamisylksntang echn singhotenemiyn aela trabxng innganomeskehxrkhiwliscaepnphuthimiphiwkhlaaeddepnkaraesdngwaepnphusabuksabncakkickartangthitxngthaklangaecng 2 ehxrkhiwlisepnaebbaephnthithiepntwxyangkhxngkhwamepnburusthimikhwamaekhngaerng khwamklahay aelamikrahaythirwmipthungkhwamtxngkarthangephsthngkbstriaelaedkhnum pederasty aetlksnadngklawkmiidthaihehxrkhiwliskhadkhwammikhwamkhieln phuthimkcaelnekmsephuxphxnkhlaycaknganhnkaelamkchxbelnkbedk 3 aemwaehxrkhiwliscaepnnkrbphuklahayaetkyngichwithikhuokngephuxihkhutxsuephliyngphla aetinkhnaediywknkmichuxwaepnphu thaiholkepnthiplxdphysahrbmnusy odykarsngharstwraythiepnxntraytxmnusy khwamesiyslakhxngehxrkhiwlisthaihidrbtaaehnnginbrrdaethphecaoxlimepiynaelaepnthitxnrbodyethphecalththiniymormn aekikhormnnatananwirburus ehxrkhli khxngxithrskhnsungmixiththiphlcakwthnthrrmkrik ehxrkhli praktinngansilpakhxngxithrskhnthingdngamechnphaphkhxngehxrkhiwlisdudnmcakxkkhxng ethphixuni cuon slkbndanhlngkhxngkrackbrxnsthisrangraw 400 pikxnkhriststwrrsthiphbthiowlethxrra nganekhiynkhxngkrikekiywkbehxrkhiwlismacaknganekhiynkhxngormnerimtngaetraw 200 pikxnkhriststwrrssungmiidepluynaeplngcakedimethaid aetormnmatxetimraylaexiydkhxngtnexng bangeruxngthikhyaykhwamkthaihehxrkhiwlismiswnekiywkhxngkbbriewnemdietxrereniyntawntk raylaexiydkhxnglththiniymehxrkhiwliskhxngkrikknamaaeplngepnkhxngormnodykarthiehxrkhiwlisklayepnphukxtngehxrkhiweleniym Herculaneum aelathixun nxkcaknnlththiniymehxrkhiwliskepnthiniymkhxnglththiniymkhxngphupkkhrxngorm Imperial cult thiehnidcak citrkrrmfaphnngphayinsingkxsrangthiehxrkhiweleniym aethnbuchaehxrkhiwlisthiphbsrangmatngaet 600 thung 500 pikxnkhriststwrrsimiklcak wdehxrkhiwlisedxawikhetxr Temple of Hercules Victor ehxrkhiwlisepnthiniymkhxngphxkhaphumkcaxuthisthrphybangswncakkairthiidihmarkh aexnothniepriybethiybtnexngkbehxrkhiwlisaelayngkhyaykhwamwaehxrkhiwlismilukchaychuxaexnthxnsungepnbrrphburuskhxngaexnothni ephuxepnkarottxbxxkethewiynphuepnstrukhxngmarkh aexnothnicungepriybtnexngwaepnethphxphxlolckrphrrdiobranmkcaphyayameliynaebblksnakhxngehxrkhiwlisechnthracn txmackrphrrdiaehngckrwrrdiormnodyechphaackrphrrdikhxmomds aelackrphrrdiaemksiemiynthinxkcakcaepriybethiybtnexngkbehxrkhiwlisaelwkyngsnbsnunlththiniymdwy lththiniymehxrkhiwlisephyaephripthwckrwrrdiormn inormnxiyiptechuxknwasakwdthiphbthioxexsisbahariya Bahariya Oasis epnwdthisrangsahrbkarbuchaehxrkhiwlistananehxrkhiwlis aekikhintananethphkhxngormn xkhkha laernethiyphuepnemiynxykhxngehxrkhiwlisaetngngankbtharuethiysphxkhathanadimakxn emuxtharuethiysesiychiwitlaernethiykbricakhthrphysmbtiihepnthan xiktananhnunglaernethiyepnphrryakhxngfxthulsehxrkhiwlissngharemkaraphuphrryaaelaluk ephuxcaaekbapthithaehxrkhiwlistxngthapharkicsibsxngxyang The Twelve Labours of Hercules sungepnsingthiyakekinkwamnusythicathasaercsungepnphlthithaihmichuxwaepnethphaehngphuekhaoxlimepiyxangxing aekikh W M Lindsay Mehercle and Herc v lvs Mehercle and Herc u lus The Classical Quarterly 12 2 April 1918 58 The Classical and Hellenistic conventions of frescoes and mosaics is to show women as pale skinned and men as tanned dark from their outdoor arena of action and exercising in the gymnasium See also 1 and 2 Aelian Varia Historia 12 15aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb ehxrkhiwlis bthkhwamekiywkbkhwamechuxniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ehxrkhiwlis amp oldid 8183933, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม