fbpx
วิกิพีเดีย

ลัทธิประทับใจ

ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (อังกฤษ: impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise (Impression, soleil levant ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม

"อาฟว์นูว์เดอลอเปรา" (Avenue de l'Opéra) โดยกามีย์ ปีซาโร

ลักษณะ

ลักษณะของภาพวาดแบบลัทธิประทับใจคือการใช้พู่กันตวัดสีอย่างเข้ม ๆ ใช้สีสว่าง ๆ มีส่วนประกอบของภาพที่ไม่ถูกบีบ เน้นไปยังคุณภาพที่แปรผันของแสง (มักจะเน้นไปยังผลลัพธ์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเวลา) เนื้อหาของภาพเป็นเรื่องธรรมดา ๆ และมีมุมมองที่พิเศษ

จิตรกรแนวประทับใจได้ฉีกกรอบการวาดที่มาตั้งแต่อดีต พวกเขาจึงได้ชื่อว่าเป็นพวกขบถ พวกเขาได้วาดภาพจากสิ่งที่อยู่ตรงหน้าในปัจจุบันให้ดูประหลาดและไม่สิ้นสุดสำหรับสาธารณชนที่มาดูงานของพวกเขานักวาดแนวนี้ปฏิเสธที่จะนำเสนอความงามในอุดมคติ และมองไปยังความงามที่เกิดจากสิ่งสามัญแทน พวกเขามักจะวาดภาพกลางแจ้ง มากกว่าในห้องสตูดิโอ อย่างที่ศิลปินทั่วไปนิยมกัน เพื่อที่จะลอกเลียนแสงที่แปรเปลี่ยนอยู่เสมอในมุมมองต่าง ๆ

ภาพวาดแบบลัทธิประทับใจ ประกอบด้วยการตวัดพู่กันแบบเป็นเส้นสั้น ๆ ของสีซึ่งไม่ได้ผสมหรือแยกเป็นสีใดสีหนึ่ง ซึ่งได้ให้ภาพที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมีชีวิตชีวา พื้นผิวของภาพวาดนั้นมักจะเกิดจากการระบายสีแบบหนา ๆ ซึ่งทำให้พวกเขาแตกต่างจากนักเขียนยุคเก่าที่จะเน้นการผสมผสานสีอย่างกลมกลืนเพื่อให้ผู้อื่นคิดว่ากำลังมองภาพวาดบนแผ่นแฟรมให้น้อยที่สุด องค์ประกอบของลัทธิประทับใจยังถูกทำให้ง่ายและแปลกใหม่ และจะเน้นไปยังมุมมองแบบกว้าง ๆ มากกว่ารายละเอียด

ประวัติ

ในช่วงที่เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลงของฝรั่งเศสนั่นคือจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ทรงบูรณะกรุงปารีสและทำสงคราม อากาเดมีเดโบซาร์ (Académie des Beaux–Arts) มีอิทธิพลต่อศิลปะของฝรั่งเศสในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ศิลปะในช่วงนั้นถือว่าเป็นออกไปทางอนุรักษนิยมซึ่งไม่ว่าจะคิดใหม่ทำใหม่อย่างไรก็ต้องตกอยู่ภายใต้การครอบงำของสถาบัน จึงกล่าวได้ว่า สถาบันได้วางมาตรฐานให้กับการวาดภาพของฝรั่งเศส นอกจากจะกำหนดเนื้อหาของภาพวาดแล้ว (ยกย่องแนวศาสนาและประวัติศาสตร์รวมไปถึงภาพเหมือนของคน) สถาบันยังกำหนดเทคนิคที่ศิลปินต้องใช้ พวกเขายกย่องสีแบบทึบ ๆ ตามแบบเก่า ๆ ยิ่งสะท้อนภาพให้เหมือนกับความจริงเท่าไรยิ่งดี สถาบันยังสนับสนุนให้เหล่าจิตรกรลบร่องรอยการตระหวัดแปรง และที่สำคัญต้องแยกศิลปะออกจากบุคลิกภาพ อารมณ์ และเทคนิคการทำงานของตัวศิลปินเอง

 
"มื้อเที่ยงบนสนามหญ้า"

ในปี ค.ศ. 1863 คณะกรรมการได้ปฏิเสธผลงานที่ชื่อว่า "มื้อเที่ยงบนสนามหญ้า" (Le déjeuner sur l’herbe) โดยเอดัวร์ มาแน เพราะว่ามันแสดงภาพผู้หญิงเปลือยนั่งอยู่ข้าง ๆ ผู้ชายใส่เสื้อผ้าสองคนขณะที่ทั้งสามกำลังไปปิกนิกกัน ตามความเห็นของคณะกรรมการ ภาพเปลือยนั้นเป็นสิ่งที่ยอมรับกันได้ในภาพวาดเชิงประวัติศาสตร์และเชิงสัญลักษณ์ แต่จะมาแสดงกันผ่านภาพธรรมดาดาด ๆ เช่นนี้ถือว่าต้องห้าม

เอดัวร์ มาแน (ไม่ใช่มอแน) อับอายยิ่งนักกับการที่พวกกรรมการปฏิเสธโดยใช้คำพูดแบบเจ็บแสบ ซึ่งทำให้บรรดาศิลปินฝรั่งเศสทั้งหลายเริ่มแสดงความไม่พอใจกันมาก ถึงแม้มาแนจะไม่ถือว่าตัวเองเป็นพวกลัทธิประทับใจ เขาก็เป็นคนเปิดอภิปรายในร้านกาแฟแกร์บัว (Guerbois) ที่ซึ่งกลุ่มศิลปินในลัทธิประทับใจมารวมตัวกันและมีอิทธิพลต่อการค้นหารูปแบบใหม่ของกลุ่มกลุ่มนั้น

ภายหลังจากที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ได้ทอดพระเนตรงานหลายชิ้นที่ถูกปฏิเสธ ก็ทรงออกกฎหมายว่าสาธารณชนมีสิทธิ์ในการตัดสินงานศิลปะด้วยตัวเอง และงานแสดงภาพที่ถูกปฏิเสธ (Salon des refusés) ก็ถูกจัดขึ้น แต่ถูกนักวิจารณ์ศิลปะโจมตีอย่างมากเป็นเวลาหลายปี และในปี ค.ศ. 1874 นั่นเอง บรรดาศิลปินในลัทธิประทับใจ (ถึงแม้จะไม่รู้จักว่าชื่ออะไรกันบ้าง) ก็ได้จัดงานแสดงภาพวาดของตัวเอง ภายหลังจากที่ไปร่วมงานแสดง นักวิจารณ์นามว่า หลุยส์ เลอรัว (นักแกะสลัก จิตรกร และนักเขียนบทละครที่มีชื่อเสียง) ได้เขียนบทวิจารณ์แบบเจ็บ ๆ แสบ ๆ ลงในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี โดยเน้นการโจมตีไปที่ภาพวาดโดยจิตรกรที่ไม่มีชื่อเสียงในขณะนั้น และตั้งชื่อบทความนั้นว่า "การแสดงภาพวาดของจิตรกรลัทธิประทับใจ" เลอรัวประกาศว่า ภาพวาดที่ชื่อว่า Impression, Sunrise ของมอแนนั้นอย่างมากสุดก็เป็นแค่ภาพร่างแบบลวก ๆ จะให้เรียกว่าเป็นผลงานที่สมบูรณ์แล้วก็อย่าหวังเลย

ถึงแม้คำว่าลัทธิประทับใจจะเป็นคำเสียดสีของนักเขียนท่านนี้ แต่พวกศิลปินกลับชื่นชอบมันและเห็นว่าเป็นคำเรียกแบบให้เกียรติกัน ถึงแม้รูปแบบและมาตรฐานของแต่ละคนจะแตกต่างแปรเปลี่ยนไปแต่สิ่งที่ร้อยรัดพวกเขาให้เป็นหนึ่งเดียวคือจิตวิญญาณแห่งความเป็นขบถและความเป็นตัวของตัวเองถึงแม้ในอดีต การวาดภาพจะถูกมองอยู่เสมอว่านำเสนอสิ่งต่าง ๆ ทางประวัติศาสตร์และทางศาสนาในลักษณะที่เป็นทางการ แต่ความจริงศิลปินหลายท่านก็วาดภาพถึงสิ่งที่สามารถพบเห็นในชีวิตประจำวัน จิตรกรชาวดัตช์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อย่างเช่นยัน สเตน มุ่งเน้นไปที่วัตถุธรรมดา แต่ว่างานของพวกเขาก็แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของการจัดองค์ประกอบภาพแบบเก่า ๆ ในการจัดวางฉาก เมื่อศิลปะในลัทธิประทับใจเกิดขึ้น พวกศิลปินก็สนใจในการวาดภาพต่อสิ่งธรรมดาดาด ๆ และนิยมการเก็บภาพด้วยวิธีใหม่

ในช่วงนั้นภาพถ่ายก็กำลังเป็นที่นิยมและกล้องถ่ายรูปก็พกพาได้ง่ายขึ้น ส่วนภาพถ่ายก็ให้ความสมจริงขึ้นเรื่อย ๆ ภาพถ่ายก็เป็นแรงบันดาลใจให้พวกศิลปินในลัทธิประทับใจ บันทึกไม่ใช่เฉพาะแสงที่มาตกกระทบต่อภูมิประเทศเท่านั้นหากแต่เป็นชีวิตประจำวันของคนทั่วไป ภาพถ่ายและภาพพิมพ์แบบญี่ปุ่น (Japonisme) ผสมผสานกันกลายเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้พวกศิลปินในลัทธิประทับใจ ค้นคิดวิธีแบบใหม่และใช้มุมมองของภาพที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว

ภาพวาดของแอดการ์ เดอกา ที่ชื่อว่า "ชั้นเรียนเต้นรำ" (La classe de danse) แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลทั้งสองด้าน หนึ่งในนั้นเป็นภาพนักเต้นรำกำลังจัดชุดของหล่อนและด้านล่างขวามือเป็นภาพของพื้นว่างเปล่า

ลัทธิประทับใจ

มูลเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดศิลปะในลัทธิประทับใจ พอสรุปได้ดังนี้

  • เป็นไปตามกฎวิวัฒนาการของธรรมชาติ ทุกสิ่งทุกอยางย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามครรลองของชีวิต จากสภาพหนึ่งสู่สภาพหนึ่ง ไม่สามารถหยุดอยู่กับที่ และความคิดร่วมสมัยย่อมเบื่อหน่ายกับสิ่งซ้ำซากจำเจ มีกฎเกณฑ์ยุ่งยาก ไม่มีอิสระ ไม่มีการท้าทายสติปัญญา คตินิยมศิลปะแบบเก่า ๆ อาทิ คลาสสิกใหม่ (neoclassicism), จินตนิยม (romanticism) และสัจนิยม (realism) ซึ่งเกิดขึ้นและหมดความนิยมลง ล้วนเป็นบทพิสูจน์อันดีสำหรับกฎวิวัฒนาการ อนึ่ง สภาพของสังคม เศรษฐกิจ และปรัชญาของชีวิตได้แปรเปลี่ยนไป คำว่าอิสรภาพ เสรีภาพ และภราดรภาพ เป็นหลักทั่วไปในการแสวงหาทางออกใหม่ ลัทธิปัจเจกชนได้รับการนับถือ ทางด้านเศรษฐกิจเป็นไปตามแนวเสรีนิยม ศิลปินต้องดำรงชีพอยู่ด้วยตนเองไม่มีข้อผูกพันหรือรับคำสั่งในการทำงานดังแต่ก่อน
  • ความก้าวหน้าทางวิชาการต่าง ๆ รุดไปอย่างรวดเร็วมาก โดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์การค้นคว้าทฤษฎีแม่สีแสงอาทิตย์เพิ่มเติม และนักวิทยาศาสตร์ชื่อ เชอวเริล (Chevreul) ได้เขียนตำราเกี่ยวกับทฤษฎีสี เป็นมูลเหตุจูงใจให้ศิลปินเห็นทางใหม่ในการแสดงออก ประกอบกับได้มีการประดิษฐ์กล้องถ่ายรูป ทำให้เขียนภาพเหมือนจริงลดความนิยมลงไป เพราะสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ให้ผลิตผลที่เหมือนจริงและรวดเร็วกว่า
  • การคมนาคมโดยทั่วไปได้รับการพัฒนาให้รวดเร็วขึ้น ความเคลื่อนไหวถ่ายเททางศิลปวัฒนธรรมของชาติต่างเป็นไปโดยสะดวก ทำให้ศิลปินมีทรรศนะกว้างขวาง มีความเข้าใจต่อโลกภายนอกมากยิ่งขึ้น ดังตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1867 มีการแสดงนิทรรศการศิลปกรรมของญี่ปุ่นขึ้นในปารีสซึ่งก่อให้เกิดแรงดลใจต่อศิลปินหนุ่มสาว หัวก้าวหน้าในยุคนั้นอย่างมากเป็นต้น
  • มีการพัฒนาสืบทอดความคิดของศิลปินรุ่นก่อนหน้านี้ ได้แก่ พวกสัจนิยมซึ่งนิยมสร้างจากความเป็นจริงที่สามารถมองเห็นได้ และพวกจิตรกรหนุ่มกลุ่มธรรมชาตินิยม โดยเฉพาะพวกกลุ่มบาร์บีซงซึ่งไปรวมกันอยู่ที่หมู่บ้านบาร์บีซง ใกล้ป่าฟงแตนโบล อยู่ไม่ห่างจากปารีสเท่าใดนัก กลุ่มนี้จะยึดถือเอาธรรมชาติ อันได้แก่ ขุนเขาลำเนาไพร เป็นสิ่งที่มีความงามอันบริสุทธิ์และมีคุณค่าสูงสุดพวกเขาจะออกไปวาดภาพ ณ สถานที่ที่ต้องการ ไม่มัวนั่งจินตนาการอยู่ในห้องดังแต่ก่อน นอกจากนี้ยังได้รับแรงดลใจจากจิตรกรอังกฤษสองคน คือ จอห์น คอนสเตเบิล และวิลเลียม เทอร์เนอร์ ซึ่งมีแนวการสร้างงานคล้ายกลับกลุ่มบาร์บีซง

รายชื่อจิตรกร

อ้างอิง

  1. ศัพท์ศิลปะ 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ราชบัณฑิตยสถาน
  2. ศัพท์วรรณกรรม 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ราชบัณฑิตยสถาน

ทธ, ประท, บใจ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, หร, มเพรสช, นน, งกฤษ, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir lththiprathbic 1 hrux ximephrschnnisum 2 xngkvs impressionism epnkhbwnkarsilpathiekidkhuninkhriststwrrsthi 19 sungerimtncakkarrwmtwknxyanghlwm khxngcitrkrthnghlaythiminiwasthanxyuinkrungparis phwkekhaerimcdaesdngngansilpainchwngthswrrsthi 1860 chuxkhxngkhbwnkarnimithimacakphaphwadkhxngokld mxaen thimichuxwa Impression Sunrise Impression soleil levant inphasafrngess aelankwicarnsilpanamwahluys elxrw Louis Leroy kidihkaenidkhakhanikhunmaxyangimtngicinbthwicarnsilpaechingesiydsisungtiphimphinhnngsuxphimphelxchariwari Le Charivari xiththiphlkhxnglththiprathbicyngaephxxkcakwngkarsilpaipyngdntriaelawrrnkrrm xafwnuwedxlxepra Avenue de l Opera odykamiy pisaor enuxha 1 lksna 2 prawti 3 lththiprathbic 4 raychuxcitrkr 5 xangxinglksna aekikhlksnakhxngphaphwadaebblththiprathbickhuxkarichphukntwdsixyangekhm ichsiswang miswnprakxbkhxngphaphthiimthukbib ennipyngkhunphaphthiaeprphnkhxngaesng mkcaennipyngphllphththiekidcakkarepliynaeplngkhxngewla enuxhakhxngphaphepneruxngthrrmda aelamimummxngthiphiesscitrkraenwprathbicidchikkrxbkarwadthimatngaetxdit phwkekhacungidchuxwaepnphwkkhbth phwkekhaidwadphaphcaksingthixyutrnghnainpccubnihduprahladaelaimsinsudsahrbsatharnchnthimadungankhxngphwkekhankwadaenwniptiesththicanaesnxkhwamngaminxudmkhti aelamxngipyngkhwamngamthiekidcaksingsamyaethn phwkekhamkcawadphaphklangaecng makkwainhxngstudiox xyangthisilpinthwipniymkn ephuxthicalxkeliynaesngthiaeprepliynxyuesmxinmummxngtang phaphwadaebblththiprathbic prakxbdwykartwdphuknaebbepnesnsn khxngsisungimidphsmhruxaeykepnsiidsihnung sungidihphaphthiekidkhuntamthrrmchatiaelamichiwitchiwa phunphiwkhxngphaphwadnnmkcaekidcakkarrabaysiaebbhna sungthaihphwkekhaaetktangcaknkekhiynyukhekathicaennkarphsmphsansixyangklmklunephuxihphuxunkhidwakalngmxngphaphwadbnaephnaefrmihnxythisud xngkhprakxbkhxnglththiprathbicyngthukthaihngayaelaaeplkihm aelacaennipyngmummxngaebbkwang makkwaraylaexiydprawti aekikhinchwngthietmipdwykarepliynaeplngkhxngfrngessnnkhuxckrphrrdinopeliynthi 3 thrngburnakrungparisaelathasngkhram xakaedmiedobsar Academie des Beaux Arts mixiththiphltxsilpakhxngfrngessinchwngklangstwrrsthi 19 silpainchwngnnthuxwaepnxxkipthangxnurksniymsungimwacakhidihmthaihmxyangirktxngtkxyuphayitkarkhrxbngakhxngsthabn cungklawidwa sthabnidwangmatrthanihkbkarwadphaphkhxngfrngess nxkcakcakahndenuxhakhxngphaphwadaelw ykyxngaenwsasnaaelaprawtisastrrwmipthungphaphehmuxnkhxngkhn sthabnyngkahndethkhnikhthisilpintxngich phwkekhaykyxngsiaebbthub tamaebbeka yingsathxnphaphihehmuxnkbkhwamcringethairyingdi sthabnyngsnbsnunihehlacitrkrlbrxngrxykartrahwdaeprng aelathisakhytxngaeyksilpaxxkcakbukhlikphaph xarmn aelaethkhnikhkarthangankhxngtwsilpinexng muxethiyngbnsnamhya inpi kh s 1863 khnakrrmkaridptiesthphlnganthichuxwa muxethiyngbnsnamhya Le dejeuner sur l herbe odyexdwr maaen ephraawamnaesdngphaphphuhyingepluxynngxyukhang phuchayisesuxphasxngkhnkhnathithngsamkalngippiknikkn tamkhwamehnkhxngkhnakrrmkar phaphepluxynnepnsingthiyxmrbknidinphaphwadechingprawtisastraelaechingsylksn aetcamaaesdngknphanphaphthrrmdadad echnnithuxwatxnghamexdwr maaen imichmxaen xbxayyingnkkbkarthiphwkkrrmkarptiesthodyichkhaphudaebbecbaesb sungthaihbrrdasilpinfrngessthnghlayerimaesdngkhwamimphxicknmak thungaemmaaencaimthuxwatwexngepnphwklththiprathbic ekhakepnkhnepidxphiprayinrankaaefaekrbw Guerbois thisungklumsilpininlththiprathbicmarwmtwknaelamixiththiphltxkarkhnharupaebbihmkhxngklumklumnnphayhlngcakthickrphrrdinopeliynthi 3 idthxdphraentrnganhlaychinthithukptiesth kthrngxxkkdhmaywasatharnchnmisiththiinkartdsinngansilpadwytwexng aelanganaesdngphaphthithukptiesth Salon des refuses kthukcdkhun aetthuknkwicarnsilpaocmtixyangmakepnewlahlaypi aelainpi kh s 1874 nnexng brrdasilpininlththiprathbic thungaemcaimruckwachuxxairknbang kidcdnganaesdngphaphwadkhxngtwexng phayhlngcakthiiprwmnganaesdng nkwicarnnamwa hluys elxrw nkaekaslk citrkr aelankekhiynbthlakhrthimichuxesiyng idekhiynbthwicarnaebbecb aesb lnginhnngsuxphimphelxchariwari odyennkarocmtiipthiphaphwadodycitrkrthiimmichuxesiynginkhnann aelatngchuxbthkhwamnnwa karaesdngphaphwadkhxngcitrkrlththiprathbic elxrwprakaswa phaphwadthichuxwa Impression Sunrise khxngmxaennnxyangmaksudkepnaekhphaphrangaebblwk caiheriykwaepnphlnganthismburnaelwkxyahwngelythungaemkhawalththiprathbiccaepnkhaesiydsikhxngnkekhiynthanni aetphwksilpinklbchunchxbmnaelaehnwaepnkhaeriykaebbihekiyrtikn thungaemrupaebbaelamatrthankhxngaetlakhncaaetktangaeprepliynipaetsingthirxyrdphwkekhaihepnhnungediywkhuxcitwiyyanaehngkhwamepnkhbthaelakhwamepntwkhxngtwexngthungaeminxdit karwadphaphcathukmxngxyuesmxwanaesnxsingtang thangprawtisastraelathangsasnainlksnathiepnthangkar aetkhwamcringsilpinhlaythankwadphaphthungsingthisamarthphbehninchiwitpracawn citrkrchawdtchinkhriststwrrsthi 19 xyangechnyn setn mungennipthiwtthuthrrmda aetwangankhxngphwkekhakaesdngihehnthungxiththiphlkhxngkarcdxngkhprakxbphaphaebbeka inkarcdwangchak emuxsilpainlththiprathbicekidkhun phwksilpinksnicinkarwadphaphtxsingthrrmdadad aelaniymkarekbphaphdwywithiihminchwngnnphaphthaykkalngepnthiniymaelaklxngthayrupkphkphaidngaykhun swnphaphthaykihkhwamsmcringkhuneruxy phaphthaykepnaerngbndalicihphwksilpininlththiprathbic bnthukimichechphaaaesngthimatkkrathbtxphumipraethsethannhakaetepnchiwitpracawnkhxngkhnthwip phaphthayaelaphaphphimphaebbyipun Japonisme phsmphsanknklayepnaerngbndalicthithaihphwksilpininlththiprathbic khnkhidwithiaebbihmaelaichmummxngkhxngphaphthiekhluxnihwxyangrwderwphaphwadkhxngaexdkar edxka thichuxwa chneriynetnra La classe de danse aesdngihehnwaidrbxiththiphlthngsxngdan hnunginnnepnphaphnketnrakalngcdchudkhxnghlxnaeladanlangkhwamuxepnphaphkhxngphunwangeplalththiprathbic aekikhmulehtusakhythithaihekidsilpainlththiprathbic phxsrupiddngni epniptamkdwiwthnakarkhxngthrrmchati thuksingthukxyangyxmmikarepliynaeplngiptamkhrrlxngkhxngchiwit caksphaphhnungsusphaphhnung imsamarthhyudxyukbthi aelakhwamkhidrwmsmyyxmebuxhnaykbsingsasakcaec mikdeknthyungyak immixisra immikarthathaystipyya khtiniymsilpaaebbeka xathi khlassikihm neoclassicism cintniym romanticism aelascniym realism sungekidkhunaelahmdkhwamniymlng lwnepnbthphisucnxndisahrbkdwiwthnakar xnung sphaphkhxngsngkhm esrsthkic aelaprchyakhxngchiwitidaeprepliynip khawaxisrphaph esriphaph aelaphradrphaph epnhlkthwipinkaraeswnghathangxxkihm lththipceckchnidrbkarnbthux thangdanesrsthkicepniptamaenwesriniym silpintxngdarngchiphxyudwytnexngimmikhxphukphnhruxrbkhasnginkarthangandngaetkxnkhwamkawhnathangwichakartang rudipxyangrwderwmak odyechphaathangdanwithyasastrkarkhnkhwathvsdiaemsiaesngxathityephimetim aelankwithyasastrchux echxweril Chevreul idekhiyntaraekiywkbthvsdisi epnmulehtucungicihsilpinehnthangihminkaraesdngxxk prakxbkbidmikarpradisthklxngthayrup thaihekhiynphaphehmuxncringldkhwamniymlngip ephraasingpradisthihmniihphlitphlthiehmuxncringaelarwderwkwakarkhmnakhmodythwipidrbkarphthnaihrwderwkhun khwamekhluxnihwthayeththangsilpwthnthrrmkhxngchatitangepnipodysadwk thaihsilpinmithrrsnakwangkhwang mikhwamekhaictxolkphaynxkmakyingkhun dngtwxyangechn inpi kh s 1867 mikaraesdngnithrrskarsilpkrrmkhxngyipunkhuninparissungkxihekidaerngdlictxsilpinhnumsaw hwkawhnainyukhnnxyangmakepntnmikarphthnasubthxdkhwamkhidkhxngsilpinrunkxnhnani idaek phwkscniymsungniymsrangcakkhwamepncringthisamarthmxngehnid aelaphwkcitrkrhnumklumthrrmchatiniym odyechphaaphwkklumbarbisngsungiprwmknxyuthihmubanbarbisng iklpafngaetnobl xyuimhangcakparisethaidnk klumnicayudthuxexathrrmchati xnidaek khunekhalaenaiphr epnsingthimikhwamngamxnbrisuththiaelamikhunkhasungsudphwkekhacaxxkipwadphaph n sthanthithitxngkar immwnngcintnakarxyuinhxngdngaetkxn nxkcakniyngidrbaerngdliccakcitrkrxngkvssxngkhn khux cxhn khxnsetebil aelawileliym ethxrenxr sungmiaenwkarsrangngankhlayklbklumbarbisngraychuxcitrkr aekikhlusi ex ebkhxn Lucy A Bacon efredrik basiy chxng ebxor Jean Beraud aemri khssatt kustafw kaybxt Gustave Caillebotte aexdkar edxka cxrc wxrtn exdewids George Wharton Edwards Frederick Carl Frieseke Eva Gonzales xarmxng kioyaemng Childe Hassam oyhn oyngkind Johan Jongkind ec xxledn ewiyr J Alden Weir exdwr maaen Willard Metcalf Laura Muntz Lyall okld mxaen aebrt mxrios Berthe Morisot William McGregor Paxton Lilla Cabot Perry kamiy pisaor piaeyr oxkust erxnwr thioxdxr rxbinsn Theodore Robinson Zinaida Serebryakova xlefrd sisliy John Henry Twachtmanxangxing aekikh sphthsilpa Archived 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin rachbnthitysthan sphthwrrnkrrm Archived 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin rachbnthitysthanekhathungcak https th wikipedia org w index php title lththiprathbic amp oldid 9591975, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม