ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บาหลี หรือ บาลี (อินโดนีเซีย: Bali; บาหลี: ᬩᬮᬶ) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลักคือเด็นปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี
จังหวัดบาหลี Provinsi Bali (อินโดนีเซีย) | |
---|---|
ธง ตรา | |
สมญา: , เกาะแห่งสันติ, รุ่งอรุณของโลก, เกาะฮินดู, เกาะแห่งความรัก | |
คำขวัญ: Bali Dwipa Jaya () (เกาะบาหลีมีชัย) | |
ที่ตั้งจังหวัดบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย | |
พิกัด: 8°39′S 115°13′E / 8.650°S 115.217°E | |
ประเทศ | อินโดนีเซีย |
เด็นปาซาร์ | |
การปกครอง | |
• ผู้ว่าการ | อี มาเด มังกู ปัซตีกา () |
• รองผู้ว่าการ | อี เกอตุต ซูดีเกอร์ตา |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 5,780 ตร.กม. (2,230 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2014) | |
• ทั้งหมด | 4,225,384 คน |
• ความหนาแน่น | 730 คน/ตร.กม. (1,900 คน/ตร.ไมล์) |
ประชากร | |
• ชาติพันธุ์ | บาหลี (90%), ชวา (7%), บาหลีอากา (1%), (1%) |
• ศาสนา | ฮินดู (83.5%), อิสลาม (13.4%), คริสต์ (2.5%), พุทธ (0.5%) |
• ภาษา | อินโดนีเซีย (ราชการ), บาหลี, |
เขตเวลา | () |
ทะเบียนพาหนะ | |
ดัชนีพัฒนาการมนุษย์ | 0.724 (สูง) |
อันดับ | อันดับที่ 5 จาก 34 จังหวัดของอินโดนีเซีย (2014) |
เว็บไซต์ | www |
ประวัติศาสตร์
ยุคเริ่มต้น
บาหลีเป็นถิ่นที่อยู่ของชนเผ่าออสโตรนีเชียน (Austronesian) ที่อพยพมาจากถิ่นฐานเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย โดยใช้เส้นทางเดินเรือผ่านภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล วัฒนธรรมและภาษาของชาวบาหลีจึงเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิดกับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณหมู่เกาะอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และโอเชียเนีย
มีการขุดพบเครื่องมือที่ทำจากหินมีอายุกว่า 3,000 ปีได้ที่หมู่บ้านเจอกิก (Cekik) ที่อยู่ทางตะวันตก รวมทั้งที่ตั้งถิ่นฐานและหลุมฝังศพของมนุษย์ในยุคหินใหม่ (Neolithic) ถึงยุคสำริด และโครงกระดูกมนุษย์โบราณอายุกว่า 4,000 ปี จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ซีตุซปูร์บาลากา (Museum Situs Purbalaka) ที่เมืองกีลีมานุก์ (Gilimanuk) อีกด้วย ประวัติของบาหลีก่อนการเผยแผ่ศาสนาฮินดูเข้ามายังหมู่เกาะอินโดนีเซียโดยพ่อค้าชาวอินเดียในช่วงศตวรรษที่ 7 เป็นที่รู้กันน้อยมาก อย่างไรก็ตามบาหลีเริ่มเป็นเมืองค้าขายที่คึกคักตั้งแต่ 200 ปีก่อนคริสตกาล การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับบาหลีที่เป็นลายลักษณ์อักษร ปรากฏในศิลาจารึกที่ขุดค้นพบใกล้หาดซานูร์ (Sanur) รวมทั้งจารึกบนแผ่นโลหะ เทวรูปสำริด และหินสลักที่แสดงถึงอิทธิพลของศาสนาพุทธและฮินดู บริเวณรอบ ๆ ภูเขากูนุงกาวี (Gunung Kawi) และถ้ำโกอากาจะฮ์ (Goa Gajah)
อิทธิพลของศาสนาฮินดู
ในช่วงศตวรรษที่ 9 สังคมของชาวบาหลีเริ่มเฟื่องฟูขึ้น ราว ค.ศ. 900 ชาวบาหลีเริ่มพัฒนาระบบชลประทาน การปลูกข้าว รวมทั้งวัฒนธรรมและศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง หลักฐานเกี่ยวกับราชวงศ์บาหลีเริ่มปรากฏในเวลานั้นเช่นกัน โดยมีภาพแกะสลักหินแสดงพิธีอภิเษกสมรสของกษัตริย์บาหลีทรงพระนามว่าพระเจ้าอุทยานา (Udayana) กับ เจ้าหญิงชวาตะวันออก ทรงพระนามว่าเจ้าหญิงมเหนทราตตะ (Mahendratta) ที่วัด (Pura Korah Tegipan) ที่อยู่บริเวณภูเขากูนุงบาตูร์ (Gunung Batur) ทั้งสองพระองค์มีพระราชโอรสทรงพระนามว่า เจ้าชายไอร์ลังกา (Airlangga) ประสูติเมื่อ ค.ศ. 991 ในเวลาเดียวกัน ชวาเริ่มแผ่อิทธิพลเข้ามายังบาหลี เมื่อพระองค์พระชันษาได้ 16 ปี ทรงหนีไปยังชวาตะวันตกและทรงได้รับการสนับสนุนจากชาวชวาในเวลาต่อมา เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ชวา จึงทรงรวมบาหลีและชวาให้เป็นปึกแผ่นจนกระทั่งเสด็จสวรรคต เมื่อ ค.ศ. 1049
ภาษาชวาที่เรียกว่า (Kawi) ได้นำมาใช้ในหมู่ราชวงศ์บาหลี หลักฐานความสัมพันธ์ระหว่างบาหลีกับเกาะชวาในช่วงศตวรรษที่ 11 อยู่ที่ ใกล้กับ (Tampaksiring) หลังจากนั้นบาหลีอยู่ในสถานภาพกึ่งเอกราช จนกระทั่ง ค.ศ. 1284 พระเจ้าเกอรตานาการาหรือเกียรตินคร (Kertanagara) กษัตริย์ชวาแห่งอาณาจักรสิงหะส่าหรี (Singasari) ได้รุกรานบาหลี แต่หลังจากนั้น 8 ปี อาณาจักรสิงหะส่าหรีล่มสลาย พระราชโอรสของพระเจ้าเกอรตานาการาพระนามว่าเจ้าชายวิจายาหรือวิชัย (Vijaya) ได้ตั้งอาณาจักรมัชปาหิต (Majapahit) ซึ่งนับถือศาสนาฮินดูขึ้น ช่วงเวลานี้เอง บาหลีถือโอกาสแยกตัวเป็นเอกราช ปกครองโดยราชวงศ์ปาเจ็ง (Pajeng) มีศูนย์กลางใกล้กับเมืองอูบุด (Ubud) แต่กะจะห์ มาดา (Gajah Mada) เสนาบดีแห่งอาณาจักรมัชปาหิตเข้ารุกรานบาหลีในรัชสมัยของพระเจ้าดาเล็ม เบอเดาลู (Dalem Bedaulu) แห่งราชวงศ์ปาเจ็งในปี ค.ศ. 1343 และได้รวมบาหลีเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมัชปาหิต
หลังจากนั้นบาหลีได้ย้ายศูนย์กลางไปอยู่ที่เกลเกล (Gelgel) ใกล้กับเมืองเสมาระปุระ (Semarapura) ในช่วงปลายศตวรรษที่ 14 โดยมีกษัตริย์ปกครองซึ่งชาวบาหลีเรียกว่าเทวะ อากุง (Dewa Agung) พระนามว่าพระเจ้าบาตูร์ เร็งก็อง (Batur Renggong) ครองราชย์ในปีค.ศ.1550 ก่อนหน้านั้นไม่นานอาณาจักรมัชปาหิตได้ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1515 ลงจากการขยายอิทธิพลของชาวมุสลิม บรรดานักปราชญ์ซึ่งหนึ่งในนั้นคือนักบวชฮินดูชื่อนิราร์ธา (Nirartha) ได้อพยพข้ามมายังบาหลี โดยนำศิลปวัตถุ ช่างศิลป์ นางรำ นักดนตรี และนักแสดงประจำราชสำนักมัชปาหิตเข้ามาด้วย และได้สร้างวัดปูราลูฮูร์อูลูวาตู (Pura Luhur Ulu Watu) และวัดปูราตานะห์ลต (Pura Tanah Lot) ขึ้น การอพยพครั้งใหญ่ของชาวฮินดูจากชวาได้สิ้นสุดลงราวศตวรรษที่ 16 การอพยพครั้งนี้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ต่อสังคมบาหลี สังคมฮินดูในบาหลีเริ่มซับซ้อนขึ้น มีการนำระบบวรรณะเข้ามาใช้ ชาวบาหลีที่อยู่ดั้งเดิมจึงอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณภูเขาทางตอนใน ซึงปัจจุบันนี้ผู้สืบเชื้อสายของคนเหล่านี้เรียกว่าบาหลีอากา (Bali Aga) หรือบาหลีมูลา (Bali Mula) ยังคงอาศัยอยู่ที่หมู่บ้าน (Tenganan) ใกล้กับ (Pura Dasa) และหมู่บ้านตรูญัน (Trunyan) บริเวณทะเลสาบบาตูร์
การยึดครองของฮอลันดา
ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เดินทางมายังบาหลีคือชาวฮอลันดา ซึ่งนำโดยกัปตันโกเลอนียึส เดอ เฮาต์มัน (Colenius de Houtman) เมื่อค.ศ.1597 และเริ่มเจริญความสัมพันธ์กับราชวงค์บาหลี ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 อีกทางฝากหนึงของบาหลี ชาวฮอลันดาได้ทำสนธิสัญญาการค้าหลายฉบับกับชวา และเส้นทางการค้าเครื่องเทศส่วนใหญ่ได้ตกอยู่ในความควบคุมของชาวฮอลันดาแล้ว เมื่อค.ศ.1710 ศูนย์กลางของบาหลีได้ย้ายไปอยู่ที่กลุงกุง (Klungkung) ปัจจุบันคือเมืองเสมาระปุระ เป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ชนชั้นปกครองในบาหลีเริ่มแตกแยกและแบ่งออกเป็นอาณาจักรย่อย ๆ ส่วนชาวฮอลันดาเริ่มเข้ามามีอิทธิพลโดยใช้วิธีแบ่งแยกและปกครอง
การเข้าควบคุมบาหลีทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจเริ่มต้นเมื่อราวค.ศ.1840 โดยในปี ค.ศ. 1846 ชาวฮอลันดาได้อ้างการกู้เรือจมบริเวณชายฝั้งทางด้านเหนือ ใกล้กับเมืองสิงคราช (Singaraja) ในปัจจุบัน นำกำลังทหารเข้ามาและยึดอาณาจักรบูเลเล็ง (Buleleng) และเจ็มบรานา (Jembrana) ไว้ได้ เมื่อยึดอาณาจักรทางตอนเหนือได้แล้ว จึงเริ่มเข้ารุกรานอาณาจักรทางตอนใต้ ในปี ค.ศ. 1904 ฮอลันดาได้อ้างการร่วมกู้ซากเรือจีนนอกชายฝั่งหาดซานูร์ เรียกร้องให้อาณาจักรบาดุงจ่ายค่าชดเชยเป็นจำนวนเงิน 3,000 เหรียญเงิน แต่ได้รับการปฏิเสธ
ในปี ค.ศ. 1906 ฮอลันดาจึงได้ยกกำลังทหารเข้ามาบริเวณหาดซานูร์ โดย 4 วันหลังจากนั้น ได้บุกเข้ามาถึงชานเมืองเด็นปาซาร์ (Denpasar) วันที่ 20 กันยายน ค.ศ.1906 ฮอลันดาจึงเริ่มยิงถล่มเมืองเด็นปาซาร์ แต่ฝ่ายบาดุงใช้วิธีการพลีชีพของนักรบที่เรียกว่าปูปูตัน (Puputan) โดยบรรดาเชื้อพระวงค์ทรงเผาพระราชวังและแต่งพระองค์เต็มพระยศพร้อมทรงกริช ทรงดำเนินพร้อมกับเหล่านักบวชและข้าราชบริพารเข้าต่อสู้ แต่ทั้งหมดไม่ยอมจำนน กลับแทงตัวตายด้วยกริชแทน เหตุการณ์ในครั้งนั้นมีชาวบาหลีเสียชีวิตประมาณ 4,000 คน เมื่อยึดอาณาจักรบาดุงได้แล้ว ฮอลันดาจึงเข้ายึดอาณาจักรตาบานัน (Tabanan) จับกษัตริย์เป็นเชลย แต่ทรงไม่ยอมจำนนและทรงกระทำอัตนิวิบาตกรรม จากนั้นฮอลันดาได้เข้ายึดครองอาณาจักรการังอะเซ็ม (Karangasem) และเกียญาร์ (Gianyar) แต่อนุญาตให้ราชวงค์ยังทรงปกครองได้ต่อไป ส่วนอาณาจักรอื่น ๆ ฮอลันดาได้ขับไล่เจ้าเมืองออกทั้งหมด
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1908 เมื่อฮอลันดาบุกยึดอาณาจักรเสมาระปุระ เช่นเดียวกับกษัตริย์ตาบานัน กษัตริย์เสมาระปุระทรงไม่ยอมจำนนและทรงกระทำอัตนิวิบาตกรรมเช่นกัน การบุกยึดครั้งนั้นทำให้พระราชวังตามันเกอร์ตาโกซา (Taman Gertha Gosa) ได้รับความเสียหายเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลให้ตั้งแต่ ค.ศ.1911 ฮอลันดาได้ครอบครองดินแดนของบาหลีได้ทั้งหมดและได้รวมบาหลีเข้าเป็นส่วนหนึงของอินเดียตะวันออกของฮอลันดา (Dutch East Indies)
สงครามโลกครั้งที่สองและการประกาศเอกราช
กองทัพญี่ปุ่นได้ยกพลขึ้นบกที่หาดซานูร์ ในปี ค.ศ. 1942 และได้ตั้งกองบัญชาการที่เมืองเด็นปาซาร์ และเมืองสิงคราช และขับไล่ชาวฮอลันดาออกไป เมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่สองเมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1945 เมื่อฮอลันดาต้องการกลับเข้ามายึดครองบาหลีอีก ขบวนการต่อต้านฮอลันดาเริ่มก่อตั้งขึ้น วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1945 นายซูการ์โน (Soekarno) ถือโอกาสประกาศเอกราชแก่ดินแดนที่เคยอยู่ภายใต้การยึดครองของฮอลันดาทั้งหมดและก่อตั้งสาธารณรัฐอินโดนีเซียขึ้น แต่ฝ่ายฮอลันดาไม่รับรอง ขบวนการต่อต้านฮอลันดาในบาหลีชื่อเต็นตรา เกออามันอัน รักยัต (Tentra Keamanan Rakyat) หรือกองกำลังความมั่นคงแห่งประชาชน (People's Security Force) ลุกฮือขึ้นต่อต้านฮอลันดาที่เมืองมาร์กา (Marga) เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1946 นำโดยอี กุซตี งูระฮ์ ไร (I Gusti Ngurah Rai) โดยเป็นการต่อสู้เพื่อพลีชีพของนักรบหรือปูปูตันอีกครั้ง ในที่สุดฮอลันดาประกาศรับรองเอกราชของอินโดนีเซียเมื่อปีค.ศ.1949 และบาหลีจึงเป็นส่วนหนึ่งของอินโดนีเซียในปัจจุบัน
การปกครอง
หลังจากได้รับเอกราช บาหลีได้รวมเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนูซาเติงการา (Nusa Tenggara) จนกระทั่ง ค.ศ. 1958 รัฐบาลกลางได้ประกาศแยกบาหลีออกเป็นจังหวัดหนึ่งของอินโดนีเซีย
พื้นที่จังหวัดบาหลีแบ่งออกเป็น 8 อำเภอหรือกาบูปาเต็น 1 นครหรือโกตา และ 57 ตำบลหรือเกอจามาตัน
- อำเภอ
- อำเภอกลุงกุง (Kabupaten Klungkung)
- อำเภอการังอาเซิม (Kabupaten Karangasem)
- อำเภอกียาญาร์ (Kabupaten Gianyar)
- (Kabupaten Jembrana)
- อำเภอตาบานัน (Kabupaten Tabanan)
- อำเภอบังลี (Kabupaten Bangli)
- อำเภอบาดุง (Kabupaten Badung)
- อำเภอบูเลเล็ง (Kabupaten Buleleng)
- นคร
- เด็นปาซาร์ (Denpasar; เมืองหลัก)
ประชากร
เชื้อชาติ เป็นชาวบาหลีร้อยละ 89 ที่เหลือเป็นชาวชวาและอื่น ๆ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดูร้อยละ 93.18, ศาสนาอิสลามร้อยละ 4.79, ศาสนาคริสต์ร้อยละ 1.38, ศาสนาพุทธร้อยละ 0.64
เศรษฐกิจ
ในอดีต สังคมบาหลีเป็นสังคมเกษตรกรรม เป็นแหล่งรายได้สำคัญของจังหวัด จนกระทั่งราวคริสต์ทศวรรษที่ 1970 การท่องเที่ยวเริ่มกลายเป็นแหล่งรายได้สำคัญ จนในปัจจุบันการท่องเที่ยวเป็นแหล่งรายได้เดียวของจังหวัด ซึ่งมากพอที่ทำให้บาหลีกลายเป็นจังหวัดที่มั่งคั่งที่สุดจังหวัดหนึ่งของประเทศ ในปี 2003 เศรษฐกิจของบาหลีคิดเป็นภาคการท่องเที่ยวมากถึง 80% ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งหมด อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจของบาหลีซบเซาลงมากจากเหตุก่อการร้ายรุนแรงหลายครั้ง ในช่วงปี 2002 - 2005 หลังเหตุระเบิดในบาหลี พ.ศ. 2545 และ บาหลีในปัจจุบันสามารถฟื้นตัวและเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางสำคัญด้านการท่องเที่ยวของโลก
วัฒนธรรม
ส่วนใหญ่ชาวบาหลีได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียเป็นอันมาก เช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาพุทธ รามายณะ ตลอดจนอักษร ภาษา ฯลฯ นั้นล้วนมาจากอินเดีย นำมารวมกับวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น และนำใช้อย่างแพร่หลาย
ศาสนาฮินดูแบบบาหลี
บนเกาะบาหลีมีผู้นับถือศาสนาฮินดูเป็นหลัก แตกต่างจากบริเวณอื่นของประเทศที่มีผู้นับถือศาสนาอิสลามเป็นหลัก ศาสนาฮินดูแบบบาหลีได้รับอิทธิพลจากความเชื่อพื้นเมือง วิญญาณนิยม (แอนิมิซึม) และศาสนาพุทธ ความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักที่พบได้ทั่วไปจากอนุทวีปอินเดียคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดูแบบบาหลีมีเทพเจ้าสูงสุดพระองค์เดียว คล้ายกับแนวคิดของคริสต์ศาสนา คือเทพอจินไตย ส่วนเทพฮินดูองค์อื่น ๆ และเทพพื้นเมือง ก็ยังคงได้รับการเคารพอย่างทั่วไปเช่นกัน
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมบาหลี เป็นสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของชาวบาหลีซึ่งพบได้ทั่วไปบนเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่มีความเก่าแก่หลายศตวรรษ ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมบาหลี โดยเฉพาะศาสนาฮินดูแบบบาหลี แนวคิดจากเกาะชวา และความเชื่อพื้นเมืองของชาวบาหลีดั้งเดิม ตัวอย่างที่สำคัญ เช่น รูมะฮ์อาดัต (บ้านพื้นเมือง) ที่เรียกว่า , ปูรา (โบสถ์พราหมณ์แบบบาหลี), (ศาลา) และ หอเมรู (หอคอยคล้ายเจดีย์) เป็นต้น
สถาปัตยกรรมบาหลีมักยึดตามหลักที่เรียกว่า ไตรแมนเดลา คือการแบ่งอาณาเขตเป็นสามอาณาเขต (แมนเดลา) ลักษณะนี้พบได้ทั่วไปในสถาปัตยกรรมของปูรา แต่ละแมนเดลาจะมีประตูกั้นอาณาเขต ซึ่งแบ่งเป็นสองประเภท ได้แก่ จันดีเบินตาร์ ซึ่งแบ่งแมนเดลาแรกและกลางออกจากกัน และ แบ่งแมนเดลากลางและชั้นในออกจากกัน
อ้างอิง
- "Bali to Host 2013 Miss World Pageant". Jakarta Globe. 26 เมษายน 2012. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-12. สืบค้นเมื่อ 30 December 2012.
- Suryadinata, Leo; Arifin, Evi Nurvidya & Ananta, Aris (2003). Indonesia's Population: Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape. Institute of Southeast Asian Studies. ISBN .
- Penduduk Menurut Wilayah dan Agama yang Dianut (2010 Census). bps.go.id
- Hinzler, Heidi. (1995). Artifacts and early foreign influences. In Eric Oey (Ed.), Bali (pp. 24-25). Singapore: Periplus Editions. .
- Taylor, Jean Gelman. (2003). Indonesia: Peoples and histories. New Haven and London: Yale University Press. .
- Op. cit., Hinzler, Heidi. (1995), pp. 24-25.
- Ver Berkmoes, Ryan, Skolnick, Adam & Caroll, Marian. (2009). Lonely planet: Bali & Lombok. (12th ed.). Melbourne: Lonely Planet. .
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-06. สืบค้นเมื่อ 2009-06-24.
- History for Bali
- Vickers, Adrian. (1995). In Eric Oey (Ed.), Bali (pp. 26-35). Singapore: Periplus Editions. .
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-10. สืบค้นเมื่อ 2009-07-02.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-04. สืบค้นเมื่อ 2009-06-30.
- Statistik Indonesia 2021 (ภาษาอินโดนีเซีย). สำนักงานสถิติแห่งประเทศอินโดนีเซีย. 2021-02-26. pp. 45–47. สืบค้นเมื่อ 2021-12-05.
- "Peraturan Kepala Badan Pusat Statistik Nomor 120 Tahun 2020 Tentang Klasifikasi Desa Perkotaan dan Perdesaan di Indonesia Tahun 2020" (PDF) (ภาษาอินโดนีเซีย). สำนักงานสถิติแห่งประเทศอินโดนีเซีย. สืบค้นเมื่อ 2021-12-05.
- Brown, Iem (2004-06-17). The Territories of Indonesia (ภาษาอังกฤษ). Routledge. p. 149. ISBN .
- Desperately Seeking Survival 2013-08-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Time. 25 November 2002.
- . Bali Paradise online. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-05. สืบค้นเมื่อ December 9, 2013.
บรรณานุกรม
- Andy Barski, Albert Beaucort; Bruce Carpenter, Barski (2007). Bali and Lombok. Dorling Kindersley, London. ISBN .
- Haer, Debbie Guthrie; & Toh, Irene (2001). Bali, a traveller's companion. Editions Didier Millet. ISBN .
- Gold, Lisa (2005). Music in Bali: Experiencing Music, Expressing Culture. New York: . ISBN .
- Taylor, Jean Gelman (2003). Indonesia: Peoples and Histories. New Haven and London: Yale University Press. ISBN .
- Pringle, Robert (2004). Bali: Indonesia's Hindu Realm; A short history of. Short History of Asia Series. . ISBN .
อ่านเพิ่ม
- Black, Robert (2012). Bali Fungus. Snake Scorpion Press. ISBN .
- Copeland, Jonathan (2010). Secrets of Bali: Fresh Light on the Morning of the World. Orchid Press. ISBN .
- Cotterell, Arthur (2015). Bali: A cultural history, Signal Books ISBN
- (1946). Island of Bali. ISBN
- Klemen, L (1999–2000). "Forgotten Campaign: The Dutch East Indies Campaign 1941–1942". จากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2011.
- (2003). A House in Bali. Tuttle Publishing; New edition, 2000 (first published in 1946 by J. Day Co). ISBN .
- Shavit, David (2006). Bali and the Tourist Industry: A History, 1906–1942. McFarland & Co Inc. ISBN .
- Vickers, Adrian (1994). Travelling to Bali: Four Hundred Years of Journeys. Oxford University Press. ISBN .
- Vickers, Adrian (2012). Bali: A Paradise Created. Tuttle. ISBN .
- Whitten, Anthony J.; Roehayat Emon Soeriaatmadja; Suraya A. Afiff (1997). The Ecology of Java and Bali. Hong Kong: Periplus Editions Ltd. ISBN .
- Wijaya, Made (2003). Architecture of Bali: A Source Book of Traditional and Modern Forms. Thames & Hudson Ltd. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud bahli hrux bali xinodniesiy Bali bahli ᬩᬮ epn 1 in 34 cnghwdkhxngpraethsxinodniesiy emuxnghlkkhuxednpasar phunthithnghmd 5 634 40 tarangkiolemtr miprachakrthngsin 3 422 600 khn khwamhnaaennkhxngprachakr 607 khn tarangkiolemtr phasathiichkhuxphasaxinodniesiyaelaphasabahlicnghwdbahli Provinsi Bali xinodniesiy cnghwdwdpuratanahltthngtrasmya ekaaaehngsnti rungxrunkhxngolk ekaahindu ekaaaehngkhwamrkkhakhwy Bali Dwipa Jaya ekaabahlimichy thitngcnghwdbahliinpraethsxinodniesiyphikd 8 39 S 115 13 E 8 650 S 115 217 E 8 650 115 217praeths xinodniesiyednpasarkarpkkhrxng phuwakarxi maed mngku pstika rxngphuwakarxi ekxtut sudiekxrtaphunthi thnghmd5 780 tr km 2 230 tr iml prachakr 2014 thnghmd4 225 384 khn khwamhnaaenn730 khn tr km 1 900 khn tr iml prachakr chatiphnthubahli 90 chwa 7 bahlixaka 1 1 sasnahindu 83 5 xislam 13 4 khrist 2 5 phuthth 0 5 phasaxinodniesiy rachkar bahli ekhtewla thaebiynphahnadchniphthnakarmnusy0 724 sung xndbxndbthi 5 cak 34 cnghwdkhxngxinodniesiy 2014 ewbistwww wbr baliprov wbr go wbr idprawtisastryukherimtn hinslkbriewnphuekhakunung khawi bahliepnthinthixyukhxngchnephaxxsotrniechiyn Austronesian thixphyphmacakthinthanediminexechiytawnxxkechiyngitaelaoxechiyeniy odyichesnthangedineruxphanphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit emuxpraman 2 000 pikxnkhristkal wthnthrrmaelaphasakhxngchawbahlicungekiywkhxngknxyangiklchidkbphukhnthixasyxyubriewnhmuekaaxinodniesiy maelesiy filippins aelaoxechiyeniy mikarkhudphbekhruxngmuxthithacakhinmixayukwa 3 000 piidthihmubanecxkik Cekik thixyuthangtawntk rwmthngthitngthinthanaelahlumfngsphkhxngmnusyinyukhhinihm Neolithic thungyukhsarid aelaokhrngkradukmnusyobranxayukwa 4 000 pi cdaesdngxyuthiphiphithphnthsituspurbalaka Museum Situs Purbalaka thiemuxngkilimanuk Gilimanuk xikdwy prawtikhxngbahlikxnkarephyaephsasnahinduekhamaynghmuekaaxinodniesiyodyphxkhachawxinediyinchwngstwrrsthi 7 epnthiruknnxymak xyangirktambahlierimepnemuxngkhakhaythikhukkhktngaet 200 pikxnkhristkal karbnthukeruxngrawekiywkbbahlithiepnlaylksnxksr praktinsilacarukthikhudkhnphbiklhadsanur Sanur rwmthngcarukbnaephnolha ethwrupsarid aelahinslkthiaesdngthungxiththiphlkhxngsasnaphuththaelahindu briewnrxb phuekhakunungkawi Gunung Kawi aelathaokxakacah Goa Gajah xiththiphlkhxngsasnahindu puratanahlt inchwngstwrrsthi 9 sngkhmkhxngchawbahlierimefuxngfukhun raw kh s 900 chawbahlierimphthnarabbchlprathan karplukkhaw rwmthngwthnthrrmaelasilpathiepnexklksnkhxngtnexng hlkthanekiywkbrachwngsbahlierimpraktinewlannechnkn odymiphaphaekaslkhinaesdngphithixphiesksmrskhxngkstriybahlithrngphranamwaphraecaxuthyana Udayana kb ecahyingchwatawnxxk thrngphranamwaecahyingmehnthratta Mahendratta thiwd Pura Korah Tegipan thixyubriewnphuekhakunungbatur Gunung Batur thngsxngphraxngkhmiphrarachoxrsthrngphranamwa ecachayixrlngka Airlangga prasutiemux kh s 991 inewlaediywkn chwaerimaephxiththiphlekhamayngbahli emuxphraxngkhphrachnsaid 16 pi thrnghniipyngchwatawntkaelathrngidrbkarsnbsnuncakchawchwainewlatxma emuxphraxngkhesdckhunkhrxngrachyepnkstriychwa cungthrngrwmbahliaelachwaihepnpukaephncnkrathngesdcswrrkht emux kh s 1049 phasachwathieriykwa Kawi idnamaichinhmurachwngsbahli hlkthankhwamsmphnthrahwangbahlikbekaachwainchwngstwrrsthi 11 xyuthi iklkb Tampaksiring hlngcaknnbahlixyuinsthanphaphkungexkrach cnkrathng kh s 1284 phraecaekxrtanakarahruxekiyrtinkhr Kertanagara kstriychwaaehngxanackrsinghasahri Singasari idrukranbahli aethlngcaknn 8 pi xanackrsinghasahrilmslay phrarachoxrskhxngphraecaekxrtanakaraphranamwaecachaywicayahruxwichy Vijaya idtngxanackrmchpahit Majapahit sungnbthuxsasnahindukhun chwngewlaniexng bahlithuxoxkasaeyktwepnexkrach pkkhrxngodyrachwngspaecng Pajeng misunyklangiklkbemuxngxubud Ubud aetkacah mada Gajah Mada esnabdiaehngxanackrmchpahitekharukranbahliinrchsmykhxngphraecadaelm ebxedalu Dalem Bedaulu aehngrachwngspaecnginpi kh s 1343 aelaidrwmbahliepnswnhnungkhxngxanackrmchpahit hlngcaknnbahliidyaysunyklangipxyuthieklekl Gelgel iklkbemuxngesmarapura Semarapura inchwngplaystwrrsthi 14 odymikstriypkkhrxngsungchawbahlieriykwaethwa xakung Dewa Agung phranamwaphraecabatur erngkxng Batur Renggong khrxngrachyinpikh s 1550 kxnhnannimnanxanackrmchpahitidlmslaylnginpi kh s 1515 lngcakkarkhyayxiththiphlkhxngchawmuslim brrdankprachysunghnunginnnkhuxnkbwchhinduchuxnirartha Nirartha idxphyphkhammayngbahli odynasilpwtthu changsilp nangra nkdntri aelankaesdngpracarachsankmchpahitekhamadwy aelaidsrangwdpuraluhurxuluwatu Pura Luhur Ulu Watu aelawdpuratanahlt Pura Tanah Lot khun karxphyphkhrngihykhxngchawhinducakchwaidsinsudlngrawstwrrsthi 16 karxphyphkhrngnikxihekidkhwamepliynaeplngkhrngihytxsngkhmbahli sngkhmhinduinbahlierimsbsxnkhun mikarnarabbwrrnaekhamaich chawbahlithixyudngedimcungxphyphekhamatngthinthanbriewnphuekhathangtxnin sungpccubnniphusubechuxsaykhxngkhnehlanieriykwabahlixaka Bali Aga hruxbahlimula Bali Mula yngkhngxasyxyuthihmuban Tenganan iklkb Pura Dasa aelahmubantruyn Trunyan briewnthaelsabbatur karyudkhrxngkhxnghxlnda wdpuratamnxayun edimepnthitngkhxngxanackrbadungemuxngednpasarinpccubn chawyuorpklumaerkthiedinthangmayngbahlikhuxchawhxlnda sungnaodykptnokelxniyus edx ehatmn Colenius de Houtman emuxkh s 1597 aelaerimecriykhwamsmphnthkbrachwngkhbahli tnkhriststwrrsthi 17 xikthangfakhnungkhxngbahli chawhxlndaidthasnthisyyakarkhahlaychbbkbchwa aelaesnthangkarkhaekhruxngethsswnihyidtkxyuinkhwamkhwbkhumkhxngchawhxlndaaelw emuxkh s 1710 sunyklangkhxngbahliidyayipxyuthiklungkung Klungkung pccubnkhuxemuxngesmarapura epnchwngewlaediywkbthichnchnpkkhrxnginbahlierimaetkaeykaelaaebngxxkepnxanackryxy swnchawhxlndaerimekhamamixiththiphlodyichwithiaebngaeykaelapkkhrxng karekhakhwbkhumbahlithngthangkaremuxngaelaesrsthkicerimtnemuxrawkh s 1840 odyinpi kh s 1846 chawhxlndaidxangkarkueruxcmbriewnchayfngthangdanehnux iklkbemuxngsingkhrach Singaraja inpccubn nakalngthharekhamaaelayudxanackrbuelelng Buleleng aelaecmbrana Jembrana iwid emuxyudxanackrthangtxnehnuxidaelw cungerimekharukranxanackrthangtxnit inpi kh s 1904 hxlndaidxangkarrwmkusakeruxcinnxkchayfnghadsanur eriykrxngihxanackrbadungcaykhachdechyepncanwnengin 3 000 ehriyyengin aetidrbkarptiesth inpi kh s 1906 hxlndacungidykkalngthharekhamabriewnhadsanur ody 4 wnhlngcaknn idbukekhamathungchanemuxngednpasar Denpasar wnthi 20 knyayn kh s 1906 hxlndacungerimyingthlmemuxngednpasar aetfaybadungichwithikarphlichiphkhxngnkrbthieriykwapuputn Puputan odybrrdaechuxphrawngkhthrngephaphrarachwngaelaaetngphraxngkhetmphraysphrxmthrngkrich thrngdaeninphrxmkbehlankbwchaelakharachbripharekhatxsu aetthnghmdimyxmcann klbaethngtwtaydwykrichaethn ehtukarninkhrngnnmichawbahliesiychiwitpraman 4 000 khn emuxyudxanackrbadungidaelw hxlndacungekhayudxanackrtabann Tabanan cbkstriyepnechly aetthrngimyxmcannaelathrngkrathaxtniwibatkrrm caknnhxlndaidekhayudkhrxngxanackrkarngxaesm Karangasem aelaekiyyar Gianyar aetxnuyatihrachwngkhyngthrngpkkhrxngidtxip swnxanackrxun hxlndaidkhbilecaemuxngxxkthnghmd ineduxnemsayn kh s 1908 emuxhxlndabukyudxanackresmarapura echnediywkbkstriytabann kstriyesmarapurathrngimyxmcannaelathrngkrathaxtniwibatkrrmechnkn karbukyudkhrngnnthaihphrarachwngtamnekxrtaoksa Taman Gertha Gosa idrbkhwamesiyhayepnswnihy sngphlihtngaet kh s 1911 hxlndaidkhrxbkhrxngdinaednkhxngbahliidthnghmdaelaidrwmbahliekhaepnswnhnungkhxngxinediytawnxxkkhxnghxlnda Dutch East Indies sngkhramolkkhrngthisxngaelakarprakasexkrach xi kusti ngurah ir kxngthphyipunidykphlkhunbkthihadsanur inpi kh s 1942 aelaidtngkxngbychakarthiemuxngednpasar aelaemuxngsingkhrach aelakhbilchawhxlndaxxkip emuxyipunaephsngkhramolkkhrngthisxngemuxeduxnsinghakhm kh s 1945 emuxhxlndatxngkarklbekhamayudkhrxngbahlixik khbwnkartxtanhxlndaerimkxtngkhun wnthi 17 singhakhm kh s 1945 naysukaron Soekarno thuxoxkasprakasexkrachaekdinaednthiekhyxyuphayitkaryudkhrxngkhxnghxlndathnghmdaelakxtngsatharnrthxinodniesiykhun aetfayhxlndaimrbrxng khbwnkartxtanhxlndainbahlichuxetntra ekxxamnxn rkyt Tentra Keamanan Rakyat hruxkxngkalngkhwammnkhngaehngprachachn People s Security Force lukhuxkhuntxtanhxlndathiemuxngmarka Marga emuxwnthi 20 phvscikayn kh s 1946 naodyxi kusti ngurah ir I Gusti Ngurah Rai odyepnkartxsuephuxphlichiphkhxngnkrbhruxpuputnxikkhrng inthisudhxlndaprakasrbrxngexkrachkhxngxinodniesiyemuxpikh s 1949 aelabahlicungepnswnhnungkhxngxinodniesiyinpccubnkarpkkhrxngaephnthicnghwdbahli hlngcakidrbexkrach bahliidrwmepnswnhnungkhxngcnghwdnusaetingkara Nusa Tenggara cnkrathng kh s 1958 rthbalklangidprakasaeykbahlixxkepncnghwdhnungkhxngxinodniesiy phunthicnghwdbahliaebngxxkepn 8 xaephxhruxkabupaetn 1 nkhrhruxokta aela 57 tablhruxekxcamatn xaephxxaephxklungkung Kabupaten Klungkung xaephxkarngxaesim Kabupaten Karangasem xaephxkiyayar Kabupaten Gianyar Kabupaten Jembrana xaephxtabann Kabupaten Tabanan xaephxbngli Kabupaten Bangli xaephxbadung Kabupaten Badung xaephxbuelelng Kabupaten Buleleng nkhrednpasar Denpasar emuxnghlk prachakr txngkartrwcsxbkhwamthuktxng sthiticanwnphunbthuxsasnatang khxngcnghwdbahli inpi 2010sasna rxylahindu 83 5 xislam 13 3 khrist 1 7 phuthth 0 5 echuxchati epnchawbahlirxyla 89 thiehluxepnchawchwaaelaxun swnihynbthuxsasnahindurxyla 93 18 sasnaxislamrxyla 4 79 sasnakhristrxyla 1 38 sasnaphuththrxyla 0 64esrsthkicinxdit sngkhmbahliepnsngkhmekstrkrrm epnaehlngrayidsakhykhxngcnghwd cnkrathngrawkhristthswrrsthi 1970 karthxngethiywerimklayepnaehlngrayidsakhy cninpccubnkarthxngethiywepnaehlngrayidediywkhxngcnghwd sungmakphxthithaihbahliklayepncnghwdthimngkhngthisudcnghwdhnungkhxngpraeths inpi 2003 esrsthkickhxngbahlikhidepnphakhkarthxngethiywmakthung 80 khxngkickrrmthangesrsthkicthnghmd xyangirktam esrsthkickhxngbahlisbesalngmakcakehtukxkarrayrunaernghlaykhrng inchwngpi 2002 2005 hlngehturaebidinbahli ph s 2545 aela bahliinpccubnsamarthfuntwaelaepnhnungincudhmayplaythangsakhydankarthxngethiywkhxngolkwthnthrrmswnihychawbahliidrbwthnthrrmcakxinediyepnxnmak echnsasnaphrahmn hindu aelasasnaphuthth ramayna tlxdcnxksr phasa l nnlwnmacakxinediy namarwmkbwthnthrrmpracathxngthin aelanaichxyangaephrhlay sasnahinduaebbbahli rupekharphphraphikhenswrinbahli danlangmi canngsari khuxibtxnghxdxkimhxmaelaekhruxngskkaraaebbbahli bnekaabahlimiphunbthuxsasnahinduepnhlk aetktangcakbriewnxunkhxngpraethsthimiphunbthuxsasnaxislamepnhlk sasnahinduaebbbahliidrbxiththiphlcakkhwamechuxphunemuxng wiyyanniym aexnimisum aelasasnaphuthth khwamaetktangcaksasnahindusayhlkthiphbidthwipcakxnuthwipxinediykhuxmikarskkaraphiphunemuxng buchaphibrrphburus aelaekharphphraophthistwsungepnkhxngkhtithangsasnaphuthth sasnahinduaebbbahlimiethphecasungsudphraxngkhediyw khlaykbaenwkhidkhxngkhristsasna khuxethphxcinity swnethphhinduxngkhxun aelaethphphunemuxng kyngkhngidrbkarekharphxyangthwipechnkn sthaptykrrm sumpratucndiebintarkhxngpuraaehnghnung sthaptykrrmbahli epnsthaptykrrmphunthinkhxngchawbahlisungphbidthwipbnekaabahli praethsxinodniesiy thimikhwamekaaekhlaystwrrs idrbxiththiphlcakwthnthrrmbahli odyechphaasasnahinduaebbbahli aenwkhidcakekaachwa aelakhwamechuxphunemuxngkhxngchawbahlidngedim twxyangthisakhy echn rumahxadt banphunemuxng thieriykwa pura obsthphrahmnaebbbahli sala aela hxemru hxkhxykhlayecdiy epntn sthaptykrrmbahlimkyudtamhlkthieriykwa itraemnedla khuxkaraebngxanaekhtepnsamxanaekht aemnedla lksnaniphbidthwipinsthaptykrrmkhxngpura aetlaaemnedlacamipratuknxanaekht sungaebngepnsxngpraephth idaek cndiebintar sungaebngaemnedlaaerkaelaklangxxkcakkn aela aebngaemnedlaklangaelachninxxkcakknxangxing Bali to Host 2013 Miss World Pageant Jakarta Globe 26 emsayn 2012 cakaehlngedimemux 2013 01 12 subkhnemux 30 December 2012 Suryadinata Leo Arifin Evi Nurvidya amp Ananta Aris 2003 Indonesia s Population Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape Institute of Southeast Asian Studies ISBN 9812302123 Penduduk Menurut Wilayah dan Agama yang Dianut 2010 Census bps go id Hinzler Heidi 1995 Artifacts and early foreign influences In Eric Oey Ed Bali pp 24 25 Singapore Periplus Editions ISBN 962 593 028 0 Taylor Jean Gelman 2003 Indonesia Peoples and histories New Haven and London Yale University Press ISBN 0 300 10518 5 Op cit Hinzler Heidi 1995 pp 24 25 Ver Berkmoes Ryan Skolnick Adam amp Caroll Marian 2009 Lonely planet Bali amp Lombok 12th ed Melbourne Lonely Planet ISBN 978 1 74104 864 3 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 02 06 subkhnemux 2009 06 24 History for Bali Vickers Adrian 1995 In Eric Oey Ed Bali pp 26 35 Singapore Periplus Editions ISBN 962 593 028 0 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 05 10 subkhnemux 2009 07 02 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 06 04 subkhnemux 2009 06 30 Statistik Indonesia 2021 phasaxinodniesiy sankngansthitiaehngpraethsxinodniesiy 2021 02 26 pp 45 47 subkhnemux 2021 12 05 Peraturan Kepala Badan Pusat Statistik Nomor 120 Tahun 2020 Tentang Klasifikasi Desa Perkotaan dan Perdesaan di Indonesia Tahun 2020 PDF phasaxinodniesiy sankngansthitiaehngpraethsxinodniesiy subkhnemux 2021 12 05 Brown Iem 2004 06 17 The Territories of Indonesia phasaxngkvs Routledge p 149 ISBN 9781135355418 Desperately Seeking Survival 2013 08 27 thi ewyaebkaemchchin Time 25 November 2002 Bali Paradise online khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 08 05 subkhnemux December 9 2013 brrnanukrmAndy Barski Albert Beaucort Bruce Carpenter Barski 2007 Bali and Lombok Dorling Kindersley London ISBN 978 0 7566 2878 9 Haer Debbie Guthrie amp Toh Irene 2001 Bali a traveller s companion Editions Didier Millet ISBN 978 981 4217 35 4 Gold Lisa 2005 Music in Bali Experiencing Music Expressing Culture New York ISBN 0 19 514149 0 Taylor Jean Gelman 2003 Indonesia Peoples and Histories New Haven and London Yale University Press ISBN 0 300 10518 5 Pringle Robert 2004 Bali Indonesia s Hindu Realm A short history of Short History of Asia Series ISBN 1 86508 863 3 xanephimBlack Robert 2012 Bali Fungus Snake Scorpion Press ISBN 978 1 4775 0824 4 Copeland Jonathan 2010 Secrets of Bali Fresh Light on the Morning of the World Orchid Press ISBN 978 974 524 118 3 Cotterell Arthur 2015 Bali A cultural history Signal Books ISBN 9781909930179 1946 Island of Bali ISBN 9625930604 Klemen L 1999 2000 Forgotten Campaign The Dutch East Indies Campaign 1941 1942 cakaehlngedimemux 26 July 2011 2003 A House in Bali Tuttle Publishing New edition 2000 first published in 1946 by J Day Co ISBN 978 962 593 629 1 Shavit David 2006 Bali and the Tourist Industry A History 1906 1942 McFarland amp Co Inc ISBN 978 0 7864 1572 4 Vickers Adrian 1994 Travelling to Bali Four Hundred Years of Journeys Oxford University Press ISBN 978 967 65 3081 3 Vickers Adrian 2012 Bali A Paradise Created Tuttle ISBN 978 0 8048 4260 0 Whitten Anthony J Roehayat Emon Soeriaatmadja Suraya A Afiff 1997 The Ecology of Java and Bali Hong Kong Periplus Editions Ltd ISBN 978 962 593 072 5 Wijaya Made 2003 Architecture of Bali A Source Book of Traditional and Modern Forms Thames amp Hudson Ltd ISBN 978 0 500 34192 6