fbpx
วิกิพีเดีย

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชัน

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่น (อังกฤษ: Photophosphorylation) เป็นการขนส่งอิเล็กตรอนไปตามตัวรับอิเล็กตรอนต่างๆ โดยเริ่มจากตัวให้อิเล็กตรอนตัวแรกคือน้ำ ส่งต่อกันไปเรื่อยๆ จนถึง NADPH+H+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย ทั้งนี้ การขนส่งอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีแสงเท่านั้น ในพืชชั้นสูง ปฏิกิริยานี้เกิดที่คลอโรพลาสต์ภายในคลอโรพลาสต์มีเยื่อหุ้มสองชั้น ซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายเยื่อหุ้มของไมโทคอนเดรียคือ ชั้นนอกยอมให้สารทุกชนิดผ่านได้อย่างเป็นอิสระ ส่วนเยื่อหุ้มชั้นในยอมให้เฉพาะสารที่มีตัวพาที่เฉพาะผ่านได้เท่านั้น เยื่อหุ้มชั้นในของคลอโรพลาสต์เป็นชั้นๆเรียกไทลาคอยด์ (thylakoid) ซึ่งมีกลุ่มเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งอิเล็กตรอนฝังตัวอยู่

ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่นที่เกิดในคลอโรพลาสต์

แนวคิดเริ่มแรกที่ว่าแสงถูกใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนั้นถูกเสนอขึ้นโดยแจน อิงเก็นเฮาซ์ในปี ค.ศ. 1779 ผู้ระบุว่าพืชนั้นจำเป็นต้องสัมผัสกับแสงแดด แม้ว่าโจเซฟ พริสต์ลีย์จะได้ทำการสังเกตการผลิตของออกซิเจนโดยปราศจากแสงเป็นองค์ประกอบไปแล้วใน ค.ศ. 1772 คอร์นีเลียส แวน นีลเสนอใน ค.ศ. 1931 ว่ากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกรณีของกลไกการทำงานทั่วไปซึ่งโฟตอนของแสงถูกใช้ในการทำให้เสื่อมสภาพโดยใช้แสงกับไฮโดรเจนตัวให้อิเล็กตรอนและไฮโดรเจนที่ใช้ในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากนั้นใน ค.ศ. 1939 โรบิน ฮิลล์ก็พิสูจน์ว่าคลอโรพลาสต์ที่ถูกแยกออกมาสามารถสร้างออกซิเจนได้ แต่ไม่สามารถตรึง CO2 ได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง และที่ไม่ต้องใช้แสง (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยามืด) สามารถเกิดขึ้นได้ในสถานที่ต่างๆ กัน นำไปสู่การค้นพบระบบแสง 1 และระบบแสง 2

การดูดกลืนแสง

การดูดกลืนแสงที่เป็นจุดเริ่มต้นของการถ่ายเทอิเล็กตรอน ระบบการดูดกลืนแสงในพืชชั้นสูงมี 2 ระบบคือ

  • photosystem I ศูนย์กลางปฏิกิริยาเป็น P 700 ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ชนิดเอมากกว่าชนิด บี
  • photosystem II ศูนย์กลางปฏิกิริยาเป็น P 680 ประกอบด้วยคลอโรฟิลล์ชนิดเอเท่าๆกับชนิดบี อาจมีคลอโรฟิลล์ชนิดซีด้วย

ขั้นตอนการส่งผ่านพลังงานจากแสง

  • เมื่อมีแสง P700 ใน photosystem I จะถูกกระตุ้นและแตกตัวให้อิเล็กตรอน อิเล็กตรอนนี้จะถูกส่งต่อให้ตัวรับอิเล็กตรอนหลายตัว สุดท้ายจะส่งให้ NADP+ ได้เป็น NADPH + H+ ซึ่งเป็นสารพลังงานสูงและจะนำไปใช้ในการสังเคราะห์น้ำตาลต่อไป อิเล็กตรอนในระบบนี้ที่สูญเสียไปจะได้คืนจาก photosystem II โดยตัวรับอิเล็กตรอนที่ทำหน้าที่เชื่อมทั้งสองระบบเข้าด้วยกันคือไซโตโครมบีหกเอฟ (cytochrome b6f) ที่เป็นตัวขนส่งอิเล็กตรอนระหว่างสองระบบแสง
  • เมื่อมีแสง P 680 ใน photosystem II จะถูกกระตุ้นจนแตกตัวให้อิเล็กตรอน อิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจะถูกส่งต่อให้ตัวรับอิเล็กตรอนกลุ่มควิโนน ซึ่งจะส่งต่อกันไปเรื่อยๆ สุดท้ายอิเล็กตรอนจะถูกส่งไปทดแทนอิเล็กตรอนที่เสียไปใน photosystem I ส่วนอิเล็กตรอนที่สูญเสียไปของ photosystem II นี้จะได้ทดแทนจากการแตกตัวของน้ำ

การสังเคราะห์ ATP

มีความคล้ายคลึงกับการสังเคระห์ ATP ในไมโทคอนเดรีย กล่าวคือ เมื่อมีการขนส่งอิเล็กตรอนให้ ไซโตโครมบีหกเอฟ (cytochrome b6f) จะมีการขับโปรตรอนออกไปยังช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้ม เมื่อมีการไหลกลับของโปรตรอนเข้ามาในสโตรมาโดยผ่านเอนไซม์ ATP synthase จะได้พลังงาน ATP

การขนส่งอิเล็กตรอนแบบเป็นวงจร

เป็นการขนส่งอิเล็กตรอนจากphotosystem I ไปยังไซโตโครมบีหกเอฟ แล้วกลับคืนมาทดแทนอิเล็กตรอนที่เสียไปของphotosystem I อีก ทำให้การขนส่งอิเล็กตรอนแบบนี้จะได้เฉพาะ ATP ไม่เกิด NADPH + H+

อ้างอิง

  • Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth

ดูเพิ่ม

ปฏ, ยาโฟโตฟอสโฟร, เลช, ปฏ, ยาโฟโตฟอสโฟร, เลช, งกฤษ, photophosphorylation, เป, นการขนส, งอ, เล, กตรอนไปตามต, วร, บอ, เล, กตรอนต, างๆ, โดยเร, มจากต, วให, เล, กตรอนต, วแรกค, อน, งต, อก, นไปเร, อยๆ, จนถ, nadph, เป, นต, วร, บอ, เล, กตรอนต, วส, ดท, าย, งน, การขนส, ง. ptikiriyaofotfxsofrielchn xngkvs Photophosphorylation epnkarkhnsngxielktrxniptamtwrbxielktrxntang odyerimcaktwihxielktrxntwaerkkhuxna sngtxkniperuxy cnthung NADPH H epntwrbxielktrxntwsudthay thngni karkhnsngxielktrxncaekidkhunidemuxmiaesngethann inphuchchnsung ptikiriyaniekidthikhlxorphlastphayinkhlxorphlastmieyuxhumsxngchn sungmikhunsmbtikhlayeyuxhumkhxngimothkhxnedriykhux chnnxkyxmihsarthukchnidphanidxyangepnxisra swneyuxhumchninyxmihechphaasarthimitwphathiechphaaphanidethann eyuxhumchninkhxngkhlxorphlastepnchneriykithlakhxyd thylakoid sungmiklumexnismthiekiywkhxngkbkarkhnsngxielktrxnfngtwxyuptikiriyaofotfxsofrielchnthiekidinkhlxorphlast aenwkhiderimaerkthiwaaesngthukichinkrabwnkarsngekhraahdwyaesngnnthukesnxkhunodyaecn xingeknehasinpi kh s 1779 phurabuwaphuchnncaepntxngsmphskbaesngaedd aemwaocesf phristliycaidthakarsngektkarphlitkhxngxxksiecnodyprascakaesngepnxngkhprakxbipaelwin kh s 1772 khxrnieliys aewn nilesnxin kh s 1931 wakrabwnkarsngekhraahdwyaesngepnkrnikhxngklikkarthanganthwipsungoftxnkhxngaesngthukichinkarthaihesuxmsphaphodyichaesngkbihodrecntwihxielktrxnaelaihodrecnthiichinkarldkaskharbxnidxxkisd caknnin kh s 1939 orbin hillkphisucnwakhlxorphlastthithukaeykxxkmasamarthsrangxxksiecnid aetimsamarthtrung CO2 id sungaesdngihehnwaptikiriyathitxngichaesng aelathiimtxngichaesng hruxthieriykwaptikiriyamud samarthekidkhunidinsthanthitang kn naipsukarkhnphbrabbaesng 1 aelarabbaesng 2 enuxha 1 kardudklunaesng 2 khntxnkarsngphanphlngngancakaesng 3 karsngekhraah ATP 4 karkhnsngxielktrxnaebbepnwngcr 5 xangxing 6 duephimkardudklunaesng aekikhkardudklunaesngthiepncuderimtnkhxngkarthayethxielktrxn rabbkardudklunaesnginphuchchnsungmi 2 rabbkhux photosystem I sunyklangptikiriyaepn P 700 prakxbdwykhlxorfillchnidexmakkwachnid bi photosystem II sunyklangptikiriyaepn P 680 prakxbdwykhlxorfillchnidexethakbchnidbi xacmikhlxorfillchnidsidwykhntxnkarsngphanphlngngancakaesng aekikhemuxmiaesng P700 in photosystem I cathukkratunaelaaetktwihxielktrxn xielktrxnnicathuksngtxihtwrbxielktrxnhlaytw sudthaycasngih NADP idepn NADPH H sungepnsarphlngngansungaelacanaipichinkarsngekhraahnataltxip xielktrxninrabbnithisuyesiyipcaidkhuncak photosystem II odytwrbxielktrxnthithahnathiechuxmthngsxngrabbekhadwyknkhuxisotokhrmbihkexf cytochrome b6f thiepntwkhnsngxielktrxnrahwangsxngrabbaesng emuxmiaesng P 680 in photosystem II cathukkratuncnaetktwihxielktrxn xielktrxnthiekidkhuncathuksngtxihtwrbxielktrxnklumkhwionn sungcasngtxkniperuxy sudthayxielktrxncathuksngipthdaethnxielktrxnthiesiyipin photosystem I swnxielktrxnthisuyesiyipkhxng photosystem II nicaidthdaethncakkaraetktwkhxngnakarsngekhraah ATP aekikhmikhwamkhlaykhlungkbkarsngekhrah ATP inimothkhxnedriy klawkhux emuxmikarkhnsngxielktrxnih isotokhrmbihkexf cytochrome b6f camikarkhboprtrxnxxkipyngchxngwangrahwangeyuxhum emuxmikarihlklbkhxngoprtrxnekhamainsotrmaodyphanexnism ATP synthase caidphlngngan ATPkarkhnsngxielktrxnaebbepnwngcr aekikhepnkarkhnsngxielktrxncakphotosystem I ipyngisotokhrmbihkexf aelwklbkhunmathdaethnxielktrxnthiesiyipkhxngphotosystem I xik thaihkarkhnsngxielktrxnaebbnicaidechphaa ATP imekid NADPH H xangxing aekikhLehninger A L Nelson D L and Cox M M 1993 Principle of Biochemistry 2nd ed New York Worthduephim aekikhkarsngekhraahdwyaesng ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ptikiriyaofotfxsofrielchn amp oldid 8487346, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม