fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาชวา

ภาษาชวา (ꦧꦱꦗꦮ, basa Jawa; bɔsɔ d͡ʒɔwɔ; เรียกเป็นภาษาพูดว่า ꦕꦫꦗꦮ, cara Jawa; t͡ʃɔrɔ d͡ʒɔwɔ) คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้

ภาษาชวา
ꦧꦱꦗꦮ
Basa Jawa/Båså Jåwå
บาซา (ภาษา) ที่เขียนในอักษรชวา
ออกเสียงbɔsɔ d͡ʒɔwɔ
ภูมิภาคเกาะชวา (ประเทศอินโดนีเซีย), ประเทศซูรินาม นิวแคลิโดเนีย
จำนวนผู้พูด85 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรชวา, อักษรละติน
รหัสภาษา
ISO 639-1jv
ISO 639-2jav
ISO 639-3มีหลากหลาย:
jav — ภาษาชวา
jvn — ภาษาชวาแคริบเบียน
jas — ภาษาชวานิวแคลิโดเนีย
osi — ภาษาโอซิง
tes — ภาษาเต็งเกอร์

บทนำ

ภาษาชวาอยู่ในกลุ่มย่อยซุนดาของภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซียตะวันตก มีลักษณะทางภาษาศาสตร์ใกล้เคียงกับภาษามลายู ภาษาซุนดา ภาษามาดูรา ภาษาบาหลี และภาษากลุ่มสุมาตราและบอร์เนียวอื่นๆ รวมทั้งภาษามาลากาซีและภาษาฟิลิปิโน ภาษาชวาใช้พูดในบริเวณชวากลางและชวาตะวันออกและชายฝั่งทางเหนือของชวาตะวันตก ภาษาชวาได้ใช้เป็นภาษาเขียนควบคู่ไปด้วย เป็นภาษาในศาลที่ปาเล็มบัง สุมาตราใต้จนกระทั่งถูกดัตช์ยึดครองเมื่อพุทธศตวรรษที่ 23

ภาษาชวาจัดว่าเป็นภาษาคลาสสิกภาษาหนึ่งของโลก มีวรรณคดีมานามถึง 12 ศตวรรษ นักวิชาการแบ่งภาษาชวาออกเป็นสี่ยุคด้วยกันคือภาษาชวาโบราณ เริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 14 ภาษาชวายุคกลางเริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 18 ภาษาชวายุคใหม่เริ่มจากพุทธศตวรรษที่ 21 และภาษาชวาปัจจุบันเริ่มในพุทธศตวรรษที่ 25 ภาษาชวาเขียนด้วยอักษรชวาที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี อักษรอาหรับ-ชวาที่เป็นอักษรอาหรับดัดแปลงสำหรับภาษาชวา และอักษรละติน

แม้ว่าจะไม่มีสถานะเป็นภาษาราชการ ภาษาชวาถือว่าเป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากประมาณ 80 ล้านคน อย่างน้อย 45% ของประชากรทั้งหมดในอินโดนีเซียเป็นผู้พูดภาษาชวาหรืออยู่ในบริเวณที่ใช้ภาษาชวาเป็นภาษาหลัก และมีอิทธิพลอย่างมากต่อภาษาอินโดนีเซียที่เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษามลายู ภาษาชวามีสำเนียงหลักสามสำเนียงคือ ชวากลาง ชวาตะวันออก และชวาตะวันตก

ความสุภาพ

 
กุลสตรี (ซ้าย) พูดกับบริวารด้วยคำพูดแบบหนึ่ง และพวกเขาจะตอบอีกรูปแบบหนึ่ง (ภาพถ่ายภรรยาและบริวารของศิลปิน ราเดิน ซาเลฮ์, บาตาเวียของอาณานิคม ค.ศ. 1860–1872)

การพูดภาษาชวาแตกต่างไปขึ้นกับบริบททางสังคมทำให้มีการแบ่งชั้นของภาษา แต่ละชั้นมีศัพท์ กฎทางไวยากรณ์ และฉันทลักษณ์เป็นของตนเอง การแบ่งชั้นนี้ไม่ใช่ลักษณะเฉพาะของภาษาชวา เพราะพบในภาษาในเอเชียหลายภาษา เช่น ภาษาเกาหลี และภาษาญี่ปุ่น แต่ละชั้นของภาษาชวามีชื่อเรียกดังนี้

  • โงโก (ꦔꦺꦴꦏꦺꦴ): รูปแบบพูดอย่างไม่เป็นทางการระหว่างเพื่อนและญาติสนิท และใช้โดยคนที่มีฐานะสูงกว่าเมื่อพูดกับคนที่มีฐานะต่ำกว่า เช่น ผู้ใหญ่ใช้กับเด็ก
  • มัดยา (ꦩꦢꦾ): รูปแบบกลางๆระหว่างโงโกกับกรามา สำหรับในสถานะที่ไม่ต้องการทั้งความเป็นทางการและไม่เป็นทางการ คไนี้มาจากภาษาสันสกฤตว่า มัธยะ ("กลาง")
  • กรามา (ꦏꦿꦩ): รูปแบบที่สุภาพและเป็นทางการ ใช้กับคนที่อยู่ในสถานะเดียวกัน เป็นรูปแบบที่ใช้พูดในที่สาธารณะ การประกาศต่างๆ ใช้โดยคนที่มีฐานะต่ำกว่าเมื่อพูดกับคนที่มีฐานะสูงกว่า เช่น เด็กพูดกับผู้ใหญ่ คำนี้มาจากภาษาสันสกฤตว่า กรมา ("ตามลำดับ")

สถานะในสังคมที่มีผลต่อรูปแบบของภาษาชวากำหนดโดยอายุหรือตำแหน่งในสังคม การเลือกใช้ภาษาระดับใดนั้นต้องอาศัยความรอบรู้ในวัฒนธรรมชวาและเป็นสิ่งที่ยากสำหรับการเรียนภาษาชวาของชาวต่างชาติ

สำเนียงของภาษาชวาสมัยใหม่

สำเนียงของภาษาชวาแบ่งได้เป็นสามกลุ่มตามบริเวณย่อยที่มีผู้พูดภาษาเหล่านี้อาศัยอยู่ คือ ภาษาชวากลาง ภาษาชวาตะวันออก และภาษาชวาตะวันตก ความแตกต่างระหว่างสำเนียงอยู่ที่การออกเสียงและคำศัพท์

  • ภาษาชวากลางเป็นสำเนียงที่ใช้พูดในสุรการ์ตา และยอร์กยาการ์ตา ถือเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษานี้ มีผู้พูดกระจายตั้งแต่เหนือถึงใต้ของจังหวัดชวากลาง
  • ภาษาชวาตะวันตกใช้พูดทางตะวันตกของจังหวัดชวากลางและตลอดทั้งจังหวัดชวาตะวันตก โดยเฉพาะชายฝั่งทางตอนเหนือ ได้รับอิทธิพลจากภาษาซุนดา และยังมีศัพท์เก่าๆอยู่มาก
  • ภาษาชวาตะวันออกเริ่มใช้พูดจากฝั่งตะวันออกของกาลี บรันตัส ในเกอร์โตโซโนไปจนถึงบาญูวังกี ครอบคลุมบริเวณส่วนใหญ่ของจังหวัดชวาตะวันออก รวมเกาะมาดูราด้วย สำเนียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษามาดูรา สำเนียงตะวันออกสุดได้รับอิทธิพลจากภาษาบาหลี

การออกเสียง

ชาวชวาส่วนใหญ่ยกเว้นในชวาตะวันตก ยอมรับการออกเสียง a เป็น /ออ/ เช่น apa ในภาษาชวาตะวันตกออกเสียงเป็นอาปา ส่วนภาษาชวากลางและภาษาชวาตะวันออกออกเสียงเป็นออปอ

เมื่อมีหน่วยเสียงที่มีโครงสร้างเป็นสระ-พยัญชนะ-สระ โดยสระทั้งสองเสียงเป็นเสียงเดียวกัน ภาษาชวางกลางลดเสียงสระตัวท้าย i เป็น e และ u เป็น o ภาษาชวาตะวันออกลดทั้งสองเสียงส่วนภาษาชวาตะวันตกคงเสียงเดิมไว้ เช่น cilik ภาษาชวากลางเป็น จิเละ ภาษาชวาตะวันออกเป็น เจะเละ ภาษาชวาตะวันตกเป็น จิลิก

คำศัพท์

ภาษาชวามีคำศัพท์ที่ต่างกันไปในแต่ละสำเนียง เช่นคำว่าคุณ ชวากลางเป็น kowe ภาษาชวาตะวันออกเป็น kon ภาษาชวาตะวันตกเป็น rika

ประวัติ

โดยทั่วไป ประวัติภาษาชวาแบ่งออกเป็นสองช่วง: 1) ชวาโบราณ และ 2) ชวาใหม่

ภาษาชวาโบราณ

หลักฐานการเขียนในเกาะชวาย้อนหลังไปได้ถึงยุคของจารึกภาษาสันสกฤต จารึกตรุมเนคระ ใน พ.ศ. 993 ส่วนการเขียนด้วยภาษาชวาที่เก่าที่สุดคือจารึกสุกภูมีซึ่งระบุวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 1346 จารึกนี้พบที่เกอดีรีในชวาตะวันออกและเป็นสำเนาของจารึกต้นฉบับที่น่าจะมีอายุ 120 ปีก่อนหน้านั้น แต่หลักฐานเหลือเพียงจารึกที่เป็นสำเนาเท่านั้น เนื้อหากล่าวถึงการสร้างเขื่อนใกล้กับแม่น้ำสรินยังในปัจจุบัน จารึกนี้เป็นจารึกรุ่นสุดท้ายที่ใช้อักษรปัลลวะ จารึกรุ่นต่อมาเริ่มใช้อักษรชวา

ในพุทธศตวรรษที่ 13 – 14 เป็นยุคที่เริ่มมีวรรณคดีพื้นบ้านในภาษาชวา เช่น สัง ฮยัง กะมาฮะยานีกัน ที่ได้รับมาจากพุทธศาสนา และ กากาวัน รามายานา ที่มาจากรามายณะฉบับภาษาสันสกฤต แม้ว่าภาษาชวาจะใช้เป็นภาษาเขียนทีหลังภาษามลายู แต่วรรณคดีภาษาชวายังได้รับการสืบทอดจนถึงปัจจุบัน เช่นวรรณคดีที่ได้รับมาจากรามายณะและมหาภารตะยังได้รับการศึกษาจนถึงทุกวันนี้

การแพร่กระจายของวัฒนธรรมชวารวมทั้งอักษรชวาและภาษาชวาเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1836 ซึ่งเกิดจากการขยายตัวไปทางตะวันออกของราชอาณาจักรมัชปาหิตซึ่งเป็นอาณาจักรที่นับถือศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ไปสู่เกาะมาดูราและเกาะบาหลี ภาษาชวาแพร่ไปถึงเกาะบาหลีเมื่อ พ.ศ. 1906 และมีอิทธพลอย่างลึกซึ้ง โดยภาษาชวาเข้ามาแทนที่ภาษาบาหลีในฐานะภาษาทางการปกครองและวรรณคดี ชาวบาหลีรักษาวรรณคดีเก่าที่เป็นภาษาชวาไว้มาก และไม่มีการใช้ภาษาบาหลีเป็นภาษาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24

 
ภาษามาดูราเขียนด้วยอักษรชวา

ภาษาชวายุคกลาง

ในยุคของราชอาณาจักรมัชปาหิต ได้เกิดภาษาใหม่ขึ้นคือภาษาชวายุคกลางที่อยู่ระหว่างภาษาชวาโบราณและภาษาชวาสมัยใหม่ จริงๆแล้ว ภาษาชวายุคกลางมีความคล้ายคลึงกับภาษาชวาสมัยใหม่จนผู้พูดภาษาชวาสมัยใหม่ที่ศึกษาวรรณคดีสามารถเข้าใจได้ ราชอาณาจักรมัชปาหิตเสื่อมลงเนื่องจากการรุกรานของต่างชาติและอิทธิพลของศาสนาอิสลาม และการคุกคามของสุลต่านแห่งเดมักที่อยู่ทางชายฝั่งด้านเหนือของเกาะชวา ราชอาณาจักรมัชปาหิตสิ้นอำนาจลงเมื่อ พ.ศ. 2021

ภาษาชวาใหม่

ภาษาชวาสมัยใหม่เริ่มปรากฏเมื่อพุทธศตวรรษที่ 21 พร้อมๆกับการเข้ามามีอิทธิพลของศาสนาอิสลาม และการเกิดรัฐสุลต่านมะตะรัม รัฐนี้เป็นรัฐอิสลามที่สืบทอดวัฒนธรรมดั้งเดิมจากยุคราชอาณาจักรมัชปาหิต วัฒนธรรมชวาแพร่หลายไปทางตะวันตก เมื่อรัฐมะตะรัมพยายามแพร่อิทธิพลไปยังบริเวณของผู้พูดภาษาซุนดาทางตะวันตกของเกาะชวา ทำให้ภาษาชวากลายเป็นภาษาหลักในบริเวณนั้น เช่นเดียวกับภาษาบาหลี ไม่มีการใช้ภาษาซุนดาเป็นภาษาเขียนจนถึงพุทธศตวรรษที่ 24 และได้รับอิทธิพลจากภาษาชวามาก คำศัพท์ 40% ในภาษาซุนดาได้มาจากภาษาชวา

แม้ว่าจะเป็นจักรวรรดิอิสลาม แต่ราชอาณาจักรมะตะรัมก็ยังรักษาหน่วยเดิมที่มาจากวัฒนธรรมเก่าไว้และพยายามรวมเข้ากับศาสนาใหม่ จึงเป็นเหตุผลที่ยังคงมีการใช้อักษรชวาอยู่ ในขณะที่อักษรดั้งเดิมของภาษามลายูเลิกใช้ไปตั้งแต่เหลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม โดยหันไปใช้อักษรที่มาจากอักษรอาหรับแทน ในยุคที่ศาสนาอิสลามกำลังรุ่งเรืองราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เกิดภาษาชวาใหม่ขึ้น มีเอกสารทางศาสนาอิสลามฉบับแรกๆ ที่เขียนด้วยภาษาชวาใหม่ ซึ่งมีคำศัพท์และสำนวนที่ยืมมาจากภาษาอาหรับมาก ต่อมาเมื่อได้รับอิทธิพลจากภาษาดัตช์และภาษาอินโดนีเซีย ทำให้ภาษาชวาพยายามปรับรูปแบบให้ง่ายขึ้น และมีคำยืมจากต่างชาติมากขึ้น

ภาษาชวาสมัยใหม่

นักวิชาการบางคนแยกภาษาชวาที่ใช้พูด ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 25 ว่าเป็นภาษาชวาสมัยใหม่ แต่ก็ยังคงถือว่าเป็นภาษาเดียวกับภาษาชวาใหม่

อักษรชวา

 
ป้ายสองภาษา (โปรตุเกสและชวา) ในยกยาการ์ตา
ดูบทความหลักที่: อักษรชวา

แต่เดิมภาษาชวาเขียนด้วยอักษรพื้นเมืองคืออักษรชวา ต่อมาจึงเขียนด้วยอักษรอาหรับและอักษรโรมัน ปัจจุบัน รูปแบบอักษรลาตินเป็นไปตามนี้:

ตัวพิมพ์ใหญ่
A B C D Dh E É È F G H I J K L M N Ng Ny O P Q R S T Th U V W X Y Z
ตัวพิมพ์เล็ก
a b c d dh e é è f g h i j k l m n ng ny o p q r s t th u v w x y z

อักษรที่เอียง ใช้เฉพาะคำยืมจากภาษาอาหรับและภาษาในยุโรปเท่านั้น

อักษรชวา:

ฐานพยัญชนะ
ha na ca ra ka da ta sa wa la pa dha ja ya nya ma ga ba tha nga

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

 
ภาษาที่ใช้พูดในเกาะชวา

ภาษาชวาเป็นภาษาที่ใช้พูดทั่วอินโดนีเซีย ประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนเธอร์แลนด์ ซูรีนาเม นิวแคลิโดเนีย และประเทศอื่น ๆ ชุมชนที่ใหญ่ที่สุดของผู้พูดภาษานี้ อยู่ในชวา 6 จังหวัดและจังหวัดลัมปุงบนเกาะสุมาตรา จากข้อมูล พ.ศ. 2523 ชาวอินโดนีเซีย 43% ใช้ภาษาชวาในชีวิตประจำวัน โดยมีผู้พูดภาษาชวาได้ดีมากกว่า 60 ล้านคน ในแต่ละจังหวัดของอินโดนีเซียมีผู้พูดภาษาชวาได้ดีอย่างน้อย 1%

ในชวาตะวันออก มีผู้พูดภาษาชวาในชีวิตประจำวัน 74.5% ภาษามาดูรา 23% และภาษาอินโดนีเซีย 2.2% ในจังหวัดลัมปุง มีผู้พูดภาษาชวาในชีวิตประจำวัน 62.4% ภาษาลัมปุง 16.4% ภาษาซุนดา 10.5% และภาษาอินโดนีเซีย 9.4% ส่วนในจาการ์ตา มีจำนวนผู้พูดภาษาชวาเพิ่มสูงขึ้นถึง 10 เท่า ในเวลา 25 ปี แต่ในอาเจะฮ์กลับลดจำนวนลง ในบันเต็น ชวาตะวันตก ผู้สืบทอดมาจากรัฐสุลต่านมะตะรัมในชวากลาง ยังใช้รูปแบบโบราณของภาษาชวา มีผู้พูดภาษาซุนดาและภาษาอินโดนีเซียตามแนวชายแดนติดกับจาการ์ตา

จังหวัดชวาตะวันออกยังเป็นบ้านเกิดของผู้พูดภาษามาดูรา แต่ชาวมาดูราส่วนใหญ่พูดภาษาชวาได้ด้วย ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา มีการเขียนภาษามาดูราด้วยอักษรชวา ในลัมปุง มีชนพื้นเมืองที่พูดภาษาลัมปุงเพียง 15% ที่เหลือเป็นผู้อพยพมาจากส่วนอื่นๆของอินโดนีเซีย ซึ่งผู้อพยพเข้ามาส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาชวา ในสุรินาเมซึ่งเป็นอดีตอาณานิคมของดัตช์ ในอเมริกาใต้ มีผู้ที่เป็นลูกหลานของชาวชวา และยังพูดภาษาอยู่ราว 75,000 คน

ภาษาชวาวันนี้

ภาษาชวาไม่ใช่ภาษาประจำชาติโดยมีสถานะเป็นแค่ภาษาประจำถิ่นในจังหวัดที่มีชาวชวาอยู่เป็นจำนวนมาก มีการสอนภาษาชวาในโรงเรียน และมีการใช้ในสื่อต่างๆ ไม่มีหนังสือพิมพ์รายวันเป็นภาษาชวา แต่มีนิตยสารภาษาชวา ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 สถานีโทรทัศน์ท้องถิ่นของชวาตะวันออกออกอากาศเป็นภาษาชวาด้วยสำเนียงชวากลางและภาษามาดูราด้วย ใน พ.ศ. 2548 มีการออกนิตยสารภาษาชวา Damar Jati ในจาการ์ตา

สัทวิทยา

สัทอักษรตามภาษาชาวมาตรฐานเป็นไปตามนี้

สระ

หน้า กลาง หลัง
ลิ้นสูง i     u
กลางสูง e ə o
กึ่งต่ำ (ɛ)   (ɔ)
ต่ำ   a  

ในพยางค์ปิด สระ /i u e o/ ออกเสียงตามลำดับเป็น [ɪ ʊ ɛ ɔ] ในพยางค์เปิด สระ /e o/ ออกเสียงเป็น [ɛ ɔ] เมื่อตามหลังเสียงสระ /i u/ ในพยางค์เปิด ไม่เช่นนั้นก็จะออกเสียงเป็น /ə/ หรือเหมือนกัน (/e...e/, /o...o/) ในสำเนียงมาตรฐานซูรากาตา /a/ ออกเสียงในพยางค์เปิดสุดท้ายเป็น [ɔ] และในส่วนอื่นก่อนหน้าพยางค์สุดท้ายที่เปิดอยู่ก่อนหน้านั้นคือ [ɔ]

พยัญชนะ

ริมฝีปาก ฟัน/
ถุงลม
ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก m n ɲ ŋ
หยุด/ข้างลิ้น p b d̪̥ ʈ ɖ k g ʔ
เสียดแทรก s h
เปิด
(ข้างลิ้น)
j w
l
โรติก r

หน่วยเสียง "ออกเสียง" ในภาษาชวาไม่ได้เปล่งเสียงแต่ไร้เสียง โดยมีเสียงลมหายใจตามเสียงสระ นอกจากภาษามาดูราแล้ว ภาษาชวาเป็นแค่ภาษาเดียวในอินโดนีเซียตะวันตกที่มีการแยกเสียงระหว่างหน่วยเสียงฟันและปลายลิ้นม้วน

ไวยากรณ์

การเรียงประโยค

ภาษาชวาสมัยใหม่เรียงประโยคแบบ ประธาน-กริยา-กรรม ในขณะที่ภาษาชวาโบราณเรียงประโยคแบบ กริยา-ประธาน-กรรม หรือ กริยา-กรรม-ประธาน ตัวอย่างเช่น ประโยค "เขาเข้ามาในพระราชวัง" เขียนได้ดังนี้

  • ชวาโบราณ: Těka (กริยา) ta sira (ประธาน) ri ng (คำชี้เฉพาะ) kadhatwan (กรรม)
  • ชวาสมัยใหม่: Dheweke (ประธาน) těka (กริยา) neng kĕdhaton (กรรม)

คำกริยา

ไม่มีการผันคำกริยาตามบุคคลหรือจำนวน ไม่มีการแสดงกาลแต่ใช้การเติมคำช่วย เช่น "เมื่อวานนี้" "แล้ว" แบบเดียวกับภาษาไทย ระบบของคำกริยาในการแสดงความแตกต่างของประธานและกรรมค่อนข้างซับซ้อน

คำศัพท์

ภาษาชวามีศัพท์มากมายที่เป็นคำยืมและคำดั้งเดิมของภาษาตระกูลออสโตรนีเซีย ภาษาสันสกฤตมีอิทธิพลต่อภาษาชวามาก คำยืมจากภาษาสันสกฤตมักเป็นคำที่ใช้ในวรรณคดี และยังคงใช้อยู่ คำยืมจากภาษาอื่นๆมี ภาษาอาหรับ ภาษาดัตช์ และภาษามลายู

ภาษาชวามีคำยืมจากภาษาอาหรับน้อยกว่าภาษามลายู โดยมากเป็นคำที่ใช้ในศาสนาอิสลาม เช่นpikir ("คิด" มาจากภาษาอาหรับfikr), badan ("ร่างกาย"), mripat ("ตา" คาดว่ามาจากภาษาอาหรับ ma'rifah, หมายถึง "ความรู้" หรือ "วิสัยทัศน์"). คำยืมจากภาษาอาหรับนี้มีศัพท์พื้นเมืองและคำยืมจากภาษาสันสกฤตที่มีความหมายเหมือนกันใช้อยู่ด้วย เช่น pikir = galih, idhĕp (ออสโตรนีเซีย), manah, cipta, หรือ cita (ภาษาลันสกฤต), badan = awak (ออสโตรนีเซีย), slira, sarira, หรือ angga (ภาษาสันสกฤต), และ mripat = mata (ออสโตรนีเซีย), soca, หรือ netra (ภาษาสันสกฤต)

ต่อไปนี้เป็นตารางเปรียบเทียบศัพท์จากภาษาต่างๆ

ภาษาชวา ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาดัตช์ ภาษาไทย
pit sepeda fiets จักรยาน
pit montor sepeda motor motorfiets จักรยานยนต์
sepur kereta api spoor, i.e. (rail)track รถไฟ

อ้างอิง

หมายเหตุ

อ้างอิง

  1. Laurie Bauer, 2007, The Linguistics Student's Handbook, Edinburgh
  2. Wolff, John U.; Soepomo Poedjosoedarmo (1982). Communicative Codes in Central Java. Cornell Southeast Asia Program. p. 4. ISBN 0-87727-116-X.
  3. Ogloblin 2005, p. 590.
  4. Wedhawati et al. 2006, p. 1.
  5. Brown, Keith; Ogilvie, Sarah (2008). Concise encyclopedia of languages of the world. Elsevier. p. 560. ISBN 9780080877747. สืบค้นเมื่อ 2010-05-24. Madurese also possesses aspirated phonemes, including at least one aspirated retroflex phoneme.
  6. Suharno, Ignatius (1982). A Descriptive Study of Javanese. Canberra: ANU Asia-Pacific Linguistics / Pacific Linguistics Press. pp. 4–6. doi:10.15144/PL-D45. hdl:1885/145095.
  7. Perwitasari, Arum; Klamer, Marian; Witteman, Jurriaan; Schiller, Niels O. (2017). "Quality of Javanese and Sundanese Vowels". Journal of the Southeast Asian Linguistics Society. 10 (2): 1–9. hdl:10524/52406.

ข้อมูล

  • Adelaar, Karl Alexander (2005). "Malayo-Sumbawan". Oceanic Linguistics. University of Hawai'i Press. 44 (2): 356–388. doi:10.1353/ol.2005.0027.
  • Blust, Robert (1981). "The reconstruction of proto-Malayo-Javanic: an appreciation". Bijdragen tot de Taal-, Land- en Volkenkunde. 137 (4): 456–459. doi:10.1163/22134379-90003492. JSTOR 27863392.
  • Blust, Robert (2010). "The Greater North Borneo Hypothesis". Oceanic Linguistics. University of Hawai'i Press. 49 (1): 44–118. doi:10.1353/ol.0.0060. JSTOR 40783586. S2CID 145459318.
  • Dyen, Isidore (1965). A lexicostatistical classification of the Austronesian languages. Baltimore: Waverly Press.
  • Nothofer, Berndt (1975). The reconstruction of Proto-Malayo-Javanic. Verhandelingen van het Koninklijk Instituut voor Taal-, Land- en Volkenkunde. 73. Den Haag: Martinus Nijhoff. ISBN 9024717728.
  • Nothofer, Berndt (2009). "Javanese". ใน Keith Brown; Sarah Ogilvie (บ.ก.). Concise Encyclopedia of Languages of the World. Oxford: Elsevier. pp. 560–561. ISBN 9780080877747.
  • Ogloblin, Alexander K. (2005). "Javanese". ใน K. Alexander Adelaar; Nikolaus Himmelmann (บ.ก.). The Austronesian Languages of Asia and Madagascar. London dan New York: Routledge. pp. 590–624. ISBN 9780700712861.
  • Smith, Alexander D. (2017). "The Western Malayo-Polynesian Problem". Oceanic Linguistics. University of Hawai'i Press. 56 (2): 435–490. doi:10.1353/ol.2017.0021. S2CID 149377092.
  • Horne, Elinor C. (1961). Beginning Javanese. New Haven: Yale University Press.
  • van der Molen, W. (1993). Javaans schrift. Leiden: Vakgroep Talen en Culturen van Zuidoost-Azië en Oceanië. ISBN 90-73084-09-1.
  • Wedhawati; Nurlina, W. E. S.; Setiyanto, E.; Sukesti, R.; และคณะ (2006). Tata bahasa Jawa mutakhir [A contemporary grammar of Javanese] (ภาษาอินโดนีเซีย). Yogyakarta: Kanisius. ISBN 9789792110371.
  • Wurm, S. A.; Hattori, Shiro, บ.ก. (1983). Language Atlas of the Pacific Area, Part II: (Insular South-east Asia). Canberra.
  • Zoetmulder, P. J. (1982). Old Javanese–English Dictionary. 's-Gravenhage: Martinus Nijhoff. ISBN 90-247-6178-6.

อ่านเพิ่ม

  • Errington, James Joseph (1991), Language and social change in Java : linguistic reflexes of modernization in a traditional royal polity, Ohio University, Center for International Studies, สืบค้นเมื่อ 18 February 2013
  • Errington, James Joseph (1998), Shifting languages : interaction and identity in Javanese Indonesia, Cambridge University Press, ISBN 978-0-521-63448-9
  • Horne, Elinor Clark (1963), Intermediate Javanese, Yale University Press, สืบค้นเมื่อ 18 February 2013
  • Horne, Elinor Clark (1974), Javanese-English dictionary, Yale University Press, ISBN 978-0-300-01689-5
  • Keeler, Ward (1984), Javanese, a cultural approach, Ohio University Center for International Studies, ISBN 978-0-89680-121-9
  • Robson, S. O. (Stuart Owen); Wibisono, Singgih (2002), Javanese English dictionary, Periplus Editions (HK) ; North Clarendon, VT : Tuttle Pub, ISBN 978-0-7946-0000-6
  • Robson, S. O. (Stuart Owen); Monash University. Monash Asia Institute (2002), Javanese grammar for students (Rev. ed.), Monash Asia Institute, Monash University, ISBN 978-1-876924-12-6
  • Robson, S. O. (Stuart Owen); Monash University. Centre of Southeast Asian Studies (1991), Patterns of variation in colloquial Javanese, Centre of Southeast Asian Studies, Monash University, ISBN 978-0-7326-0263-5
  • Siegel, James T (1986), Solo in the new order : language and hierarchy in an Indonesian city, Princeton University Press, ISBN 978-0-691-00085-5
  • Uhlenbeck, E. M; Koninklijk Instituut voor Taal-, Land- en Volkenkunde (Netherlands) (1964), A critical survey of studies on the languages of Java and Madura, Martinus Nijhoff, สืบค้นเมื่อ 18 February 2013
  • Uhlenbeck, E. M; Koninklijk Instituut voor Taal-, Land- en Volkenkunde (Netherlands) (1978), Studies in Javanese morphology, Martinus Nijhoff, ISBN 978-90-247-2162-7

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Interwiki

  ภาษาชวา ข้อมูลการท่องเที่ยวจาก วิกิท่องเที่ยว

  • Javanese Writing System
  • The Javanese alphabet (Unicode A980—A9DF)
  • Javanese Phonation Types, Consonants
  • Old Javanese inscriptions

ภาษาชวา, ꦧꦱꦗꦮ, basa, jawa, bɔsɔ, ʒɔwɔ, เร, ยกเป, นภาษาพ, ดว, ꦕꦫꦗꦮ, cara, jawa, ʃɔrɔ, ʒɔwɔ, อภาษาพ, ของผ, อาศ, ยอย, บนตอนกลางและตะว, นออกของเกาะชวาในประเทศอ, นโดน, เซ, เป, นภาษาแม, ของมากกว, คน, อย, ในภาษากล, มออสโตรน, เซ, ยน, งส, มพ, นธ, บภาษาอ, นโดน, เซ, ยและ. phasachwa 1 ꦧꦱꦗꦮ basa Jawa bɔsɔ d ʒɔwɔ eriykepnphasaphudwa ꦕꦫꦗꦮ cara Jawa t ʃɔrɔ d ʒɔwɔ khuxphasaphud khxngphuthixasyxyubntxnklangaelatawnxxkkhxngekaachwainpraethsxinodniesiy epnphasaaemkhxngmakkwa 75 500 000 khn phasachwaxyuinphasaklumxxsotrniesiyn cungsmphnthkbphasaxinodniesiyaelaphasamlayu phuphudphasachwa phudphasaxinodniesiydwy sahrbwtthuprasngkhthangkaraelathurkic aelaephuxsuxsarkbchawxinodniesiyxun michumchnphuphudphasachwakhnadihyinpraethsmaelesiy odyechphaarthesxlaongraelayaohr khir otoy rthmntrikhxngesxlaongr epnchnphunemuxngkhxngchwa xyangirkdi phasachwaimsamarthekhaicknkbphasamlayuidphasachwaꦧꦱꦗꦮBasa Jawa Basa Jawabasa phasa thiekhiyninxksrchwaxxkesiyngbɔsɔ d ʒɔwɔphumiphakhekaachwa praethsxinodniesiy praethssurinam niwaekhliodeniycanwnphuphud85 lankhn imphbwnthi trakulphasaxxsotrniesiyn malaoy ophliniesiynniwekhliyrmalaoy ophliniesiynsunda sulaewsiphasachwarabbkarekhiynxksrchwa xksrlatinrhsphasaISO 639 1jvISO 639 2javISO 639 3mihlakhlay jav phasachwajvn phasachwaaekhribebiynjas phasachwaniwaekhliodeniyosi phasaoxsingtes phasaetngekxr enuxha 1 bthna 2 khwamsuphaph 3 saeniyngkhxngphasachwasmyihm 4 karxxkesiyng 5 khasphth 6 prawti 6 1 phasachwaobran 6 2 phasachwayukhklang 6 3 phasachwaihm 6 4 phasachwasmyihm 7 xksrchwa 8 karaephrkracaythangphumisastr 9 phasachwawnni 10 sthwithya 10 1 sra 10 2 phyychna 11 iwyakrn 11 1 kareriyngpraoykh 11 2 khakriya 12 khasphth 13 xangxing 13 1 hmayehtu 13 2 xangxing 14 khxmul 15 xanephim 16 aehlngkhxmulxunbthna aekikhphasachwaxyuinklumyxysundakhxngphasaklummalaoy ophlienesiytawntk milksnathangphasasastriklekhiyngkbphasamlayu phasasunda phasamadura phasabahli aelaphasaklumsumatraaelabxreniywxun rwmthngphasamalakasiaelaphasafilipion phasachwaichphudinbriewnchwaklangaelachwatawnxxkaelachayfngthangehnuxkhxngchwatawntk phasachwaidichepnphasaekhiynkhwbkhuipdwy epnphasainsalthipaelmbng sumatraitcnkrathngthukdtchyudkhrxngemuxphuththstwrrsthi 23phasachwacdwaepnphasakhlassikphasahnungkhxngolk miwrrnkhdimanamthung 12 stwrrs nkwichakaraebngphasachwaxxkepnsiyukhdwyknkhuxphasachwaobran erimcakphuththstwrrsthi 14 phasachwayukhklangerimcakphuththstwrrsthi 18 phasachwayukhihmerimcakphuththstwrrsthi 21 aelaphasachwapccubneriminphuththstwrrsthi 25 phasachwaekhiyndwyxksrchwathiphthnamacakxksrphrahmi xksrxahrb chwathiepnxksrxahrbddaeplngsahrbphasachwa aelaxksrlatinaemwacaimmisthanaepnphasarachkar phasachwathuxwaepnphasaintrakulphasaxxsotrniesiynthimiphuphudepnphasaaemmakpraman 80 lankhn xyangnxy 45 khxngprachakrthnghmdinxinodniesiyepnphuphudphasachwahruxxyuinbriewnthiichphasachwaepnphasahlk aelamixiththiphlxyangmaktxphasaxinodniesiythiepnsaeniynghnungkhxngphasamlayu phasachwamisaeniynghlksamsaeniyngkhux chwaklang chwatawnxxk aelachwatawntkkhwamsuphaph aekikh kulstri say phudkbbriwardwykhaphudaebbhnung aelaphwkekhacatxbxikrupaebbhnung phaphthayphrryaaelabriwarkhxngsilpin raedin saelh bataewiykhxngxananikhm kh s 1860 1872 karphudphasachwaaetktangipkhunkbbribththangsngkhmthaihmikaraebngchnkhxngphasa aetlachnmisphth kdthangiwyakrn aelachnthlksnepnkhxngtnexng karaebngchnniimichlksnaechphaakhxngphasachwa ephraaphbinphasainexechiyhlayphasa echn phasaekahli aelaphasayipun aetlachnkhxngphasachwamichuxeriykdngni ongok ꦔ ꦏ rupaebbphudxyangimepnthangkarrahwangephuxnaelayatisnith aelaichodykhnthimithanasungkwaemuxphudkbkhnthimithanatakwa echn phuihyichkbedk mdya ꦩꦢ rupaebbklangrahwangongokkbkrama sahrbinsthanathiimtxngkarthngkhwamepnthangkaraelaimepnthangkar khinimacakphasasnskvtwa mthya klang 2 krama ꦏ ꦩ rupaebbthisuphaphaelaepnthangkar ichkbkhnthixyuinsthanaediywkn epnrupaebbthiichphudinthisatharna karprakastang ichodykhnthimithanatakwaemuxphudkbkhnthimithanasungkwa echn edkphudkbphuihy khanimacakphasasnskvtwa krma tamladb 2 sthanainsngkhmthimiphltxrupaebbkhxngphasachwakahndodyxayuhruxtaaehnnginsngkhm kareluxkichphasaradbidnntxngxasykhwamrxbruinwthnthrrmchwaaelaepnsingthiyaksahrbkareriynphasachwakhxngchawtangchatisaeniyngkhxngphasachwasmyihm aekikhsaeniyngkhxngphasachwaaebngidepnsamklumtambriewnyxythimiphuphudphasaehlanixasyxyu khux phasachwaklang phasachwatawnxxk aelaphasachwatawntk khwamaetktangrahwangsaeniyngxyuthikarxxkesiyngaelakhasphth phasachwaklangepnsaeniyngthiichphudinsurkarta aelayxrkyakarta thuxepnsaeniyngmatrthankhxngphasani miphuphudkracaytngaetehnuxthungitkhxngcnghwdchwaklang phasachwatawntkichphudthangtawntkkhxngcnghwdchwaklangaelatlxdthngcnghwdchwatawntk odyechphaachayfngthangtxnehnux idrbxiththiphlcakphasasunda aelayngmisphthekaxyumak phasachwatawnxxkerimichphudcakfngtawnxxkkhxngkali brnts inekxrotosonipcnthungbayuwngki khrxbkhlumbriewnswnihykhxngcnghwdchwatawnxxk rwmekaamaduradwy saeniyngniidrbxiththiphlcakphasamadura saeniyngtawnxxksudidrbxiththiphlcakphasabahlikarxxkesiyng aekikhchawchwaswnihyykewninchwatawntk yxmrbkarxxkesiyng a epn xx echn apa inphasachwatawntkxxkesiyngepnxapa swnphasachwaklangaelaphasachwatawnxxkxxkesiyngepnxxpxemuxmihnwyesiyngthimiokhrngsrangepnsra phyychna sra odysrathngsxngesiyngepnesiyngediywkn phasachwangklangldesiyngsratwthay i epn e aela u epn o phasachwatawnxxkldthngsxngesiyngswnphasachwatawntkkhngesiyngedimiw echn cilik phasachwaklangepn ciela phasachwatawnxxkepn ecaela phasachwatawntkepn cilikkhasphth aekikhphasachwamikhasphththitangknipinaetlasaeniyng echnkhawakhun chwaklangepn kowe phasachwatawnxxkepn kon phasachwatawntkepn rikaprawti aekikhodythwip prawtiphasachwaaebngxxkepnsxngchwng 1 chwaobran aela 2 chwaihm 3 4 phasachwaobran aekikh hlkthankarekhiyninekaachwayxnhlngipidthungyukhkhxngcarukphasasnskvt caruktrumenkhra in ph s 993 swnkarekhiyndwyphasachwathiekathisudkhuxcaruksukphumisungrabuwnthi 25 minakhm ph s 1346 carukniphbthiekxdiriinchwatawnxxkaelaepnsaenakhxngcaruktnchbbthinacamixayu 120 pikxnhnann aethlkthanehluxephiyngcarukthiepnsaenaethann enuxhaklawthungkarsrangekhuxniklkbaemnasrinynginpccubn carukniepncarukrunsudthaythiichxksrpllwa carukruntxmaerimichxksrchwainphuththstwrrsthi 13 14 epnyukhthierimmiwrrnkhdiphunbaninphasachwa echn sng hyng kamahayanikn thiidrbmacakphuththsasna aela kakawn ramayana thimacakramaynachbbphasasnskvt aemwaphasachwacaichepnphasaekhiynthihlngphasamlayu aetwrrnkhdiphasachwayngidrbkarsubthxdcnthungpccubn echnwrrnkhdithiidrbmacakramaynaaelamhaphartayngidrbkarsuksacnthungthukwnnikaraephrkracaykhxngwthnthrrmchwarwmthngxksrchwaaelaphasachwaerimkhunemux ph s 1836 sungekidcakkarkhyaytwipthangtawnxxkkhxngrachxanackrmchpahitsungepnxanackrthinbthuxsasnaphrahmnaelasasnaphuthth ipsuekaamaduraaelaekaabahli phasachwaaephripthungekaabahliemux ph s 1906 aelamixiththphlxyangluksung odyphasachwaekhamaaethnthiphasabahliinthanaphasathangkarpkkhrxngaelawrrnkhdi chawbahlirksawrrnkhdiekathiepnphasachwaiwmak aelaimmikarichphasabahliepnphasaekhiyncnthungphuththstwrrsthi 24 phasamaduraekhiyndwyxksrchwa phasachwayukhklang aekikh inyukhkhxngrachxanackrmchpahit idekidphasaihmkhunkhuxphasachwayukhklangthixyurahwangphasachwaobranaelaphasachwasmyihm cringaelw phasachwayukhklangmikhwamkhlaykhlungkbphasachwasmyihmcnphuphudphasachwasmyihmthisuksawrrnkhdisamarthekhaicid rachxanackrmchpahitesuxmlngenuxngcakkarrukrankhxngtangchatiaelaxiththiphlkhxngsasnaxislam aelakarkhukkhamkhxngsultanaehngedmkthixyuthangchayfngdanehnuxkhxngekaachwa rachxanackrmchpahitsinxanaclngemux ph s 2021 phasachwaihm aekikh phasachwasmyihmerimpraktemuxphuththstwrrsthi 21 phrxmkbkarekhamamixiththiphlkhxngsasnaxislam aelakarekidrthsultanmatarm rthniepnrthxislamthisubthxdwthnthrrmdngedimcakyukhrachxanackrmchpahit wthnthrrmchwaaephrhlayipthangtawntk emuxrthmatarmphyayamaephrxiththiphlipyngbriewnkhxngphuphudphasasundathangtawntkkhxngekaachwa thaihphasachwaklayepnphasahlkinbriewnnn echnediywkbphasabahli immikarichphasasundaepnphasaekhiyncnthungphuththstwrrsthi 24 aelaidrbxiththiphlcakphasachwamak khasphth 40 inphasasundaidmacakphasachwaaemwacaepnckrwrrdixislam aetrachxanackrmatarmkyngrksahnwyedimthimacakwthnthrrmekaiwaelaphyayamrwmekhakbsasnaihm cungepnehtuphlthiyngkhngmikarichxksrchwaxyu inkhnathixksrdngedimkhxngphasamlayuelikichiptngaetehliynmanbthuxsasnaxislam odyhnipichxksrthimacakxksrxahrbaethn inyukhthisasnaxislamkalngrungeruxngrawphuththstwrrsthi 21 idekidphasachwaihmkhun miexksarthangsasnaxislamchbbaerk thiekhiyndwyphasachwaihm sungmikhasphthaelasanwnthiyummacakphasaxahrbmak txmaemuxidrbxiththiphlcakphasadtchaelaphasaxinodniesiy thaihphasachwaphyayamprbrupaebbihngaykhun aelamikhayumcaktangchatimakkhun phasachwasmyihm aekikh nkwichakarbangkhnaeykphasachwathiichphud tngaetphuththstwrrsthi 25 waepnphasachwasmyihm aetkyngkhngthuxwaepnphasaediywkbphasachwaihmxksrchwa aekikh paysxngphasa oprtueksaelachwa inykyakarta dubthkhwamhlkthi xksrchwa aetedimphasachwaekhiyndwyxksrphunemuxngkhuxxksrchwa txmacungekhiyndwyxksrxahrbaelaxksrormn pccubn rupaebbxksrlatinepniptamni twphimphihyA B C D Dh E E E F G H I J K L M N Ng Ny O P Q R S T Th U V W X Y Ztwphimphelka b c d dh e e e f g h i j k l m n ng ny o p q r s t th u v w x y zxksrthiexiyng ichechphaakhayumcakphasaxahrbaelaphasainyuorpethannxksrchwa thanphyychnaꦲ ꦤ ꦕ ꦫ ꦏ ꦢ ꦠ ꦱ ꦮ ꦭ ꦥ ꦝ ꦗ ꦪ ꦚ ꦩ ꦒ ꦧ ꦛ ꦔha na ca ra ka da ta sa wa la pa dha ja ya nya ma ga ba tha ngakaraephrkracaythangphumisastr aekikh phasathiichphudinekaachwa phasachwaepnphasathiichphudthwxinodniesiy praethsephuxnbaninexechiytawnxxkechiyngit enethxraelnd surinaem niwaekhliodeniy aelapraethsxun chumchnthiihythisudkhxngphuphudphasani xyuinchwa 6 cnghwdaelacnghwdlmpungbnekaasumatra cakkhxmul ph s 2523 chawxinodniesiy 43 ichphasachwainchiwitpracawn odymiphuphudphasachwaiddimakkwa 60 lankhn inaetlacnghwdkhxngxinodniesiymiphuphudphasachwaiddixyangnxy 1 inchwatawnxxk miphuphudphasachwainchiwitpracawn 74 5 phasamadura 23 aelaphasaxinodniesiy 2 2 incnghwdlmpung miphuphudphasachwainchiwitpracawn 62 4 phasalmpung 16 4 phasasunda 10 5 aelaphasaxinodniesiy 9 4 swnincakarta micanwnphuphudphasachwaephimsungkhunthung 10 etha inewla 25 pi aetinxaecahklbldcanwnlng inbnetn chwatawntk phusubthxdmacakrthsultanmatarminchwaklang yngichrupaebbobrankhxngphasachwa miphuphudphasasundaaelaphasaxinodniesiytamaenwchayaedntidkbcakartacnghwdchwatawnxxkyngepnbanekidkhxngphuphudphasamadura aetchawmaduraswnihyphudphasachwaiddwy tngaetphuththstwrrsthi 24 epntnma mikarekhiynphasamaduradwyxksrchwa inlmpung michnphunemuxngthiphudphasalmpungephiyng 15 thiehluxepnphuxphyphmacakswnxunkhxngxinodniesiy sungphuxphyphekhamaswnihyepnphuphudphasachwa insurinaemsungepnxditxananikhmkhxngdtch inxemrikait miphuthiepnlukhlankhxngchawchwa aelayngphudphasaxyuraw 75 000 khnphasachwawnni aekikhphasachwaimichphasapracachatiodymisthanaepnaekhphasapracathinincnghwdthimichawchwaxyuepncanwnmak mikarsxnphasachwainorngeriyn aelamikarichinsuxtang immihnngsuxphimphraywnepnphasachwa aetminitysarphasachwa tngaet ph s 2546 sthaniothrthsnthxngthinkhxngchwatawnxxkxxkxakasepnphasachwadwysaeniyngchwaklangaelaphasamaduradwy in ph s 2548 mikarxxknitysarphasachwa Damar Jati incakartasthwithya aekikhsthxksrtamphasachawmatrthanepniptamni 5 6 sra aekikh hna klang hlnglinsung i uklangsung e e okungta ɛ ɔ ta a inphyangkhpid sra i u e o xxkesiyngtamladbepn ɪ ʊ ɛ ɔ 5 7 inphyangkhepid sra e o xxkesiyngepn ɛ ɔ emuxtamhlngesiyngsra i u inphyangkhepid imechnnnkcaxxkesiyngepn e hruxehmuxnkn e e o o insaeniyngmatrthansurakata a xxkesiynginphyangkhepidsudthayepn ɔ aelainswnxunkxnhnaphyangkhsudthaythiepidxyukxnhnannkhux ɔ phyychna aekikh rimfipak fn thunglm playlinmwn ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngnasik m n ɲ ŋhyud khanglin p b t d ʈ ɖ tʃ dʒ k g ʔesiydaethrk s hepid khanglin j wlortik r hnwyesiyng xxkesiyng inphasachwaimideplngesiyngaetiresiyng odymiesiynglmhayictamesiyngsra 5 nxkcakphasamaduraaelw phasachwaepnaekhphasaediywinxinodniesiytawntkthimikaraeykesiyngrahwanghnwyesiyngfnaelaplaylinmwn 5 iwyakrn aekikhkareriyngpraoykh aekikh phasachwasmyihmeriyngpraoykhaebb prathan kriya krrm inkhnathiphasachwaobraneriyngpraoykhaebb kriya prathan krrm hrux kriya krrm prathan twxyangechn praoykh ekhaekhamainphrarachwng ekhiyniddngni chwaobran Teka kriya ta sira prathan ri ng khachiechphaa kadhatwan krrm chwasmyihm Dheweke prathan teka kriya neng kĕdhaton krrm khakriya aekikh immikarphnkhakriyatambukhkhlhruxcanwn immikaraesdngkalaetichkaretimkhachwy echn emuxwanni aelw aebbediywkbphasaithy rabbkhxngkhakriyainkaraesdngkhwamaetktangkhxngprathanaelakrrmkhxnkhangsbsxnkhasphth aekikhphasachwamisphthmakmaythiepnkhayumaelakhadngedimkhxngphasatrakulxxsotrniesiy phasasnskvtmixiththiphltxphasachwamak khayumcakphasasnskvtmkepnkhathiichinwrrnkhdi aelayngkhngichxyu khayumcakphasaxunmi phasaxahrb phasadtch aelaphasamlayuphasachwamikhayumcakphasaxahrbnxykwaphasamlayu odymakepnkhathiichinsasnaxislam echnpikir khid macakphasaxahrbfikr badan rangkay mripat ta khadwamacakphasaxahrb ma rifah hmaythung khwamru hrux wisythsn khayumcakphasaxahrbnimisphthphunemuxngaelakhayumcakphasasnskvtthimikhwamhmayehmuxnknichxyudwy echn pikir galih idhĕp xxsotrniesiy manah cipta hrux cita phasalnskvt badan awak xxsotrniesiy slira sarira hrux angga phasasnskvt aela mripat mata xxsotrniesiy soca hrux netra phasasnskvt txipniepntarangepriybethiybsphthcakphasatang phasachwa phasaxinodniesiy phasadtch phasaithypit sepeda fiets ckryanpit montor sepeda motor motorfiets ckryanyntsepur kereta api spoor i e rail track rthifxangxing aekikhhmayehtu aekikh xangxing aekikh Laurie Bauer 2007 The Linguistics Student s Handbook Edinburgh 2 0 2 1 Wolff John U Soepomo Poedjosoedarmo 1982 Communicative Codes in Central Java Cornell Southeast Asia Program p 4 ISBN 0 87727 116 X Ogloblin 2005 p 590 Wedhawati et al 2006 p 1 5 0 5 1 5 2 5 3 Brown Keith Ogilvie Sarah 2008 Concise encyclopedia of languages of the world Elsevier p 560 ISBN 9780080877747 subkhnemux 2010 05 24 Madurese also possesses aspirated phonemes including at least one aspirated retroflex phoneme Suharno Ignatius 1982 A Descriptive Study of Javanese Canberra ANU Asia Pacific Linguistics Pacific Linguistics Press pp 4 6 doi 10 15144 PL D45 hdl 1885 145095 Perwitasari Arum Klamer Marian Witteman Jurriaan Schiller Niels O 2017 Quality of Javanese and Sundanese Vowels Journal of the Southeast Asian Linguistics Society 10 2 1 9 hdl 10524 52406 khxmul aekikhAdelaar Karl Alexander 2005 Malayo Sumbawan Oceanic Linguistics University of Hawai i Press 44 2 356 388 doi 10 1353 ol 2005 0027 Blust Robert 1981 The reconstruction of proto Malayo Javanic an appreciation Bijdragen tot de Taal Land en Volkenkunde 137 4 456 459 doi 10 1163 22134379 90003492 JSTOR 27863392 Blust Robert 2010 The Greater North Borneo Hypothesis Oceanic Linguistics University of Hawai i Press 49 1 44 118 doi 10 1353 ol 0 0060 JSTOR 40783586 S2CID 145459318 Dyen Isidore 1965 A lexicostatistical classification of the Austronesian languages Baltimore Waverly Press Nothofer Berndt 1975 The reconstruction of Proto Malayo Javanic Verhandelingen van het Koninklijk Instituut voor Taal Land en Volkenkunde 73 Den Haag Martinus Nijhoff ISBN 9024717728 Nothofer Berndt 2009 Javanese in Keith Brown Sarah Ogilvie b k Concise Encyclopedia of Languages of the World Oxford Elsevier pp 560 561 ISBN 9780080877747 Ogloblin Alexander K 2005 Javanese in K Alexander Adelaar Nikolaus Himmelmann b k The Austronesian Languages of Asia and Madagascar London dan New York Routledge pp 590 624 ISBN 9780700712861 Smith Alexander D 2017 The Western Malayo Polynesian Problem Oceanic Linguistics University of Hawai i Press 56 2 435 490 doi 10 1353 ol 2017 0021 S2CID 149377092 Horne Elinor C 1961 Beginning Javanese New Haven Yale University Press van der Molen W 1993 Javaans schrift Leiden Vakgroep Talen en Culturen van Zuidoost Azie en Oceanie ISBN 90 73084 09 1 Wedhawati Nurlina W E S Setiyanto E Sukesti R aelakhna 2006 Tata bahasa Jawa mutakhir A contemporary grammar of Javanese phasaxinodniesiy Yogyakarta Kanisius ISBN 9789792110371 Wurm S A Hattori Shiro b k 1983 Language Atlas of the Pacific Area Part II Insular South east Asia Canberra Zoetmulder P J 1982 Old Javanese English Dictionary s Gravenhage Martinus Nijhoff ISBN 90 247 6178 6 xanephim aekikhErrington James Joseph 1991 Language and social change in Java linguistic reflexes of modernization in a traditional royal polity Ohio University Center for International Studies subkhnemux 18 February 2013 Errington James Joseph 1998 Shifting languages interaction and identity in Javanese Indonesia Cambridge University Press ISBN 978 0 521 63448 9 Horne Elinor Clark 1963 Intermediate Javanese Yale University Press subkhnemux 18 February 2013 Horne Elinor Clark 1974 Javanese English dictionary Yale University Press ISBN 978 0 300 01689 5 Keeler Ward 1984 Javanese a cultural approach Ohio University Center for International Studies ISBN 978 0 89680 121 9 Robson S O Stuart Owen Wibisono Singgih 2002 Javanese English dictionary Periplus Editions HK North Clarendon VT Tuttle Pub ISBN 978 0 7946 0000 6 Robson S O Stuart Owen Monash University Monash Asia Institute 2002 Javanese grammar for students Rev ed Monash Asia Institute Monash University ISBN 978 1 876924 12 6 Robson S O Stuart Owen Monash University Centre of Southeast Asian Studies 1991 Patterns of variation in colloquial Javanese Centre of Southeast Asian Studies Monash University ISBN 978 0 7326 0263 5 Siegel James T 1986 Solo in the new order language and hierarchy in an Indonesian city Princeton University Press ISBN 978 0 691 00085 5 Uhlenbeck E M Koninklijk Instituut voor Taal Land en Volkenkunde Netherlands 1964 A critical survey of studies on the languages of Java and Madura Martinus Nijhoff subkhnemux 18 February 2013 Uhlenbeck E M Koninklijk Instituut voor Taal Land en Volkenkunde Netherlands 1978 Studies in Javanese morphology Martinus Nijhoff ISBN 978 90 247 2162 7aehlngkhxmulxun aekikhaemaebb Interwiki wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa Appendix Javanese Swadesh list phasachwa khxmulkarthxngethiywcak wikithxngethiyw International Symposium On The Languages Of Java Javanese in Suriname strive to preserve origins Jakarta Post article Javanese Writing System The Javanese alphabet Unicode A980 A9DF Javanese Phonation Types Consonants Old Javanese inscriptionsekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasachwa amp oldid 9536142, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม