fbpx
วิกิพีเดีย

ชุดตัวอักษรอาหรับ

ชุดตัวอักษรอาหรับ เป็นชุดของอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน

ชุดตัวอักษรอาหรับ
ชนิดอักษรไร้สระ
ภาษาพูดภาษาอาหรับ
ช่วงยุคค.ศ. 356 จนถึงปัจจุบัน
ระบบแม่
ไฮเออโรกลีฟอียิปต์
ช่วงยูนิโคด
  • U+0600–U+06FF Arabic
  • U+0750–U+077F Arabic Supplement
  • U+08A0–U+08FF Arabic Extended-A
  • U+FB50–U+FDFF Arabic Presentation Forms-A
  • U+FE70–U+FEFF Arabic Presentation Forms-B
  • U+1EE00–U+1EEFF Arabic Mathematical Alphabetic Symbols
ISO 15924Arab
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

โครงสร้างของอักษรอาหรับ

เขียนจากขวาไปซ้าย มีอักษรพื้นฐาน 28 ตัว การปรับไปเขียนภาษาอื่น เช่น ภาษาเปอร์เซียและภาษาอูรดูจะเพิ่มอักษรอื่นเข้ามา ไม่มีความแตกต่างระหว่างตัวพิมพ์กับตัวเขียนและตัวเล็กกับตัวใหญ่ อักษรแต่ละตัวจะเขียนติดกับอักษรตัวอื่นแม้ในการพิมพ์และรูปอักษรเปลี่ยนไปขึ้นกับตำแหน่งในคำ ไม่มีการเขียนสระเสียงสั้น ผู้อ่านต้องจดจำเอาเองว่าคำคำนั้นมีเสียงสระเป็นอย่างไร จะเขียนเฉพาะสระเสียงยาวเท่านั้น ในคัมภีร์อัลกุรอานหรือในการสอนจะใช้เครื่องหมายแสดงการออกเสียง ในหนังสือรุ่นใหม่จะแสดงเครื่องหมายการยกเว้นเสียงสระ (ซุกูน) และเครื่องหมายเพิ่มความยาวเสียงพยัญชนะ (ชัดดะฮ์) ชื่อของอักษรอาหรับมาจากคำที่มีความหมายในภาษาเซมิติกแรกเริ่ม การจัดเรียงอักษรอาหรับมี 2 แบบ

  • รูปแบบเดิมคือ แบบอับญะดี (Abjadī أبجدي) เป็นการจัดเรียงตามชุดตัวอักษรฟินิเชีย คล้ายกับการเรียงแบบ ABC ในภาษาอังกฤษ
  • รูปแบบที่ใช้ในปัจจุบันคือ แบบฮิญาอี (Hejā’i هجائي) ซึ่งเรียงตามรูปร่างของอักษร

การจัดเรียงแบบอับญะดี เป็นการจับคู่อักษรอาหรับ 28 ตัวกับอักษรฟินิเชีย 22 ตัว ที่เหลืออีก 6 ตัว เรียงไว้ข้างท้าย ٲ ب ج ده و ذح ط ي ك ل م ن س ع ف ص قرش ت ث خ زض ظ غ

ตัวอักษรพื้นฐาน

อักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาอาหรับ
ชื่อ ถอดอักษร เสียง (IPA) รูปร่าง อักษรเดี่ยว
ท้ายคำ กลางคำ ต้นคำ
’alif อลิฟ / ā หลายแบบ,
รวมทั้ง /aː/ [a]
ـا ـا ا ا
bā’ บาอ์ b b
(บางครั้ง p ในคำยืม)[b]
ـب ـبـ بـ ب
tā’ ตาอ์ t t ـت ـتـ تـ ت
thā’ ษาอ์ th (หรือ ṯ ) θ ـث ـثـ ثـ ث
jīm ญีม j (หรือ ǧ, g ) d͡ʒ ~ ʒ ~ ɡ [c] ـج ـجـ جـ ج
ḥā’ หาอ์ ħ ـح ـحـ حـ ح
khā’ คออ์ kh (also , ḵ ) x ـخ ـخـ خـ خ
dāl ดาล d d ـد ـد د د
dhāl ษาล (ซาล) dh (หรือ ḏ ) ð ـذ ـذ ذ ذ
rā’ รออ์ r r ـر ـر ر ر
zayn / zāy ซัย/ซาย z z ـز ـز ز ز
sīn ซีน s s ـس ـسـ سـ س
shīn ชีน sh (also š ) ʃ ـش ـشـ شـ ش
ṣād ศอด/ซ้อด ـص ـصـ صـ ص
ḍād ฎ๊อด/ด๊อด ـض ـضـ ضـ ض
ṭā’ ฏออ์ ـط ـطـ طـ ط
ẓā’ ษออ์~ซออ์ ðˤ ~ ـظ ـظـ ظـ ظ
‘ayn อัยน์ ʿ ʕ ـع ـعـ عـ ع
ghayn ฆอยน์ gh (also ġ, ḡ ) ɣ
(บางครั้ง ɡ ในคำยืม)[c]
ـغ ـغـ غـ غ
fā’ ฟาอ์ f f
(บางครั้ง v ในคำยืม)[b]
ـف ـفـ فـ ف [d]
qāf ก๊อฟ q q
(บางครั้ง ɡ ในคำยืม)[c]
ـق ـقـ قـ ق [d]
kāf ก๊าฟ k k
(บางครั้ง ɡ ในคำยืม)[c]
ـك ـكـ كـ ك
lām ลาม l l ـل ـلـ لـ ل
mīm มีม m m ـم ـمـ مـ م
nūn นูน n n ـن ـنـ نـ ن
hā’ ฮาอ์ h h ـه ـهـ هـ ه
wāw เวา w / ū / aw w, /uː/, /aw/,
บางครั้ง u, o, และ ในคำยืม
ـو ـو و و
yā’ ยาอ์ y / ī / ay j, /iː/, /aj/,
บางครั้ง i, e, และ ในคำยืม
ـي ـيـ يـ ي [e]
  • ^a อลิฟแสดงได้หลายหน่วยเสียงในภาษาอาหรับ:
    1. ไม่มี เครื่องหมายแสดงเสียงสระ: ا
      • ต้นคำ: a, i   /a, i/ หรือเป็นรูปย่อของคำนำหน้านาม ال (a)l-
      • กลางหรือท้ายคำ: ā   /aː/.
    2. อลิฟ กับ ฮัมซะฮ์ ด้านบน: أ
      • ต้นคำ: ’a, ’u   /ʔa, ʔu/
      • กลางหรือท้ายคำ: ’a   /ʔa/.
    3. อลิฟ กับ ฮัมซะฮ์ ข้างล่าง: إ
      • ต้นคำ: ’i   /ʔi/; ไม่มีรูปกลางหรือท้ายคำ
    4. อลิฟ กับ มัดดะหฺ:آ
      • ต้น กลางหรือท้ายคำ: ’ā   /ʔaː/.
  • ^b p และ v แสดงด้วยپ และ ڤ‎/ڥ หรือไม่ใช้, ب และ ف‎/ڢ ใช้ได้ด้วยเช่นกัน
  • ^c สำหรับผู้พูดภาษาอาหรับ หน่วยเสียงɡ แสดงด้วยอักษรต่างกัน ขึ้นกับสำเนียง ج ใช้ทั่วไปในอียิปต์ และบางครั้งในเยเมนและโอมาน ق ใช้แทนเสียง ɡ ในสำเนียงท้องถิ่น ك หรือ غ ใช้ในที่ที่ɡ ไม่มีในสำเนียงท้องถิ่น อักษรอื่นๆ เช่น گ,‎ ݣ หรือ ڨ ใช้ได้เช่นกัน แต่ไม่ถือเป็นอักษรอาหรับมาตรฐาน ในที่ที่ ج แสดง ɡ สามารถใช้ สำหรับ ʒ~d͡ʒ, หรืออักษร چ ที่ใช้ได้ในอียิปต์
  • ^d Fā’ และ qāf ในมักเรบ เขียนเป็น ڢ และ ڧـ ـڧـ ـٯ ตามลำดับ โดยเขียนจุดที่ต้นคำหรือกลางคำ
  • ^e Yā’ รูปเดี่ยวและรูปท้ายคำในลายมือเขียนและตัวพิมพ์ในอียิปต์ ซูดาน และบางครั้งในที่อื่นด้วย จะไม่มีจุด ى ทำให้บางครั้งเกิดความสับสนกับ ’alif maqṣūrah

อักษรดัดแปลง

รูป ชื่อ ถอดอักษร หน่วยเสียง(IPA)
เดี่ยว ท้ายคำ กลางคำ ต้นคำ
آ ـآ آ ’alif maddah ’ā /ʔaː/
ة ـة tā’ marbūṭah h or
t / h /
/a/, /at/
ى ـى ’alif maqṣūrah ā / /aː/

การใช้อักษรอาหรับเขียนภาษาต่าง ๆ

มีการใช้อักษรอาหรับเขียนภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอาหรับอย่างกว้างขวาง โดยมีการปรับแต่งหรือเพิ่มลักษณะเพื่อแทนเสียงที่ต่างไปจากอักษรอาหรับตัวอย่างเช่น ภาษาอาหรับไม่มีเสียง/ป/ ฉะนั้น ภาษาอื่น ๆ ที่มีเสียง /ป/ จึงต้องสร้างอักษรของตัวเองขึ้นมา การเพิ่มเติมนี้แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ

  1. กลุ่มอักษรดัดแปลงของเปอร์เซียใช้กับภาษาในอินเดียทั้งหมดรวมทั้งภาษาตุรกี
  2. กลุ่มอักษรอยามีใช้ในแอฟริกาตะวันตก
  3. อักษรยาวีใช้ในภาษามลายู

ภาษาปัจจุบันที่เขียนด้วยอักษรอาหรับได้แก่

ภาษาที่เคยเขียนด้วยอักษรอาหรับมาก่อนแต่เลิกใช้แล้วในปัจจุบัน ได้แก่

การเขียนอักษรอาหรับ

การเขียนอักษรอาหรับเป็นการเขียนแบบต่อเนื่องกันไป อักษรแต่ละตัวมีรูปร่างต่างไปขึ้นกับตำแหน่งในคำว่าอยู่ต้น กลางหรือท้ายคำ มีอักษร 6 ตัวที่มีเพียงแบบเดี่ยวกับท้ายคำ ดังนั้นเมื่อตามหลังอักษรตัวอื่นจะไม่มีการเชื่อมต่อและอักษรตัวต่อไปจะใช้แบบต้นคำหรือแบบเดี่ยวถ้าไม่มีแบบต้นคำ อักษรที่ไม่มีแบบต้นคำหรือกลางคำจะไม่ใช้เป็นตัวตามอักษรอื่นแม้ภายในคำ ฮัมซะฮ์ ไม่ใช้นำหน้าหรือตามหลังอักษรอื่นบางครั้งใช้เขียนบนวาว ยาอุ หรือ อลิฟเพื่อแสดงเสียง/อ/ อลิฟ มักศูเราะฮ์ (alif maqsurah) ในภาษาอาหรับ รูปร่างเหมือนตัวยาอุที่ไม่มีจุดข้างล่าง (ی) ใช้เฉพาะตำแหน่งท้ายคำเท่านั้น ใช้แทนเสียงสระอา เช่นเดียวกับ อลิฟในภาษาเปอร์เซียและภาษาอูรดูเรียก ฟาร์ซี เยห์ (Farsi yeh) ซึ่งมีรูปต้นคำกับกลางคำด้วย ส่วนอลิฟ มักศูเราะฮ์ ไม่มีรูปดังกล่าว

การเชื่อมต่อ

 
องค์ประกอบของคำว่า อัลลอหฺ "Allah":
1. อลิฟ
2. ฮัมซะฮ์ (همزة وصل)
3. ลาม
4. ลาม
5. ชัดดะฮ์ (شدة)
6. อลิฟบน (ألف خنجرية)
7. เฮ

การเขียนอักษรอาหรับแบบเชื่อมต่อเป็นสิ่งที่เห็นได้โดยทั่วไป บางตัวมีรูปแบบเฉพาะ เช่น lām + ’alif

รูป ชื่อ
ท้ายคำ กลางคำ ต้นคำ เดี่ยว
lām + ’alif

การเชื่อมต่อที่เป็นรูปแบบเฉพาะคือ ลาม + อลิฟ ( لا) ตัวอย่างเช่นคำว่า อัลลอฮ์ เขียนได้เป็น اﷲ

ฮัมซะฮ์

ในระยะแรก อลิฟใช้แทนเสียง /อ/ ซึ่งเป็นลักษณะที่มาจากอักษรฟินิเชีย ปัจจุบันนำมาใช้แทนสระเสียงยาวเช่นเดียงกับวาวและยาอุ ทำให้เกิดความคลุมเครือว่าอลิฟตัวนั้นแทนเสียง /อ/ หรือสระอา อักษรอาหรับปัจจุบันจึงเพิ่มฮัมซะฮ์ใช้แทนเสียง /อ/ ซึ่งปรากฏได้ทุกที่ภายในคำ เขียนทั้งโดยลำพังและเกาะกับอักษรอื่น

ชัดดะฮ์

ชัดดะฮ์ ( ّّّ_ ّ( บ่งถึงการซ้ำพยัญชนะ โดยเขียนบนพยัญชนะตัวที่ 2 เมื่อมีการซ้ำ

ซุกูน

พยางค์ในภาษาอาหรับมีทั้งพยางค์เปิด และพยางค์ปิดซึ่งใช้กับสระเสียงสั้นเท่านั้น เมื่อเป็นพยางค์ปิดพยัญชนะตัวที่เป็นตัวสะกดจะไม่มีเสียงสระ และใช้เครื่องหมายซุกุนเพื่อลดความคลุมเครือ โดยเฉพาะเมื่อตัวหนังสือนั้นไม่ได้แสดงเครื่องหมายการออกเสียง ตัวหนังสือมาตรฐานนั้นจะมีแต่พยัญชนะเท่านั้น เช่น qalb “หัวใจ” เขียนเป็น qlb

ซุกูนเป็นตัวบ่งชี้ให้รู้ว่าตรงไหนไม่ต้องใส่เสียงสระ คำ qlb อาจหมายความว่าจะใส่เสียงสระเข้าที่ q l หรือ b ก็ได้ แต่เมื่อเติมซุกุนเหนือตัว l และ b ทำให้รู้ว่าต้องใส่สระที่ตัว q เท่านั้น เขียนได้ว่า قلْبْ เมื่อกำหนดการออกเสียงโดยสมบูรณ์จะเพิ่มเครื่องหมายฟัตฮะฮ์ เป็น قَلْبْ คัมภีร์อัลกุรอานเป็นหนังสือที่แสดงการออกเสียงโดยสมบูรณ์ นอกจากนั้นแล้ว การใส่ซุกูนเหนือตัวยาอุเพื่อกำหนด /อี/ และ วาว เพื่อกำหนด /อู/ พบน้อยมาก เพราะยาอุ + ซุกุน อาจอ่านเป็น /ไอ/ และวาว + ซุกุนอาจอ่านเป็น /อัว/

ตัวอักษร m-w-s-y-q-ā ( موسيقى มีอลิฟ มักศูเราะฮ์ที่ท้ายคำ) ปกติอ่านเป็น mūsīqā (ดนตรี) ถ้าเขียนซุกุนบนตัววาว ยาอุ และอลิฟ เป็น موْسيْقىْ จะอ่านเป็น mawsaykāy (ควรจำไว้ว่า อลิฟ มักศูเราะฮ์แม้จะอยู่ท้ายคำแต่ไม่ต้องใส่ซุกุน คำนี้จะถูกเขียนเป็น مُوْسِيْقَى ในคัมภีร์อัลกุรอาน (ถ้ามีคำนี้อยู่) หรือ مُوسِيقَى โดยทั่วไป ซุกุนจะไม่วางที่ตำแหน่งท้ายคำแม้ว่าพยัญชนะนั้นจะไม่มีเสียงสระ

สระ

ในภาษาอาหรับไม่เขียนสระเสียงสั้นยกเว้นในหนังสือศักดิ์สิทธิ์ เช่น อัลกุรอาน จะใช้เฉพาะเมื่อกิดความคลุมเครือขึ้น โดยเครื่องหมายสระเสียงสั้นจะเป็นเครื่องหมายอยู่บนหรือล่างพยัญชนะ ในกรณีสระเสียงยาว เช่น /อา/ จะแสดงโดยใช้เครื่องหมายสระเสียงสั้นคู่กับอลิฟ (/อา/) ยาอุ (/อี/) หรือ วาว (/อู/) เสียงสระอาตามด้วยฮัมซะฮ์จะแทนด้วยอลิฟ มัดดะหรือเขียนฮัมซะฮ์ แล้วตามด้วยอลิฟ อักษรยาอุที่แทนสระอาจเชื่อมต่อกับพยัญชนะตัวต่อไปได้

สระเสียงสั้น

สระเสียงสั้น
(แสดงเสียงอ่าน)
ชื่อ ถอดอักษร ค่า
064E
َ
fatḥah a /a/
064F
ُ
ḍammah u /u/
0650
ِ
kasrah i /i/

สระเสียงยาว

สระเสียงยาว
(แสดงเสียงอ่าน)
ชื่อ ถอดอักษร ค่า
064E 0627
َا
fatḥah ’alif ā /aː/
064E 0649
َى
fatḥah ’alif maqṣūrah ā / á /aː/
064F 0648
ُو
ḍammah wāw ū /uː/
0650 064A
ِي
kasrah yā’ ī /iː/
สระเสียงยาว
(ไม่แสดงเสียงอ่าน)
ชื่อ ถอดอักษร ค่า
0627
ا
(implied fatḥah) ’alif ā /aː/
0649
ى
(implied fatḥah) ’alif maqṣūrah ā / aỳ /aː/
0648
و
(implied ḍammah) wāw ū / uw /uː/
064A
ي
(implied kasrah) yā’ ī / iy /iː/

สระประสม

สระประสม
(แสดงเสียงอ่าน)
ชื่อ ถอดอักษร ค่า
064E 064A
َي
fatḥah yā’ ay /aj/
064E 0648
َو
fatḥah wāw aw /aw/

ตันวีน ( -ً -ٌ -ٍ )

ใช้กำหนดการลงท้ายทางไวยากรณ์ด้วย /อัน/ /อิน/ และ /อุน/ ในภาษาอาหรับโบราณมักใช้เชื่อมกับอลิฟ แต่ไม่ค่อยใช้ในภาษาสมัยใหม่

ตัวเลข

ตัวเลขที่ใช้มี 2 แบบ คือแบบมาตรฐานกับแบบอาหรับตะวันออก ที่ใช้ในอิหร่าน ปากีสถาน และอินเดีย ในภาษาอาหรับเรียกเลขนี้ว่า ตัวเลขอินเดีย (هنديه أرقام arqām hindiyyah) ในแอฟริกาเหนือปัจจุบันใช้ตัวเลขแบบตะวันตก ในยุคกลางมีการใช้ตัวเลขแบบตะวันตกที่ต่างไปเล็กน้อย (เช่นจากอิตาลี) การเขียนตัวเลขต่างจากตัวอักษรคือเขียนจากซ้ายไปขวา

นอกจากนี้อักษรอาหรับใช้แทนเลขได้ด้วยแต่ใช้น้อยในปัจจุบัน การใช้ขึ้นกับอันดับอับญะดีย์ เช่น ا= 1 ب = 2 ج= 3 จนกระทั่ง 1000 = غ

อักษรอาหรับและการทับศัพท์

พยัญชนะ

ข้อ อักษร ชื่ออักษร ภาษาไทย หมายเหตุ
1 / ا ฮัมซะฮ์/อลิฟ อ, สระ อา
  • ถ้าฮัมซะฮ์เป็นซุกูน จะเขียนเป็น <อ์> ในภาษาไทย เช่น <มะอ์มูร>
2 บาอ์
3 ตาอ์
4 ษาอ์
5 ญีม ญ, จญ์ ญะวาด, ฮัจญ์, ฮิจญ์เราะฮ์, ฮิญิร
6 หาอ์
7 คออ์
8 ดาล
9 ษาล
10 รออ์
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ร่อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เราะ>, <เราะฮ์> และ <เราะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ร่อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <รอ>
11 ซัย
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ซะ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ซา>
12 ซีน ซ, ส
  • ถ้าเป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ส> เช่น <อับบาส>
  • ถ้าสะกดด้วยสระ ในภาษาไทยเป็น <ซ> <อับบาซียะฮ์>
13 ชีน
14 ศ้อด
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ศ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เศาะ>, <เศาะฮ์> และ <เศาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ศ็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ศอ>
15 ฎ๊อด
  • ถ้าสะกดด้วยฎ็อมมะฮ์ หรือฎ็อมมะฮ์+วาว ใช้ ด เป็น <ดุ> และ <ดู> เนื่องจากถ้าเขียนด้วย ฎ และ สระอุหรือสระอูแล้ว สระทั้งสอง จะไม่ปรากฏออกมา
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ฎ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เฎาะ> <เฎาะฮ์> และ <เฎาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ฎ็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ฎอ>
16 ฏออ์
  • ถ้าสะกดด้วยฎ็อมมะฮ์ หรือฎ็อมมะฮ์+วาว ใช้ ต เป็น <ตุ> และ <ตู> เนื่องจากถ้าเขียนด้วย ฏ และ สระอุหรือสระอูแล้ว สระทั้งสอง จะไม่ปรากฏออกมา
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ฏ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เฏาะ>, <เฏาะฮ์> และ <เฏาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ฏ็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ฏอ>
17 ซออ์
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ซ่อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เซาะ>, <เซาะฮ์> และ <เซาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ซ่อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ซอ>
18 อัยน์
  • ถ้าเป็นซุกูน จะเขียน อ์ ในภาษาไทย เช่น <มะอ์มูร>
19 ฆอยน์
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ฆ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ฆอ>
20 ฟาอ์
21 ก๊อฟ
22 ก๊าฟ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ก็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เฏาะ>, <เกาะฮ์> และ <เกาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ก็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <กอ>
23 ลาม
24 มีม
25 นูน
26 วาว
27 ฮาอ์ ฮ, ห
  • ถ้าเป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ฮ์> เช่น <มะดีนะฮ์>
  • ถ้าสะกดด้วยสระ ในภาษาไทยเป็น <ฮ> เช่น <ฮิชาม>
28 ยาอ์
  • ถ้า ยาอ์ มีสัญลักษณ์ตัชดีด ในภาษาไทยจะสะกดเป็น ย และ การันต์ เช่น <อะลีย์>

สระ

ข้อ คำอ่าน เสียงสระ หมายเหตุ
1 ฟัตฮะฮ์ สระอะ ถ้าตัว خ, ر, ص,ض,ط,ظ,غ,قเจอกับฟัตฮะฮ์ จะเป็นสระเอาะ
2 กัสเราะฮ์ สระอิ
3 ฎ็อมมะฮ์ สระอุ
4 ฟัตฮะฮ์ + อลิฟ สระอา เสียงยาว ถ้าเป็น خ, ر, ص,ض,ط,ظ,غ,ق เจอกับฟัตฮะฮ์อลิฟจะเป็นสระออ
5 กัสเราะฮ์ + ยาอ์ สระอี เสียงยาว
6 ฎ็อมมะฮ์ + วาว สระอู เสียงยาว
7 ฟัตฮะฮ์ + ยาอ์ อัย,เอ ถ้าพยางค์นั้นลงท้ายด้วยพยัญชนะที่เป็นซุกูน จะเป็น สระเอ เช่น <ฮุเซน>, ถ้าเป็น خ , ر, ص, ض, ط,ظ,غ,ق เจอกับฟัตฮะฮ์ + ยาอ์ จะเป็นสระอ็อย
8 ฟัตฮะฮ์ + วาว เอา เช่น <เลา> خ , ر, ص, ض, ط,ظ,غ,ق จะเป็นสระอ็อว

หมายเหตุ

  1. ไม้ไต่คู้และสระออ <-็อ> ใช้กับ <ฎ>, <ฏ>, <ศ> เมื่อถอดรูปฟัตฮะฮ์ เช่น <ฎ็อ>, <ฏ็อ> <ศ็อ> และ <ก็อ>ถ้ามีตัวสะกด แต่อาจจะไม้ไต่คู้ละไว้ในฐานที่เข้าใจ เช่น <ฎอ>, <ฏอ> และ <ศอ>
  2. ไม้เอกและสระออ< -่อ> ใช้กับ <ร> เมื่อถอดรูปฟัตฮะฮ์ เช่น <ร่อซูล> แต่อาจจะละไว้ในฐานเข้าใจ เช่น <รอซูล>
  3. ไม่มีการตัดสระอะเมื่อถอดรูปฟัตฮะฮ์ นอกจากคำว่า นบี, อลิฟ เท่านั้น เช่น <อบูบักรฺ> จะต้องเป็น <อะบูบักรฺ>

ยูนิโคด

ดูเพิ่มเติมที่: อักษรอาหรับ/ผังยูนิโคด

อ้างอิง

  • การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอาหรับ
  1. ดูที่ʾalif maqṣūrah ที่ อลิฟ ในภาษาอาหรับ


แหล่งข้อมูลอื่น

  • อิสลาม.in.th : เพื่อความเข้าใจอิสลาม และมุสลิม

ดต, วอ, กษรอาหร, เป, นช, ดของอ, กษรท, ความสำค, ญในศาสนาอ, สลาม, เพราะค, มภ, ลก, รอานเข, ยนด, วยอ, กษรน, กษรน, งม, ใช, แพร, หลายในกล, มผ, บถ, อศาสนาอ, สลาม, แม, แต, ภาษานอกกล, มเซม, เช, ภาษาเปอร, เซ, ภาษาอ, รด, และภาษามลาย, ตตาน, วอ, กษรม, หลายแบบแต, ปร, างของอ. chudtwxksrxahrb epnchudkhxngxksrthimikhwamsakhyinsasnaxislam ephraakhmphirxlkurxanekhiyndwyxksrni xksrnicungmiichaephrhlayinklumphunbthuxsasnaxislam aemaetphasanxkklumesmitik echn phasaepxresiy phasaxurdu aelaphasamlayupttani twxksrmihlayaebbaetruprangkhxngxksrehmuxnknchudtwxksrxahrbchnidxksrirsraphasaphudphasaxahrbchwngyukhkh s 356 cnthungpccubnrabbaemihexxorklifxiyiptisnaydngedimfiniechiyaexraemxiknabathaexiynchudtwxksrxahrbchwngyuniokhdU 0600 U 06FF ArabicU 0750 U 077F Arabic SupplementU 08A0 U 08FF Arabic Extended AU FB50 U FDFF Arabic Presentation Forms AU FE70 U FEFF Arabic Presentation Forms BU 1EE00 U 1EEFF Arabic Mathematical Alphabetic SymbolsISO 15924Arabbthkhwamnimisylksnsthsastrsthxksrsakl hakimmikarsnbsnunernedxrthiehmaasm khunxacehnekhruxnghmaykhatham klxng hruxsylksnxunaethnxkkhrayuniokhdxksrxahrbﺍ ﺏ ﺕ ﺙ ﺝ ﺡ ﺥﺩ ﺫ ﺭ ﺯ ﺱ ﺵ ﺹﺽ ﻁ ﻅ ﻉ ﻍ ﻑ ﻕﻙ ﻝ ﻡ ﻥ ه ﻭ ﻱprawtixksrxahrbekhruxnghmaykarxxkesiyngfthah kseraah ء dxmmahelkhxahrb enuxha 1 okhrngsrangkhxngxksrxahrb 2 twxksrphunthan 2 1 xksrddaeplng 3 karichxksrxahrbekhiynphasatang 4 karekhiynxksrxahrb 4 1 karechuxmtx 4 2 hmsah 4 3 chddah 4 4 sukun 4 5 sra 4 5 1 sraesiyngsn 4 5 2 sraesiyngyaw 4 5 3 sraprasm 4 6 tnwin 4 7 twelkh 5 xksrxahrbaelakarthbsphth 5 1 phyychna 5 2 sra 6 hmayehtu 7 yuniokhd 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunokhrngsrangkhxngxksrxahrb aekikhekhiyncakkhwaipsay mixksrphunthan 28 tw karprbipekhiynphasaxun echn phasaepxresiyaelaphasaxurducaephimxksrxunekhama immikhwamaetktangrahwangtwphimphkbtwekhiynaelatwelkkbtwihy xksraetlatwcaekhiyntidkbxksrtwxunaeminkarphimphaelarupxksrepliynipkhunkbtaaehnnginkha immikarekhiynsraesiyngsn phuxantxngcdcaexaexngwakhakhannmiesiyngsraepnxyangir caekhiynechphaasraesiyngyawethann inkhmphirxlkurxanhruxinkarsxncaichekhruxnghmayaesdngkarxxkesiyng inhnngsuxrunihmcaaesdngekhruxnghmaykarykewnesiyngsra sukun aelaekhruxnghmayephimkhwamyawesiyngphyychna chddah chuxkhxngxksrxahrbmacakkhathimikhwamhmayinphasaesmitikaerkerim karcderiyngxksrxahrbmi 2 aebb rupaebbedimkhux aebbxbyadi Abjadi أبجدي epnkarcderiyngtamchudtwxksrfiniechiy khlaykbkareriyngaebb ABC inphasaxngkvs rupaebbthiichinpccubnkhux aebbhiyaxi Heja i هجائي sungeriyngtamruprangkhxngxksrkarcderiyngaebbxbyadi epnkarcbkhuxksrxahrb 28 twkbxksrfiniechiy 22 tw thiehluxxik 6 tw eriyngiwkhangthay ٲ ب ج ده و ذح ط ي ك ل م ن س ع ف ص قرش ت ث خ زض ظ غtwxksrphunthan aekikhxksrxahrbthiichekhiynphasaxahrb chux thxdxksr esiyng IPA ruprang xksrediywthaykha klangkha tnkha alif xlif a hlayaebb rwmthng aː a ـا ـا ا اba bax b b bangkhrng p inkhayum b ـب ـبـ بـ بta tax t t ـت ـتـ تـ تtha sax th hrux ṯ 8 ـث ـثـ ثـ ثjim yim j hrux ǧ g d ʒ ʒ ɡ c ـج ـجـ جـ جḥa hax ḥ ħ ـح ـحـ حـ حkha khxx kh also ḫ ḵ x ـخ ـخـ خـ خdal dal d d ـد ـد د دdhal sal sal dh hrux ḏ d ـذ ـذ ذ ذra rxx r r ـر ـر ر رzayn zay sy say z z ـز ـز ز زsin sin s s ـس ـسـ سـ سshin chin sh also s ʃ ـش ـشـ شـ شṣad sxd sxd ṣ sˤ ـص ـصـ صـ صḍad dxd dxd ḍ dˤ ـض ـضـ ضـ ضṭa txx ṭ tˤ ـط ـطـ طـ طẓa sxx sxx ẓ dˤ zˤ ـظ ـظـ ظـ ظ ayn xyn ʿ ʕ ـع ـعـ عـ عghayn khxyn gh also ġ ḡ ɣ bangkhrng ɡ inkhayum c ـغ ـغـ غـ غfa fax f f bangkhrng v inkhayum b ـف ـفـ فـ ف d qaf kxf q q bangkhrng ɡ inkhayum c ـق ـقـ قـ ق d kaf kaf k k bangkhrng ɡ inkhayum c ـك ـكـ كـ كlam lam l l ـل ـلـ لـ لmim mim m m ـم ـمـ مـ مnun nun n n ـن ـنـ نـ نha hax h h ـه ـهـ هـ هwaw ewa w u aw w uː aw bangkhrng u o aela oː inkhayum ـو ـو و وya yax y i ay j iː aj bangkhrng i e aela eː inkhayum ـي ـيـ يـ ي e a xlifaesdngidhlayhnwyesiynginphasaxahrb immi ekhruxnghmayaesdngesiyngsra ا tnkha a i a i hruxepnrupyxkhxngkhanahnanam ال a l klanghruxthaykha a aː xlif kb hmsah danbn أ tnkha a u ʔa ʔu klanghruxthaykha a ʔa xlif kb hmsah khanglang إ tnkha i ʔi immirupklanghruxthaykha xlif kb mddah آ tn klanghruxthaykha a ʔaː b p aela v aesdngdwyپ aela ڤ ڥ hruximich ب aela ف ڢ ichiddwyechnkn c sahrbphuphudphasaxahrb hnwyesiyngɡ aesdngdwyxksrtangkn khunkbsaeniyng ج ichthwipinxiyipt aelabangkhrngineyemnaelaoxman ق ichaethnesiyng ɡ insaeniyngthxngthin ك hrux غ ichinthithiɡ immiinsaeniyngthxngthin xksrxun echn گ ݣ hrux ڨ ichidechnkn aetimthuxepnxksrxahrbmatrthan inthithi ج aesdng ɡ samarthich sahrb ʒ d ʒ hruxxksr چ thiichidinxiyipt d Fa aela qaf inmkerb ekhiynepn ڢ aela ڧـ ـڧـ ـٯ tamladb odyekhiyncudthitnkhahruxklangkha e Ya rupediywaelarupthaykhainlaymuxekhiynaelatwphimphinxiyipt sudan aelabangkhrnginthixundwy caimmicud ى thaihbangkhrngekidkhwamsbsnkb alif maqṣurah xksrddaeplng aekikh rup chux thxdxksr hnwyesiyng IPA ediyw thaykha klangkha tnkhaآ ـآ آ alif maddah a ʔaː ة ـة ta marbuṭah h or t h ẗ a at ى ـى alif maqṣurah 1 a ỳ aː karichxksrxahrbekhiynphasatang aekikhmikarichxksrxahrbekhiynphasaxunthiimichphasaxahrbxyangkwangkhwang odymikarprbaetnghruxephimlksnaephuxaethnesiyngthitangipcakxksrxahrbtwxyangechn phasaxahrbimmiesiyng p chann phasaxun thimiesiyng p cungtxngsrangxksrkhxngtwexngkhunma karephimetimniaebngepn 3 klumkhux klumxksrddaeplngkhxngepxresiyichkbphasainxinediythnghmdrwmthngphasaturki klumxksrxyamiichinaexfrikatawntk xksryawiichinphasamlayuphasapccubnthiekhiyndwyxksrxahrbidaek phasaekhirdaelaphasaetirkemninxirk phasaepxresiy phasaxaesxri phasaowrani ekhrid phasabaolchi inxihran phasadari phasapathanaelaphasaxusebkinxfkanisthan phasaxurdu phasapycab chahmukhi phasasinthi phasaaekhchemiyr aelaphasabaolchiinpakisthan phasaxurduaelaphasaaekhchemiyrinxinediy phasaxuykur phasakhaskhaelaphasakhirkisincin phasamlayuinbruin aelaichepnphasatarasasnaxislaminithy maelesiy xinodniesiy phasaokhomrxs ichrwmkbxksrlatin phasaowlxfinsaxir khxngok phasahwsaichinthangsasna phasamndinka phasathamaistaelaphasaklumebxrebxrxun phasathiekhyekhiyndwyxksrxahrbmakxnaetelikichaelwinpccubn idaek phasaaexlebeniy phasaxaesxribcan phasaeblarus phasaebxrebxr phasabxseniy phasakhaskh inkhaskhsthan phasakhirkis inkhirkissthan phasamlayu inmaelesiyaelaxinodniesiy phasamwr phasasnskvt phasaosmali phasaturki xxtotmn phasaetirkemn inetirkemnisthan phasaxusebk inxusebkisthan phasakhxngchawmusliminxditosewiytrsesiykarekhiynxksrxahrb aekikhkarekhiynxksrxahrbepnkarekhiynaebbtxenuxngknip xksraetlatwmiruprangtangipkhunkbtaaehnnginkhawaxyutn klanghruxthaykha mixksr 6 twthimiephiyngaebbediywkbthaykha dngnnemuxtamhlngxksrtwxuncaimmikarechuxmtxaelaxksrtwtxipcaichaebbtnkhahruxaebbediywthaimmiaebbtnkha xksrthiimmiaebbtnkhahruxklangkhacaimichepntwtamxksrxunaemphayinkha hmsah imichnahnahruxtamhlngxksrxunbangkhrngichekhiynbnwaw yaxu hrux xlifephuxaesdngesiyng x xlif mksueraah alif maqsurah inphasaxahrb ruprangehmuxntwyaxuthiimmicudkhanglang ی ichechphaataaehnngthaykhaethann ichaethnesiyngsraxa echnediywkb xlifinphasaepxresiyaelaphasaxurdueriyk farsi eyh Farsi yeh sungmiruptnkhakbklangkhadwy swnxlif mksueraah immirupdngklaw karechuxmtx aekikh xngkhprakxbkhxngkhawa xllxh Allah 1 xlif2 hmsah همزة وصل 3 lam4 lam5 chddah شدة 6 xlifbn ألف خنجرية 7 eh karekhiynxksrxahrbaebbechuxmtxepnsingthiehnidodythwip bangtwmirupaebbechphaa echn lam alif rup chuxthaykha klangkha tnkha ediywﻼ ﻻ lam alifkarechuxmtxthiepnrupaebbechphaakhux lam xlif لا twxyangechnkhawa xllxh ekhiynidepn اﷲ hmsah aekikh inrayaaerk xlifichaethnesiyng x sungepnlksnathimacakxksrfiniechiy pccubnnamaichaethnsraesiyngyawechnediyngkbwawaelayaxu thaihekidkhwamkhlumekhruxwaxliftwnnaethnesiyng x hruxsraxa xksrxahrbpccubncungephimhmsahichaethnesiyng x sungpraktidthukthiphayinkha ekhiynthngodylaphngaelaekaakbxksrxun chddah aekikh chddah bngthungkarsaphyychna odyekhiynbnphyychnatwthi 2 emuxmikarsa sukun aekikh phyangkhinphasaxahrbmithngphyangkhepid aelaphyangkhpidsungichkbsraesiyngsnethann emuxepnphyangkhpidphyychnatwthiepntwsakdcaimmiesiyngsra aelaichekhruxnghmaysukunephuxldkhwamkhlumekhrux odyechphaaemuxtwhnngsuxnnimidaesdngekhruxnghmaykarxxkesiyng twhnngsuxmatrthannncamiaetphyychnaethann echn qalb hwic ekhiynepn qlbsukunepntwbngchiihruwatrngihnimtxngisesiyngsra kha qlb xachmaykhwamwacaisesiyngsraekhathi q l hrux b kid aetemuxetimsukunehnuxtw l aela b thaihruwatxngissrathitw q ethann ekhiynidwa قل ب emuxkahndkarxxkesiyngodysmburncaephimekhruxnghmayfthah epn ق ل ب khmphirxlkurxanepnhnngsuxthiaesdngkarxxkesiyngodysmburn nxkcaknnaelw karissukunehnuxtwyaxuephuxkahnd xi aela waw ephuxkahnd xu phbnxymak ephraayaxu sukun xacxanepn ix aelawaw sukunxacxanepn xw twxksr m w s y q a موسيقى mixlif mksueraahthithaykha pktixanepn musiqa dntri thaekhiynsukunbntwwaw yaxu aelaxlif epn مو سي قى caxanepn mawsaykay khwrcaiwwa xlif mksueraahaemcaxyuthaykhaaetimtxngissukun khanicathukekhiynepn م و س ي ق ى inkhmphirxlkurxan thamikhanixyu hrux م وس يق ى odythwip sukuncaimwangthitaaehnngthaykhaaemwaphyychnanncaimmiesiyngsra sra aekikh inphasaxahrbimekhiynsraesiyngsnykewninhnngsuxskdisiththi echn xlkurxan caichechphaaemuxkidkhwamkhlumekhruxkhun odyekhruxnghmaysraesiyngsncaepnekhruxnghmayxyubnhruxlangphyychna inkrnisraesiyngyaw echn xa caaesdngodyichekhruxnghmaysraesiyngsnkhukbxlif xa yaxu xi hrux waw xu esiyngsraxatamdwyhmsahcaaethndwyxlif mddahruxekhiynhmsah aelwtamdwyxlif xksryaxuthiaethnsraxacechuxmtxkbphyychnatwtxipid sraesiyngsn aekikh sraesiyngsn aesdngesiyngxan chux thxdxksr kha064E fatḥah a a 064F ḍammah u u 0650 kasrah i i sraesiyngyaw aekikh sraesiyngyaw aesdngesiyngxan chux thxdxksr kha064E 0627 ا fatḥah alif a aː 064E 0649 ى fatḥah alif maqṣurah a a aː 064F 0648 و ḍammah waw u uː 0650 064A ي kasrah ya i iː sraesiyngyaw imaesdngesiyngxan chux thxdxksr kha0627ا implied fatḥah alif a aː 0649ى implied fatḥah alif maqṣurah a aỳ aː 0648و implied ḍammah waw u uw uː 064Aي implied kasrah ya i iy iː sraprasm aekikh sraprasm aesdngesiyngxan chux thxdxksr kha064E 064A ي fatḥah ya ay aj 064E 0648 و fatḥah waw aw aw tnwin aekikh ichkahndkarlngthaythangiwyakrndwy xn xin aela xun inphasaxahrbobranmkichechuxmkbxlif aetimkhxyichinphasasmyihm twelkh aekikh twelkhthiichmi 2 aebb khuxaebbmatrthankbaebbxahrbtawnxxk thiichinxihran pakisthan aelaxinediy inphasaxahrberiykelkhniwa twelkhxinediy هنديه أرقام arqam hindiyyah inaexfrikaehnuxpccubnichtwelkhaebbtawntk inyukhklangmikarichtwelkhaebbtawntkthitangipelknxy echncakxitali karekhiyntwelkhtangcaktwxksrkhuxekhiyncaksayipkhwanxkcaknixksrxahrbichaethnelkhiddwyaetichnxyinpccubn karichkhunkbxndbxbyadiy echn ا 1 ب 2 ج 3 cnkrathng 1000 غxksrxahrbaelakarthbsphth aekikhphyychna aekikh khx xksr chuxxksr phasaithy hmayehtu1 ﺀ ا hmsah xlif x sra xa thahmsahepnsukun caekhiynepn lt x gt inphasaithy echn lt maxmur gt 2 ﺏ bax b3 ﺕ tax t4 ﺙ sax s5 ﺝ yim y cy yawad hcy hicyeraah hiyir6 ﺡ hax h7 ﺥ khxx kh8 ﺩ dal d9 ﺫ sal s10 ﺭ rxx r thasakddwyfthah inphasaithyepn lt rx gt thasakddwyfthah tamdwyphyychnahmsah hax aelahaxthiepnsukun inphasaithyepn lt eraa gt lt eraah gt aela lt eraah gt tamladb thasakddwyfthah tamdwyphphyychnaxunthiepnsukun inphasaithyepn lt rxn gt epntn thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt rx gt 11 ﺯ sy s thasakddwyfthah inphasaithyepn lt sa gt thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt sa gt 12 ﺱ sin s s thaepnsukun inphasaithyepn lt s gt echn lt xbbas gt thasakddwysra inphasaithyepn lt s gt lt xbbasiyah gt 13 ﺵ chin ch14 ﺹ sxd s thasakddwyfthah inphasaithyepn lt sx gt thasakddwyfthah tamdwyphyychnahmsah hax aelahaxthiepnsukun inphasaithyepn lt esaa gt lt esaah gt aela lt esaah gt tamladb thasakddwyfthah tamdwyphphyychnaxunthiepnsukun inphasaithyepn lt sxn gt epntn thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt sx gt 15 ﺽ dxd d thasakddwydxmmah hruxdxmmah waw ich d epn lt du gt aela lt du gt enuxngcakthaekhiyndwy d aela sraxuhruxsraxuaelw srathngsxng caimpraktxxkma thasakddwyfthah inphasaithyepn lt dx gt thasakddwyfthah tamdwyphyychnahmsah hax aelahaxthiepnsukun inphasaithyepn lt edaa gt lt edaah gt aela lt edaah gt tamladb thasakddwyfthah tamdwyphyychnaxunthiepnsukun inphasaithyepn lt dxn gt epntn thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt dx gt 16 ﻁ txx t thasakddwydxmmah hruxdxmmah waw ich t epn lt tu gt aela lt tu gt enuxngcakthaekhiyndwy t aela sraxuhruxsraxuaelw srathngsxng caimpraktxxkma thasakddwyfthah inphasaithyepn lt tx gt thasakddwyfthah tamdwyphyychnahmsah hax aelahaxthiepnsukun inphasaithyepn lt etaa gt lt etaah gt aela lt etaah gt tamladb thasakddwyfthah tamdwyphphyychnaxunthiepnsukun inphasaithyepn lt txn gt epntn thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt tx gt 17 ﻅ sxx s thasakddwyfthah inphasaithyepn lt sx gt thasakddwyfthah tamdwyphyychnahmsah hax aelahaxthiepnsukun inphasaithyepn lt esaa gt lt esaah gt aela lt esaah gt tamladb thasakddwyfthah tamdwyphphyychnaxunthiepnsukun inphasaithyepn lt sxn gt epntn thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt sx gt 18 ﻉ xyn x thaepnsukun caekhiyn x inphasaithy echn lt maxmur gt 19 ﻍ khxyn kh thasakddwyfthah inphasaithyepn lt khx gt thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt khx gt 20 ﻑ fax f21 ﻕ kxf k22 ﻙ kaf k thasakddwyfthah inphasaithyepn lt kx gt thasakddwyfthah tamdwyphyychnahmsah hax aelahaxthiepnsukun inphasaithyepn lt etaa gt lt ekaah gt aela lt ekaah gt tamladb thasakddwyfthah tamdwyphphyychnaxunthiepnsukun inphasaithyepn lt kxn gt epntn thasakddwyfthah xlif inphasaithyepn lt kx gt 23 ﻝ lam l24 ﻡ mim m25 ﻥ nun n26 ﻭ waw w27 ﻩ hax h h thaepnsukun inphasaithyepn lt h gt echn lt madinah gt thasakddwysra inphasaithyepn lt h gt echn lt hicham gt 28 ﻱ yax y tha yax misylksntchdid inphasaithycasakdepn y aela karnt echn lt xaliy gt sra aekikh khx khaxan esiyngsra hmayehtu1 fthah sraxa thatw خ ر ص ض ط ظ غ قecxkbfthah caepnsraexaa2 kseraah sraxi3 dxmmah sraxu4 fthah xlif sraxa esiyngyaw thaepn خ ر ص ض ط ظ غ ق ecxkbfthahxlifcaepnsraxx5 kseraah yax sraxi esiyngyaw6 dxmmah waw sraxu esiyngyaw7 fthah yax xy ex thaphyangkhnnlngthaydwyphyychnathiepnsukun caepn sraex echn lt huesn gt thaepn خ ر ص ض ط ظ غ ق ecxkbfthah yax caepnsraxxy8 fthah waw exa echn lt ela gt خ ر ص ض ط ظ غ ق caepnsraxxwhmayehtu aekikhimitkhuaelasraxx lt x gt ichkb lt d gt lt t gt lt s gt emuxthxdrupfthah echn lt dx gt lt tx gt lt sx gt aela lt kx gt thamitwsakd aetxaccaimitkhulaiwinthanthiekhaic echn lt dx gt lt tx gt aela lt sx gt imexkaelasraxx lt x gt ichkb lt r gt emuxthxdrupfthah echn lt rxsul gt aetxaccalaiwinthanekhaic echn lt rxsul gt immikartdsraxaemuxthxdrupfthah nxkcakkhawa nbi xlif ethann echn lt xbubkr gt catxngepn lt xabubkr gt yuniokhd aekikhduephimetimthi xksrxahrb phngyuniokhdxangxing aekikhkarekhiynkhathbsphthphasaxahrb duthiʾalif maqṣurah thi xlif inphasaxahrbaehlngkhxmulxun aekikhxislam in th ephuxkhwamekhaicxislam aelamuslimekhathungcak https th wikipedia org w index php title chudtwxksrxahrb amp oldid 9349923, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม