fbpx
วิกิพีเดีย

ศักย์ตัวรับความรู้สึก

ศักย์ตัวรับความรู้สึก หรือ ศักย์เซลล์รับความรู้สึก (อังกฤษ: receptor potential) เป็นศักย์หลายค่า (graded potential) ประเภทหนึ่ง เป็นความต่างศักย์ข้ามเยื่อหุ้มเซลล์ (transmembrane potential difference) ของเซลล์รับความรู้สึก

ศักย์เซลล์รับความรู้สึกมักจะเกิดขึ้นโดยการถ่ายโอนความรู้สึก (sensory transduction) เป็นปรากฏการณ์การลดขั้ว (depolarization) ที่เกิดจากการไหลเข้าของกระแสไฟฟ้า ซึ่งมักจะลดระดับศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ (membrane potential) จนถึงขีดเปลี่ยนที่เริ่มการยิงศักยะงาน (action potential)

ตัวอย่างของศักย์เซลล์รับความรู้สึกพบได้ที่ปุ่มรส (taste bud) ของลิ้น เป็นที่ที่รสชาติแปลงเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าแล้วส่งไปที่สมอง เมื่อได้รับการกระตุ้นโดยรสชาติ ปุ่มรสก็จะก่อให้เกิดการปล่อยสารสื่อประสาทผ่านกระบวนการ exocytosis ใน ถุงไซแนปส์ (synaptic vesicle) ของเยื่อหุ้มเซลล์ก่อนไซแนปส์ (presynaptic) สารสื่อประสาทก็จะแพร่กระจายข้ามช่องไซแนปส์ (synaptic cleft) ไปยังเยื่อหุ้มเซลล์หลังไซแนปส์ (postsynaptic)

ดู

หมายเหตุและอ้างอิง

  1. ศักย์หลายค่า (graded potential) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพราะสภาวะความซึมผ่านได้ของเยื่อหุ้มเซลล์เปลี่ยนไปเพราะมีการเชื่อมต่อกับหน่วยรับความรู้สึก โดยทั่วๆไปเป็นเหตุการณ์ที่ลดระดับศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเกิดจากไอออนบวกที่ไหลเข้ามาภายในเซลล์ การที่เรียกว่า ศักย์หลายค่า เป็นเพราะว่า ระดับความเปลี่ยนแปลงของศักย์นั้นขึ้นอยู่กับระดับการไหลเข้าของไอออนบวก และช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงก็ขึ้นอยู่กับเวลาที่มีการไหลเข้าของไอออนบวก ความที่ค่าของศักย์และช่วงเวลาที่ศักย์เปลี่ยนไปโดยมีค่าต่างๆ กัน คือไม่แน่นอน ต่างจากศักยะงาน ซึ่งมีค่าการเปลี่ยนแปลงของศักย์ที่แน่นอนในช่วงเวลาที่แน่นอน
  2. Hille, Bertil (2001). "Chapter 8. Sensory transduction and excitable cells.". Ion Channels of Excitable Membranes (3rd ed.). Sunderland, Massachusetts: Sinauer. pp. 237–268. ISBN 0-87893-321-2.CS1 maint: ref=harv (link)

กย, วร, บความร, หร, กย, เซลล, บความร, งกฤษ, receptor, potential, เป, นศ, กย, หลายค, graded, potential, ประเภทหน, เป, นความต, างศ, กย, ามเย, อห, มเซลล, transmembrane, potential, difference, ของเซลล, บความร, กย, เซลล, บความร, กม, กจะเก, ดข, นโดยการถ, ายโอนความร,. skytwrbkhwamrusuk hrux skyesllrbkhwamrusuk xngkvs receptor potential epnskyhlaykha graded potential 1 praephthhnung epnkhwamtangskykhameyuxhumesll transmembrane potential difference khxngesllrbkhwamrusuk 2 skyesllrbkhwamrusukmkcaekidkhunodykarthayoxnkhwamrusuk sensory transduction epnpraktkarnkarldkhw depolarization thiekidcakkarihlekhakhxngkraaesiffa sungmkcaldradbskyeyuxhumesll membrane potential cnthungkhidepliynthierimkaryingskyangan action potential twxyangkhxngskyesllrbkhwamrusukphbidthipumrs taste bud khxnglin epnthithirschatiaeplngepliynepnsyyaniffaaelwsngipthismxng emuxidrbkarkratunodyrschati pumrskcakxihekidkarplxysarsuxprasathphankrabwnkar exocytosis in thungisaenps synaptic vesicle khxngeyuxhumesllkxnisaenps presynaptic sarsuxprasathkcaaephrkracaykhamchxngisaenps synaptic cleft ipyngeyuxhumesllhlngisaenps postsynaptic du aekikhskyphk resting potential skyangan action potential twrbkhwamrusuk receptor cell hmayehtuaelaxangxing aekikh skyhlaykha graded potential epnehtukarnthiekidkhunephraasphawakhwamsumphanidkhxngeyuxhumesllepliynipephraamikarechuxmtxkbhnwyrbkhwamrusuk odythwipepnehtukarnthildradbskyeyuxhumesll sungekidcakixxxnbwkthiihlekhamaphayinesll karthieriykwa skyhlaykha epnephraawa radbkhwamepliynaeplngkhxngskynnkhunxyukbradbkarihlekhakhxngixxxnbwk aelachwngewlakhxngkarepliynaeplngkkhunxyukbewlathimikarihlekhakhxngixxxnbwk khwamthikhakhxngskyaelachwngewlathiskyepliynipodymikhatang kn khuximaennxn tangcakskyangan sungmikhakarepliynaeplngkhxngskythiaennxninchwngewlathiaennxn Hille Bertil 2001 Chapter 8 Sensory transduction and excitable cells Ion Channels of Excitable Membranes 3rd ed Sunderland Massachusetts Sinauer pp 237 268 ISBN 0 87893 321 2 CS1 maint ref harv link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title skytwrbkhwamrusuk amp oldid 5226762, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม