fbpx
วิกิพีเดีย

เหตุผลวิบัติในการวางแผน

เหตุผลวิบัติในการวางแผน (อังกฤษ: planning fallacy) ที่แดเนียล คาฮ์นะมัน (รูป) และอะมอส ทเวอร์สกี้เป็นผู้เสนอในปี ค.ศ. 1979 เป็นปรากฏการณ์ที่การพยากรณ์ของเราว่า จะใช้เวลานานเท่าไรในการทำงานหนึ่งให้เสร็จ จะปรากฏว่ามีความเอนเอียงโดยการมองในแง่ดี (optimistic bias) คือจะมีการประเมินเวลาต่ำเกินไป เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ว่าเราจะรู้หรือไม่ว่า งานคล้าย ๆ กันในอดีตความจริงแล้วใช้เวลามากกว่าที่วางแผนและประเมินไว้ความเอนเอียงนี้จะเกิดเมื่อประเมินงานของตัวเองเท่านั้น แต่ถ้าคนอื่นประเมินให้ ก็จะมีความเอนเอียงโดยมองในแง่ร้าย และเวลาที่ประเมินก็จะมากเกินไป นิยามของความเอนเอียงกำหนดว่า การพยากรณ์เวลาที่จะใช้ทำงานปัจจุบัน

  • จะต้องมองในแง่ดีกว่าความเชื่อว่างานคล้าย ๆ กันในอดีตใช้เวลานานเท่าไร
  • จะต้องมองในแง่ดีกว่าเวลาที่จะต้องใช้ในการทำงานจริง ๆ
แดเนียล คาฮ์นะมัน (รูป - ได้รับรางวัลรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี ค.ศ. 2002) กับอะมอส ทเวอร์สกี้ เป็นนักจิตวิทยาผู้เสนอเหตุผลวิบัติในการวางแผน

ในปี ค.ศ. 2003 คาฮ์นะมันและคณะได้เสนอนิยามที่ครอบคลุมมากขึ้นว่า เป็นแนวโน้มที่จะประเมินเวลา ค่าใช้จ่าย และความเสี่ยงสำหรับงานที่จะทำในอนาคตต่ำเกินไป และในขณะเดียวกันจะประเมินประโยชน์ที่ได้สูงเกินไป ตามคำนิยามนี้ เหตุผลวิบัติในการวางแผนมีผลไม่ใช่เป็นการใช้เวลามากเกินไปเท่านั้น แต่จะมีผลเป็นค่าใช้จ่ายเกินงบประมาณ และประโยชน์ที่น้อยกว่าที่วางแผนไว้ด้วย

หลักฐานเชิงประสบการณ์

ในระดับบุคคล

งานวิจัยปี ค.ศ. 1994 ให้นักศึกษาจิตวิทยาประเมินเวลาที่จะใช้ทำวิทยานิพนธ์ปี 4 ซึ่งโดยเฉลี่ยแล้วมีการประเมินที่ 33.9 วัน เมื่อให้ประเมิน "ถ้าทุกอย่างเป็นไปตามที่คิดได้ดีทุกอย่าง" ก็จะได้ค่าเฉลี่ยที่ 27.4 วัน หรือว่า "ถ้าทุกอย่างไม่ได้เป็นไปตามที่คาดคิดไว้เลย" ก็จะได้ค่าเฉลี่ยที่ 48.6 วัน แต่ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการทำงานจริง ๆ อยู่ที่ 55.5 วัน โดยมีนักศึกษาเพียง 30% เท่านั้นที่ทำงานวิทยานิพนธ์เสร็จในระยะเวลาที่ตนพยากรณ์ไว้

ส่วนอีกงานศึกษาหนึ่งในปี ค.ศ. 1995 ให้นักศึกษาประเมินเวลาที่จะใช้ในการทำโพรเจ็กต์วิชาการ โดยเฉพาะแล้ว มีการให้นักศึกษาประเมินระยะเวลาที่ตนคิดว่า มีโอกาส 50% 75% และ 99% ที่งานนี้จะทำเสร็จ ผลปรากฏว่า

  • มีนักศึกษา 13% ทำงานเสร็จในช่วงเวลาที่ตนประเมินว่ามีโอกาส 50%
  • มีนักศึกษา 19% ทำงานเสร็จในช่วงเวลาที่ตนประเมินว่ามีโอกาส 75%
  • มีนักศึกษา 45% ทำงานเสร็จในช่วงเวลาที่ตนประเมินว่ามีโอกาส 99%

ในงานสำรวจผู้เสียภาษีชาวแคนาดาที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1997 มีการพบว่าผู้เสียภาษีส่งฟอร์มภาษีที่ทำเสร็จอาทิตย์หนึ่งสายกว่าที่คิดไว้ ผู้เสียภาษีไม่มีความคิดเห็นผิด ๆ เกี่ยวกับประวัติการส่งฟอร์มภาษีที่ผ่าน ๆ มาของตน แต่ว่า มีความคาดหวังว่าจะทำได้เร็วกว่าครั้งก่อน ๆ งานวิจัยนี้แสดงลักษณะเฉพาะของเหตุผลวิบัติในการวางแผน คือแม้ว่าเราจะเข้าใจว่าการพยากรณ์เวลาในอดีตของเรามองในแง่ดีเกินไป แต่ว่าเราก็จะยังยืนยันว่า การพยากรณ์เดี๋ยวนี้จะตรงกับความจริง

ในระดับกลุ่มบุคคล

งานวิจัย 3 งานในปี ค.ศ. 2005 แสดงหลักฐานเชิงประสบการณ์ว่า เหตุผลวิบัตินี้มีผลต่อการพยากรณ์งานที่ทำเป็นกลุ่มเช่นเดียวกัน งานวิจัยเน้นความสำคัญว่า กรอบเวลาเช่นเหลือเวลาอีกมาก และความคิดถึงการทำงานเสร็จ มีผลต่อการให้เกิดเหตุผลวิบัตินี้

งานศึกษาอื่น ๆ

ดูในหัวข้อต่อ ๆ ไป

คำอธิบายที่เสนอ

  • คาฮ์นะมันและทเวอร์สกี้โดยดั้งเดิมอธิบายเหตุผลวิบัตินี้ว่า ผู้วางแผนเพ่งความสนใจไปที่ผลที่มีการมองในแง่ดีมากที่สุด โดยที่ไม่ได้ใช้ประสบการณ์ของตนอย่างเต็มรูปแบบเพื่อที่จะประมาณเวลาที่จะใช้ทำงานคล้าย ๆ กัน
  • มีนักวิชาการอีกลุ่มหนึ่ง (บูฮ์เลอร์และคณะ) ที่อธิบายเหตุผลวิบัติโดย wishful thinking (ความคิดไปตามความหวัง) พูดอีกอย่างหนึ่งก็คือ เราคิดว่าจะทำงานได้เสร็จอย่างรวดเร็วและอย่างง่าย ๆ เพราะว่า นั่นเป็นสิ่งที่เราต้องการ
  • บูฮ์เลอร์และคณะยังเสนออีกคำอธิบายหนึ่งคือ เรามีความเอนเอียงรับใช้ตนเอง (self-serving bias) เมื่ออธิบายการพยากรณ์เวลาและผลงานที่ทำได้จริง ๆ ของงานในอดีต คือเราจะเอาเครดิตสำหรับงานที่ลงเอยด้วยดี แต่จะโทษความล่าช้าต่อปัจจัยภายนอก ด้วยวิธีนี้ เราจึงลดความสำคัญของหลักฐานในอดีตที่บ่งว่างานนี้ควรจะใช้เวลาเท่าไร
  • งานทดลองหนึ่งพบว่า ถ้าเราทำการพยากรณ์แบบนิรนาม ก็จะไม่มีความเอนเอียงโดยมองในแง่ดี ซึ่งบอกเป็นนัยว่า เราทำการประเมินเวลาแบบมองในแง่ดีก็เพื่อจะให้เราดูดีกับผู้อื่น ซึ่งเหมือนกับแนวคิดบางอย่างของ impression management theory (ทฤษฎีบริหารความประทับใจ)
  • อีกทฤษฎีหนึ่งเสนอว่า เราไม่สามารถระลึกถึงเวลาที่ใช้ในการทำงานคล้าย ๆ กันในอดีตได้อย่างถูกต้อง ดังนั้น จึงทำให้เกิดความเอนเอียงในการพยากรณ์งานในปัจจุบัน
  • มีงานวิจัยหลายงานที่เสนอว่า กลุ่มที่เพ่งเล็งความคิดไปที่การทำงานสำเร็จ จะทำการพยากรณ์โดยมองในแง่ดีสำหรับงานนั้น
  • มีอีกคำอธิบายหนึ่ง (focalism) ที่เสนอว่า เรามีเหตุผลวิบัติเช่นนี้เพราะเพ่งเล็งความสนใจไปแต่งานที่จะทำ ไม่ได้ใส่ใจถึงงานคล้าย ๆ กันในอดีตที่ใช้เวลานานกว่าที่คาดไว้
  • ดังที่ได้พรรณนาไว้ในหนังสือ The Mythical Man-Month (เดือนการทำงานที่เป็นตำนาน) การเพิ่มคนทำงานในโพรเจ็กต์ที่ล่าช้าอยู่แล้ว จะเพิ่มความเสี่ยงต่าง ๆ และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอื่น ๆ ที่มักจะทำโพรเจ็กต์ให้ล่าช้ายิ่งขึ้น ปรากฏการณ์นี้เรียกว่ากฏของบรุ๊ก (Brooks's law)
  • คำอธิบายอีกอย่างหนึ่งก็คือ การพยากรณ์ในแง่ดีเป็นความจำเป็นเพื่อให้ได้รับอนุมัติ คือ การวางแผนงานส่วนใหญ่อยู่ในสถานการณ์ที่ต้องมีการอนุมัติทางการเงิน และผู้ทำการวางแผนมักจะมีส่วนได้ส่วนเสียในการได้การอนุมัติ ซึ่งนำไปสู่แนวโน้มที่ผู้วางแผนจะทำการประเมินเวลาและแรงงานต่ำกว่าความเป็นจริงอย่างจงใจ เพราะว่า มันง่ายที่จะได้รับอภัยในภายหลังเพราะใช้เวลาเสียค่าใช้จ่ายมากเกินไป กว่าที่จะได้รับการอนุมัติถ้าการประเมินเวลาค่าใช้จ่ายตรงกับความจริง การประเมินต่ำอย่างจงใจเช่นนี้มีชื่อเรียกตามผู้เสนอว่า "กลยุทธ์การแถลงเท็จ" (strategic misrepresentation)
  • นอกจากคำอธิบายเชิงจิตวิทยาเหล่านี้ นักสถิติชาวเลบานอน-อเมริกันนาซซิม ทะเล็บ ยังได้อธิบายปรากฏการณ์นี้โดยเป็นปัญหาจากอสมมาตร (asymmetry) โดยธรรมชาติ และปัญหาในการขยายโครงงาน (scaling) คือ อสมมาตรเกิดขึ้น เพราะเหตุการณ์สุ่มที่เกิดขึ้นในระหว่างงาน ให้ผลลบเป็นความล่าช้าหรือค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ไม่เสมอกับผลบวก คือผลบวกที่เกิดขึ้นโดยสุ่มน้อยกว่า ส่วนปัญหาการขยายโครงงาน มาจากข้อสังเกตว่า อัตราข้อผิดพลาดโดยเทียบกับขนาดโครงงาน ไม่ได้เพิ่มขึ้นเป็นเชิงเส้น ซึ่งก็คือ เมื่อโครงงานใหญ่ขึ้น ระดับความผิดพลาดกลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่า เพราะโครงงานที่ใหญ่ขึ้นมีระดับประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อปัญหาที่ลดลง โดยเฉพาะในโครงงานที่ไม่สามารถแบ่งออกเป็นระยะ ๆ หรือเป็นภาค ๆ ซึ่งเมื่อเทียบกับโครงงานใหญ่ ๆ ในอดีตที่เคยทำสำเร็จได้ตามระยะเวลาที่ตั้งไว้ (เช่น ตึกเอ็มไพร์สเตตและสะพานโกลเดนเกตในสหรัฐอเมริกา และวังแก้วในสหราชอาณาจักร) ก็อาจทำให้สรุปได้ว่า มีความบกพร่องตามปกติวิสัยของระบบการวางแผนปัจจุบัน และโครงงานปัจจุบันมีความเปราะบางอะไรบางอย่างที่ยังไม่ชัดเจน (ยกตัวอย่างเช่น งานปัจจุบันมักจะมีการควบคุมโดยคอมพิวเตอร์เป็นบางส่วน และเป็นงานที่ไม่ได้ทำจำกัดเฉพาะที่ มีผลทำให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทำงานน้อยกว่า มีการควบคุมได้น้อยกว่า และต้องอาศัยระบบการขนส่งมากกว่า)

วิธีการแก้ไข

การแบ่งส่วน

ปรากฏการณ์การแบ่งส่วน (segmentation effect) เกิดขึ้นเมื่อเวลาที่ตั้งเพื่อทำงานงานหนึ่ง กลับน้อยกว่าเวลาที่ตั้งเพื่อทำงานย่อย ๆ ในงานนั้นรวมกันทั้งหมด ดังนั้น การวางแผนบวกเวลาที่พยากรณ์ว่าจะใช้ในการทำงานย่อย ๆ อาจจะใกล้กับเวลาที่ใช้จริง ๆ มากกว่า ในงานศึกษาปี ค.ศ. 2008 มีการทดสอบว่า ปรากฏการณ์นี้จะสามารถใช้ลดระดับเหตุผลวิบัติในการวางแผนหรือไม่ งานทดลองสามงานแสดงว่า สามารถมีอิทธิพลได้ แต่ว่าการแบ่งงานออกเป็นส่วน ๆ ต้องใช้ทรัพยากรทางความคิดมาก ซึ่งอาจเป็นไปไม่ได้ในสถานการณ์ทั่วไปของชีวิตประจำวัน

ตั้งใจไว้ว่าจะทำอะไร

การตั้งใจไว้ว่าจะปฏิบัติอย่างไร (Implementation intention) เป็นแผนงานที่เป็นรูปธรรม ที่ตั้งแผนไว้ว่าจะทำอะไร อย่างไร เมื่อไร และที่ไหน งานทดลองหลายงานได้แสดงแล้วว่า การตั้งใจไว้ว่าจะปฏิบัติอย่างไรช่วยเราให้ระลึกถึงเป้าหมายของงานโดยทั่วไปได้ดีขึ้น และช่วยให้เห็นผลที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งหมด แม้ว่า ในตอนต้นแล้ว วิธีเช่นนี้ทำการพยากรณ์ให้เป็นไปในแง่ดีเพิ่มขึ้นอีก แต่ว่า เชื่อกันว่า การตั้งใจไว้ว่าจะปฏิบัติอย่างไร "จะสร้างแรงจูงใจอย่างชัดแจ้ง" ทำให้เราทุ่มตัวเพื่อความสำเร็จของงาน ผลที่พบในงานทดลองก็คือ ผู้ที่มีการตั้งใจไว้ว่าจะปฏิบัติอย่างไร เริ่มทำงานก่อน มีเรื่องขัดจังหวะน้อยกว่า และการพยากรณ์ที่ตามมาภายหลังมีระดับมองในแง่ดีที่ลดลงเทียบกับผู้ที่ไม่มีการตั้งใจ งานทดลองพบด้วยว่า การลดเรื่องขัดจังหวะลงเป็นตัวสื่อระดับที่ลดลงของการมองในแง่ดี

ตัวอย่างสำคัญที่มีอยู่จริง ๆ

โรงอุปรากรซิดนีย์

โรงอุปรากรซิดนีย์ในประเทศออสเตรเลียเริ่มสร้างโดยวางแผนว่าจะเสร็จในปี ค.ศ. 1963 แต่จะเป็นอีกทศวรรษต่อมาในปี ค.ศ. 1973 ที่โรงอุปรากรที่ลดระดับโครงงานลง จึงจะเปิดให้ใช้งาน ค่าใช้จ่ายในเบื้องต้นประมาณไว้ที่ 7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แต่ความล่าช้าได้เพิ่มค่าใช้จ่ายไปที่ 103 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน

โครงการสร้างเครื่องบินรบยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน ใช้เวลา 6 ปีนานกว่าที่คาดไว้ โดยเกินงบประมาณไปถึง 8,000 ล้านยูโร

โครงการขุดอุโมงค์ใช้แทนอินเตอร์สเตต 93

โครงการขุดอุโมงค์ใช้แทนอินเตอร์สเตต 93 ในเมืองบอสตัน สหรัฐอเมริกา ทำเสร็จ 7 ปีหลังความคาดหมาย และเกินงบประมาณไป 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติเดนเวอร์ ในประเทศสหรัฐอเมริกาล่าช้าไป 16 เดือนโดยมีค่าใช้จ่ายทั้งหมด 4,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินงบประมาณไป 2,000 ล้านเหรียญ (71%)

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Pezzo, Mark V.; Litman, Jordan A.; Pezzo, Stephanie P. (2006). "On the distinction between yuppies and hippies: Individual differences in prediction biases for planning future tasks". Personality and Individual Differences. 41 (7): 1359–1371. doi:10.1016/j.paid.2006.03.029. ISSN 0191-8869.
  2. Kahneman, Daniel; Tversky, Amos (1979). "Intuitive prediction: biases and corrective procedures". TIMS Studies in Management Science. 12: 313–327.
  3. "Exploring the Planning Fallacy" (PDF). Journal of Personality and Social Psychology. 1994. สืบค้นเมื่อ 2014-11-07.
  4. "If you don't want to be late, enumerate: Unpacking Reduces the Planning Fallacy". Journal of Experimental Social Psychology. 2003-10-15. สืบค้นเมื่อ 2014-11-07.
  5. "Overcoming the Planning Fallacy Through Willpower". European Journal of Social Psychology. 2000-11. สืบค้นเมื่อ 2014-11-22. Check date values in: |date= (help)
  6. Buehler, Roger; Griffin, Dale, & Ross, Michael (2002). "Inside the planning fallacy: The causes and consequences of optimistic time predictions". In Thomas Gilovich, Dale Griffin, & Daniel Kahneman (Eds.), Heuristics and biases: The psychology of intuitive judgment, pp. 250-270. Cambridge, UK: Cambridge University Press.
  7. Buehler, Roger; Dale Griffin; Michael Ross (1995). "It's about time: Optimistic predictions in work and love". European Review of Social Psychology. American Psychological Association. 6: 1–32. doi:10.1080/14792779343000112.
  8. Lovallo, Dan; Daniel Kahneman (2003-07). "Delusions of Success: How Optimism Undermines Executives' Decisions". Harvard Business Review: 56–63. Check date values in: |date= (help)
  9. Buehler, Roger; Dale Griffin; Michael Ross (1994). "Exploring the "planning fallacy": Why people underestimate their task completion times". Journal of Personality and Social Psychology. American Psychological Association. 67 (3): 366–381. doi:10.1037/0022-3514.67.3.366.
  10. Buehler, Roger; Dale Griffin; Johanna Peetz (2010). "The Planning Fallacy: Cognitive, Motivational, and Social Origins" (PDF). Advances in Experimental Social Psychology. Academic Press. 43: 9. doi:10.1016/s0065-2601(10)43001-4. สืบค้นเมื่อ 2012-09-15.
  11. "The Hourglass Is Half Full or Half Empty: Temporal Framing and the Group Planning Fallacy". Group Dynamics: Theory, Research, and Practice. 2005-09. สืบค้นเมื่อ 2014-11-22. Check date values in: |date= (help)
  12. Stephanie P. Pezzoa. Mark V. Pezzob, and Eric R. Stone. "The social implications of planning: How public predictions bias future plans" Journal of Experimental Social Psychology, 2006, 221-227
  13. "Underestimating the Duration of Future Events: Memory Incorrectly Used or Memory Bias?". American Psychological Association. 2005-09. สืบค้นเมื่อ 2014-11-21. Check date values in: |date= (help)
  14. "Focalism: A source of durability bias in affective forecasting". American Psychological Association. 2000-05. สืบค้นเมื่อ 2014-11-21. Check date values in: |date= (help)
  15. Jones,, Larry R; Euske, Kenneth J (1991-10). "Strategic misrepresentation in budgeting". Journal of Public Administration Research and Theory. Oxford University Press. 1 (4): 437–460. สืบค้นเมื่อ 2013-03-11. Check date values in: |date= (help)CS1 maint: extra punctuation (link)
  16. Taleb, Nassem (2012-11-27). Antifragile: Things That Gain from Disorder. ISBN 9781400067824.
  17. "Allocating time to future tasks: The effect of task segmentation on planning fallacy bias". Memory & Cognition. 2008-06. สืบค้นเมื่อ 2014-11-07. Check date values in: |date= (help)
  18. "No Light at the End of his Tunnel: Boston's Central Artery/Third Harbor Tunnel Project". Project on Government Oversight. 1995-02-01. สืบค้นเมื่อ 2014-11-07.
  19. "Denver International Airport" (PDF). United States General Accounting Office. 1995-09. สืบค้นเมื่อ 2014-11-07. Check date values in: |date= (help)
  • Lev Virine and Michael Trumper. Project Decisions: The Art and Science, Vienna, VA: Management Concepts, 2008. ISBN 978-1-56726-217-9

แหล่งข้อมูลอื่น

  • The Planning Fallacy by Roger Buehler
  • Chapter One - The Planning Fallacy: Cognitive, Motivational, and Social Origins by Roger Buehler, Dale Griffin, and Johanna Peetz
  • If you don't want to be late, enumerate: Unpacking reduces the planning fallacy by Matt Evans and Justin Kruger
  • (200011/12)30:6%3C873::AID-EJSP22%3E3.0.CO%3B2-U&title=European+journal+of+social+psychology&volume=30&issue=6&date=2000&spage=873&issn=0046-2772 Overcoming the planning fallacy through willpower: effects of implementation intentions on actual and predicted task-completion times by Sander Koole
  • The Hourglass Is Half Full or Half Empty: Temporal Framing and the Group Planning Fallacy by Seth Carter, Edward Chang, Craig Parks, and Lawrence Sanna
  • Underestimating the Duration of Future Events: Memory Incorrectly Used or Memory Bias? by Nicholas Christenfeld, Craig McKenzie, and Michael Roy

เหต, ผลว, ในการวางแผน, งกฤษ, planning, fallacy, แดเน, ยล, คาฮ, นะม, และอะมอส, ทเวอร, สก, เป, นผ, เสนอในป, 1979, เป, นปรากฏการณ, การพยากรณ, ของเราว, จะใช, เวลานานเท, าไรในการทำงานหน, งให, เสร, จะปรากฏว, าม, ความเอนเอ, ยงโดยการมองในแง, optimistic, bias, อจะม, กา. ehtuphlwibtiinkarwangaephn xngkvs planning fallacy thiaedeniyl khahnamn rup aelaxamxs thewxrskiepnphuesnxinpi kh s 1979 1 2 epnpraktkarnthikarphyakrnkhxngerawa caichewlananethairinkarthanganhnungihesrc capraktwamikhwamexnexiyngodykarmxnginaengdi optimistic bias khuxcamikarpraeminewlataekinip epnpraktkarnthiekidkhunimwaeracaruhruximwa ngankhlay kninxditkhwamcringaelwichewlamakkwathiwangaephnaelapraeminiw 3 4 5 khwamexnexiyngnicaekidemuxpraeminngankhxngtwexngethann aetthakhnxunpraeminih kcamikhwamexnexiyngodymxnginaengray aelaewlathipraeminkcamakekinip 6 7 niyamkhxngkhwamexnexiyngkahndwa karphyakrnewlathicaichthanganpccubncatxngmxnginaengdikwakhwamechuxwangankhlay kninxditichewlananethair catxngmxnginaengdikwaewlathicatxngichinkarthangancring aedeniyl khahnamn rup idrbrangwlrangwlephuxralukthungxlefrd onebl sakhaesrsthsastr inpi kh s 2002 kbxamxs thewxrski epnnkcitwithyaphuesnxehtuphlwibtiinkarwangaephn inpi kh s 2003 khahnamnaelakhnaidesnxniyamthikhrxbkhlummakkhunwa epnaenwonmthicapraeminewla khaichcay aelakhwamesiyngsahrbnganthicathainxnakhttaekinip aelainkhnaediywkncapraeminpraoychnthiidsungekinip tamkhaniyamni ehtuphlwibtiinkarwangaephnmiphlimichepnkarichewlamakekinipethann aetcamiphlepnkhaichcayekinngbpraman aelapraoychnthinxykwathiwangaephniwdwy 8 enuxha 1 hlkthanechingprasbkarn 1 1 inradbbukhkhl 1 2 inradbklumbukhkhl 1 3 ngansuksaxun 2 khaxthibaythiesnx 3 withikaraekikh 3 1 karaebngswn 3 2 tngiciwwacathaxair 4 twxyangsakhythimixyucring 4 1 orngxuprakrsidniy 4 2 yuoriftetxr ithfun 4 3 okhrngkarkhudxuomngkhichaethnxinetxrsett 93 4 4 thaxakasyannanachatiednewxr 5 duephim 6 echingxrrthaelaxangxing 7 aehlngkhxmulxunhlkthanechingprasbkarn aekikhinradbbukhkhl aekikh nganwicypi kh s 1994 ihnksuksacitwithyapraeminewlathicaichthawithyaniphnthpi 4 sungodyechliyaelwmikarpraeminthi 33 9 wn emuxihpraemin thathukxyangepniptamthikhididdithukxyang kcaidkhaechliythi 27 4 wn hruxwa thathukxyangimidepniptamthikhadkhidiwely kcaidkhaechliythi 48 6 wn aetrayaewlaechliythiichinkarthangancring xyuthi 55 5 wn odyminksuksaephiyng 30 ethannthithanganwithyaniphnthesrcinrayaewlathitnphyakrniw 9 swnxikngansuksahnunginpi kh s 1995 ihnksuksapraeminewlathicaichinkarthaophrecktwichakar odyechphaaaelw mikarihnksuksapraeminrayaewlathitnkhidwa mioxkas 50 75 aela 99 thingannicathaesrc 7 phlpraktwa minksuksa 13 thanganesrcinchwngewlathitnpraeminwamioxkas 50 minksuksa 19 thanganesrcinchwngewlathitnpraeminwamioxkas 75 minksuksa 45 thanganesrcinchwngewlathitnpraeminwamioxkas 99 inngansarwcphuesiyphasichawaekhnadathiphimphinpi kh s 1997 mikarphbwaphuesiyphasisngfxrmphasithithaesrcxathityhnungsaykwathikhidiw phuesiyphasiimmikhwamkhidehnphid ekiywkbprawtikarsngfxrmphasithiphan makhxngtn aetwa mikhwamkhadhwngwacathaiderwkwakhrngkxn 10 nganwicyniaesdnglksnaechphaakhxngehtuphlwibtiinkarwangaephn khuxaemwaeracaekhaicwakarphyakrnewlainxditkhxngeramxnginaengdiekinip aetwaerakcayngyunynwa karphyakrnediywnicatrngkbkhwamcring 6 inradbklumbukhkhl aekikh nganwicy 3 nganinpi kh s 2005 aesdnghlkthanechingprasbkarnwa ehtuphlwibtinimiphltxkarphyakrnnganthithaepnklumechnediywkn nganwicyennkhwamsakhywa krxbewlaechnehluxewlaxikmak aelakhwamkhidthungkarthanganesrc miphltxkarihekidehtuphlwibtini 11 ngansuksaxun aekikh duinhwkhxtx ipkhaxthibaythiesnx aekikhkhahnamnaelathewxrskiodydngedimxthibayehtuphlwibtiniwa phuwangaephnephngkhwamsnicipthiphlthimikarmxnginaengdimakthisud odythiimidichprasbkarnkhxngtnxyangetmrupaebbephuxthicapramanewlathicaichthangankhlay kn 6 minkwichakarxiklumhnung buhelxraelakhna thixthibayehtuphlwibtiody wishful thinking khwamkhidiptamkhwamhwng phudxikxyanghnungkkhux erakhidwacathanganidesrcxyangrwderwaelaxyangngay ephraawa nnepnsingthieratxngkar 1 buhelxraelakhnayngesnxxikkhaxthibayhnungkhux eramikhwamexnexiyngrbichtnexng self serving bias emuxxthibaykarphyakrnewlaaelaphlnganthithaidcring khxngnganinxdit khuxeracaexaekhrditsahrbnganthilngexydwydi aetcaothskhwamlachatxpccyphaynxk dwywithini eracungldkhwamsakhykhxnghlkthaninxditthibngwangannikhwrcaichewlaethair 1 nganthdlxnghnungphbwa thaerathakarphyakrnaebbnirnam kcaimmikhwamexnexiyngodymxnginaengdi sungbxkepnnywa erathakarpraeminewlaaebbmxnginaengdikephuxcaiheradudikbphuxun 12 sungehmuxnkbaenwkhidbangxyangkhxng impression management theory thvsdibriharkhwamprathbic xikthvsdihnungesnxwa eraimsamarthralukthungewlathiichinkarthangankhlay kninxditidxyangthuktxng dngnn cungthaihekidkhwamexnexiynginkarphyakrnnganinpccubn 13 minganwicyhlaynganthiesnxwa klumthiephngelngkhwamkhidipthikarthangansaerc cathakarphyakrnodymxnginaengdisahrbngannn 11 mixikkhaxthibayhnung focalism thiesnxwa eramiehtuphlwibtiechnniephraaephngelngkhwamsnicipaetnganthicatha imidisicthungngankhlay kninxditthiichewlanankwathikhadiw 14 dngthiidphrrnnaiwinhnngsux The Mythical Man Month eduxnkarthanganthiepntanan karephimkhnthanganinophrecktthilachaxyuaelw caephimkhwamesiyngtang aelakhaichcayinkardaeninnganxun thimkcathaophrecktihlachayingkhun praktkarnnieriykwaktkhxngbruk Brooks s law khaxthibayxikxyanghnungkkhux karphyakrninaengdiepnkhwamcaepnephuxihidrbxnumti khux karwangaephnnganswnihyxyuinsthankarnthitxngmikarxnumtithangkarengin aelaphuthakarwangaephnmkcamiswnidswnesiyinkaridkarxnumti sungnaipsuaenwonmthiphuwangaephncathakarpraeminewlaaelaaerngngantakwakhwamepncringxyangcngic ephraawa mnngaythicaidrbxphyinphayhlngephraaichewlaesiykhaichcaymakekinip kwathicaidrbkarxnumtithakarpraeminewlakhaichcaytrngkbkhwamcring karpraemintaxyangcngicechnnimichuxeriyktamphuesnxwa klyuththkaraethlngethc strategic misrepresentation 15 nxkcakkhaxthibayechingcitwithyaehlani nksthitichawelbanxn xemriknnassim thaelb yngidxthibaypraktkarnniodyepnpyhacakxsmmatr asymmetry odythrrmchati aelapyhainkarkhyayokhrngngan scaling khux xsmmatrekidkhun ephraaehtukarnsumthiekidkhuninrahwangngan ihphllbepnkhwamlachahruxkhaichcaythiephimkhun imesmxkbphlbwk khuxphlbwkthiekidkhunodysumnxykwa swnpyhakarkhyayokhrngngan macakkhxsngektwa xtrakhxphidphladodyethiybkbkhnadokhrngngan imidephimkhunepnechingesn sungkkhux emuxokhrngnganihykhun radbkhwamphidphladklbephimkhuninxtrathisungkwa ephraaokhrngnganthiihykhunmiradbprasiththiphaphinkartxbsnxngtxpyhathildlng odyechphaainokhrngnganthiimsamarthaebngxxkepnraya hruxepnphakh sungemuxethiybkbokhrngnganihy inxditthiekhythasaercidtamrayaewlathitngiw echn tukexmiphrsettaelasaphanoklednektinshrthxemrika aelawngaekwinshrachxanackr kxacthaihsrupidwa mikhwambkphrxngtampktiwisykhxngrabbkarwangaephnpccubn aelaokhrngnganpccubnmikhwamepraabangxairbangxyangthiyngimchdecn yktwxyangechn nganpccubnmkcamikarkhwbkhumodykhxmphiwetxrepnbangswn aelaepnnganthiimidthacakdechphaathi miphlthaihmikhwamekhaicekiywkbkrabwnkarthangannxykwa mikarkhwbkhumidnxykwa aelatxngxasyrabbkarkhnsngmakkwa 16 withikaraekikh aekikhkaraebngswn aekikh praktkarnkaraebngswn segmentation effect ekidkhunemuxewlathitngephuxthangannganhnung klbnxykwaewlathitngephuxthanganyxy inngannnrwmknthnghmd dngnn karwangaephnbwkewlathiphyakrnwacaichinkarthanganyxy xaccaiklkbewlathiichcring makkwa inngansuksapi kh s 2008 mikarthdsxbwa praktkarnnicasamarthichldradbehtuphlwibtiinkarwangaephnhruxim nganthdlxngsamnganaesdngwa samarthmixiththiphlid aetwakaraebngnganxxkepnswn txngichthrphyakrthangkhwamkhidmak sungxacepnipimidinsthankarnthwipkhxngchiwitpracawn 17 tngiciwwacathaxair aekikh kartngiciwwacaptibtixyangir Implementation intention epnaephnnganthiepnrupthrrm thitngaephniwwacathaxair xyangir emuxir aelathiihn nganthdlxnghlaynganidaesdngaelwwa kartngiciwwacaptibtixyangirchwyeraihralukthungepahmaykhxngnganodythwipiddikhun aelachwyihehnphlthixaccaekidkhunthnghmd aemwa intxntnaelw withiechnnithakarphyakrnihepnipinaengdiephimkhunxik aetwa echuxknwa kartngiciwwacaptibtixyangir casrangaerngcungicxyangchdaecng thaiherathumtwephuxkhwamsaerckhxngngan phlthiphbinnganthdlxngkkhux phuthimikartngiciwwacaptibtixyangir erimthangankxn mieruxngkhdcnghwanxykwa aelakarphyakrnthitammaphayhlngmiradbmxnginaengdithildlngethiybkbphuthiimmikartngic nganthdlxngphbdwywa karlderuxngkhdcnghwalngepntwsuxradbthildlngkhxngkarmxnginaengdi 5 twxyangsakhythimixyucring aekikhorngxuprakrsidniy aekikh orngxuprakrsidniyinpraethsxxsetreliyerimsrangodywangaephnwacaesrcinpi kh s 1963 aetcaepnxikthswrrstxmainpi kh s 1973 thiorngxuprakrthildradbokhrngnganlng cungcaepidihichngan khaichcayinebuxngtnpramaniwthi 7 landxllarshrth aetkhwamlachaidephimkhaichcayipthi 103 landxllarshrth 11 yuoriftetxr ithfun aekikh okhrngkarsrangekhruxngbinrbyuoriftetxr ithfun ichewla 6 pinankwathikhadiw odyekinngbpramanipthung 8 000 lanyuor 11 okhrngkarkhudxuomngkhichaethnxinetxrsett 93 aekikh okhrngkarkhudxuomngkhichaethnxinetxrsett 93 inemuxngbxstn shrthxemrika thaesrc 7 pihlngkhwamkhadhmay aelaekinngbpramanip 12 000 landxllarshrth 18 thaxakasyannanachatiednewxr aekikh thaxakasyannanachatiednewxr inpraethsshrthxemrikalachaip 16 eduxnodymikhaichcaythnghmd 4 800 landxllarshrth ekinngbpramanip 2 000 lanehriyy 71 19 duephim aekikhkhwamexnexiyngodykarmxnginaengdiechingxrrthaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Pezzo Mark V Litman Jordan A Pezzo Stephanie P 2006 On the distinction between yuppies and hippies Individual differences in prediction biases for planning future tasks Personality and Individual Differences 41 7 1359 1371 doi 10 1016 j paid 2006 03 029 ISSN 0191 8869 Kahneman Daniel Tversky Amos 1979 Intuitive prediction biases and corrective procedures TIMS Studies in Management Science 12 313 327 Exploring the Planning Fallacy PDF Journal of Personality and Social Psychology 1994 subkhnemux 2014 11 07 If you don t want to be late enumerate Unpacking Reduces the Planning Fallacy Journal of Experimental Social Psychology 2003 10 15 subkhnemux 2014 11 07 5 0 5 1 Overcoming the Planning Fallacy Through Willpower European Journal of Social Psychology 2000 11 subkhnemux 2014 11 22 Check date values in date help 6 0 6 1 6 2 Buehler Roger Griffin Dale amp Ross Michael 2002 Inside the planning fallacy The causes and consequences of optimistic time predictions In Thomas Gilovich Dale Griffin amp Daniel Kahneman Eds Heuristics and biases The psychology of intuitive judgment pp 250 270 Cambridge UK Cambridge University Press 7 0 7 1 Buehler Roger Dale Griffin Michael Ross 1995 It s about time Optimistic predictions in work and love European Review of Social Psychology American Psychological Association 6 1 32 doi 10 1080 14792779343000112 Lovallo Dan Daniel Kahneman 2003 07 Delusions of Success How Optimism Undermines Executives Decisions Harvard Business Review 56 63 Check date values in date help Buehler Roger Dale Griffin Michael Ross 1994 Exploring the planning fallacy Why people underestimate their task completion times Journal of Personality and Social Psychology American Psychological Association 67 3 366 381 doi 10 1037 0022 3514 67 3 366 Buehler Roger Dale Griffin Johanna Peetz 2010 The Planning Fallacy Cognitive Motivational and Social Origins PDF Advances in Experimental Social Psychology Academic Press 43 9 doi 10 1016 s0065 2601 10 43001 4 subkhnemux 2012 09 15 11 0 11 1 11 2 11 3 The Hourglass Is Half Full or Half Empty Temporal Framing and the Group Planning Fallacy Group Dynamics Theory Research and Practice 2005 09 subkhnemux 2014 11 22 Check date values in date help Stephanie P Pezzoa Mark V Pezzob and Eric R Stone The social implications of planning How public predictions bias future plans Journal of Experimental Social Psychology 2006 221 227 Underestimating the Duration of Future Events Memory Incorrectly Used or Memory Bias American Psychological Association 2005 09 subkhnemux 2014 11 21 Check date values in date help Focalism A source of durability bias in affective forecasting American Psychological Association 2000 05 subkhnemux 2014 11 21 Check date values in date help Jones Larry R Euske Kenneth J 1991 10 Strategic misrepresentation in budgeting Journal of Public Administration Research and Theory Oxford University Press 1 4 437 460 subkhnemux 2013 03 11 Check date values in date help CS1 maint extra punctuation link Taleb Nassem 2012 11 27 Antifragile Things That Gain from Disorder ISBN 9781400067824 Allocating time to future tasks The effect of task segmentation on planning fallacy bias Memory amp Cognition 2008 06 subkhnemux 2014 11 07 Check date values in date help No Light at the End of his Tunnel Boston s Central Artery Third Harbor Tunnel Project Project on Government Oversight 1995 02 01 subkhnemux 2014 11 07 Denver International Airport PDF United States General Accounting Office 1995 09 subkhnemux 2014 11 07 Check date values in date help Lev Virine and Michael Trumper Project Decisions The Art and Science Vienna VA Management Concepts 2008 ISBN 978 1 56726 217 9aehlngkhxmulxun aekikhThe Planning Fallacy by Roger Buehler Chapter One The Planning Fallacy Cognitive Motivational and Social Origins by Roger Buehler Dale Griffin and Johanna Peetz If you don t want to be late enumerate Unpacking reduces the planning fallacy by Matt Evans and Justin Kruger 200011 12 30 6 3C873 AID EJSP22 3E3 0 CO 3B2 U amp title European journal of social psychology amp volume 30 amp issue 6 amp date 2000 amp spage 873 amp issn 0046 2772 Overcoming the planning fallacy through willpower effects of implementation intentions on actual and predicted task completion times by Sander Koole The Hourglass Is Half Full or Half Empty Temporal Framing and the Group Planning Fallacy by Seth Carter Edward Chang Craig Parks and Lawrence Sanna Underestimating the Duration of Future Events Memory Incorrectly Used or Memory Bias by Nicholas Christenfeld Craig McKenzie and Michael Royekhathungcak https th wikipedia org w index php title ehtuphlwibtiinkarwangaephn amp oldid 6472907, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม