fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาปัญจาบ

ภาษาปัญจาบ หรือ ปัญจาบี หรือ ปัญชาพี (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī ,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī ) เป็นภาษาของชาวปัญจาบ และภูมิภาคปัญจาบของประเทศอินเดีย และประเทศปากีสถาน

ภาษาปัญจาบ
ਪੰਜਾਬੀ, پنجابی
[[File:|200px]]
ประเทศที่มีการพูดปากีสถาน อินเดีย และประเทศอื่น ๆ ที่มีผู้อพยพชาวปัญจาบ
ภูมิภาคภูมิภาคปัญจาบ
จำนวนผู้พูดตะวันตก: 61-62 ล้าน
ตะวันออก: 28 ล้าน
สิไรกิ: 14 ล้าน
ทั้งหมด: 104 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนคุรมุขี (Gurmukhi), ชาห์มุขี (Shahmukhi)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการปัญจาบ (อินเดีย) จันทคฤห์ เดลี
รหัสภาษา
ISO 639-1pa
ISO 639-2pan
ISO 639-3มีหลากหลาย:
pan — ภาษาปัญจาบ (ทั่วไป)
pnb — ภาษาปัญจาบ (ตะวันตก)
pmu — ภาษาปัญจาบ (มีรปุรี)
lah — ภาษาลาห์นดิ

ภาษาปัญจาบเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน ในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนภาษาเดียวที่เป็นภาษาวรรณยุกต์ ซึ่งวรรณยุกต์เกิดจากการออกเสียงพยัญชนะชุดต่าง ๆ ด้วยเสียงสูงต่ำที่ต่างกัน ในเรื่องของความซับซ้อนของรูปศัพท์ เป็นภาษาที่ใช้คำประกอบ (agglutinative language) และมักจะเรียงคำตามลำดับ 'ประธาน กรรม กิริยา'

ชาวปัญจาบได้ถูกแบ่งระหว่างอินเดียและปากีสถานระหว่างการแบ่งอินเดียเมื่อพ.ศ. 2490 อย่างไรก็ดี ภาษาและวัฒนธรรมปัญจาบมักเป็นปัจจัยที่ทำให้ชาวปัญจาบอยู่รวมกันไม่ว่าจะสัญชาติหรือศาสนาใด มีชาวปัญจาบอพยพจำนวนมากในหลายประเทศเช่น สหรัฐ ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา ภาษาปัญจาบเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของชาวสิกข์ที่ใช้เขียนวรรณกรรมทางศาสนา เป็นภาษาที่ใช้ในดนตรีภันคระที่แพร่หลายในเอเชียใต้

สำเนียงและการแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์

ภาษาปัญจาบ เป็นภาษาราชการของรัฐปัญจาบในอินเดีย และเป็นภาษาราชการร่วมในรัฐข้างเคียงคือ จันทิครห์ เดลฮี และหรยณะ มีผู้พูดในบริเวณใกล้เคียงเช่นแคชเมียร์และหิมาจัลประเทศ เป็นภาษาหลักของจังหวัดปัญจาบในปากีสถานแต่ไม่มีสถานะเป็นภาษาราชการ โดยภาษาราชการในบริเวณดังกล่าวคือภาษาอูรดูและภาษาอังกฤษ

ภาษาปัญจาบมีสำเนียงต่างๆมากมาย โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาสินธีในปากีสถานและภาษาฮินดีในประเทศอินเดีย สำเนียงหลักของภาษาปัญจาบคือ ลาโฮรี ดัรบี มัลไว และโปวาธี ในอินเดีย สำเนียง โปโกฮารี ลัห์นดี และ มุลตานีในปากีสถาน สำเนียงลาโอรีเป็นสำเนียงมาตรฐานสำหรับภาษาเขียนของภาษาปัญจาบ บางสำเนียงเช่นสำเนียงโดกรี สิไรกิ และอินห์โก บางครั้งแยกออกเป็นอีกภาษาต่างหาก

ภาษาปัญจาบตะวันตกและตะวันออก

แหล่งข้อมูลบางแหล่งแบ่งภาษาปัญจาบเป็นภาษาปัญจาบตะวันตกหรือลัห์นดี กับภาษาปัญจาบตะวันออกซึ่งเป็นข้อมูลที่อ้างอิงจาก G.A. Grierson นักภาษาศาสตร์ท่เข้าไปสำรวจในอินเดีย Grierson กำหนดว่าภาษาปัญจาบตะวันตกคือภาษาที่ใช้พูดทางตะวันตกของเส้นแบ่งแนวเหนือใต้จากตำบลสาหิวัลไปตำบลคุชรานวาลา อย่างไรก็ตามข้อเสนอนี้ยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่

คำศัพท์

คำศัพท์ภาษาปัญจาบสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับ ภาษาอูรดู ภาษาเปอร์เซีย และภาษาสันสกฤต ภาษาที่ใช้ในหมู่ผู้อพยพชาวปัญจาบจะมีคำยืมจากภาษาที่ใช้ในบริเวณนั้น เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน ภาษาดัตช์

อ้างอิง

อ้างอิง

  1. Bhatia, T. "Punjabi: A Cognitive-Descriptive Grammar", 1993. p 279. ISBN 0-415-00320-2

ข้อมูล

  • Bhardwaj, Mangat Rai (2016), Panjabi: A Comprehensive Grammar, Routledge, doi:10.4324/9781315760803, ISBN 9781138793859.
  • Bhatia, Tej K. (2008), "Major regional languages", ใน Braj B. Kachru; Yamuna Kachru; S.N. Sridhar (บ.ก.), Language in South Asia, Cambridge University Press, pp. 121–131, doi:10.1017/CBO9780511619069.008, ISBN 9780511619069.
  • แม่แบบ:Cite LSI
  • Jain, Dhanesh (2003), "Sociolinguistics of the Indo-Aryan Languages", ใน Cardona, George; Jain, Dhanesh (บ.ก.), The Indo-Aryan Languages, Routledge, pp. 46–66, ISBN 978-0-415-77294-5.
  • Masica, Colin (1991), The Indo-Aryan Languages, Cambridge: Cambridge University Press, ISBN 978-0-521-29944-2.
  • Nayar, Baldev Raj (1966), Minority Politics in the Punjab, Princeton University Press, ISBN 9781400875948.
  • Shackle, Christopher (2003), "Panjabi", ใน Cardona, George; Jain, Dhanesh (บ.ก.), The Indo-Aryan Languages, Routledge, pp. 581–621, ISBN 978-0-415-77294-5.

อ่านเพิ่ม

  • Bhatia, Tej. 1993 and 2010. Punjabi : a cognitive-descriptive grammar. London: Routledge. Series: Descriptive grammars.
  • Gill H.S. [Harjit Singh] and Gleason, H.A. 1969. A reference grammar of Punjabi. Revised edition. Patiala, Punjab, India: Languages Department, Punjab University.
  • Chopra, R. M., Perso-Arabic Words in Punjabi, in: Indo-Iranica Vol.53 (1–4).
  • Chopra, R. M.., The Legacy of The Punjab, 1997, Punjabee Bradree, Calcutta.
  • Singh, Chander Shekhar (2004). Punjabi Prosody: The Old Tradition and The New Paradigm. Sri Lanka: Polgasowita: Sikuru Prakasakayo.
  • Singh, Chander Shekhar (2014). Punjabi Intonation: An Experimental Study. Muenchen: LINCOM EUROPA.

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิตำรา มีคู่มือ ตำรา หรือวิธีการเกี่ยวกับ:
Punjabi

  ภาษาปัญจาบ ข้อมูลการท่องเที่ยวจาก วิกิท่องเที่ยว

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาปัญจาบ
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาปัญจาบ

ภาษาป, ญจาบ, หร, ญจาบ, หร, ญชาพ, กษรค, รม, paṁjābī, กษรชาห, پنجابی, panjābī, เป, นภาษาของชาวป, ญจาบ, และภ, ภาคป, ญจาบของประเทศอ, นเด, และประเทศปาก, สถานਪ, پنجابی, file, 200px, ประเทศท, การพ, ดปาก, สถาน, นเด, และประเทศอ, อพยพชาวป, ญจาบภ, ภาคภ, ภาคป, ญจาบจำนวนผ,. phasapycab hrux pycabi hrux pychaphi xksrkhurmukhi ਪ ਜ ਬ Paṁjabi xksrchahmukhi پنجابی Panjabi epnphasakhxngchawpycab aelaphumiphakhpycabkhxngpraethsxinediy aelapraethspakisthanphasapycabਪ ਜ ਬ پنجابی File 200px praethsthimikarphudpakisthan xinediy aelapraethsxun thimiphuxphyphchawpycabphumiphakhphumiphakhpycabcanwnphuphudtawntk 61 62 lantawnxxk 28 lansiirki 14 lanthnghmd 104 lan imphbwnthi trakulphasaxinod yuorepiyn xinod xiereniynxinod xarynphasapycabrabbkarekhiynkhurmukhi Gurmukhi chahmukhi Shahmukhi sthanphaphthangkarphasathangkarpycab xinediy cnthkhvh edlirhsphasaISO 639 1paISO 639 2panISO 639 3mihlakhlay pan phasapycab thwip pnb phasapycab tawntk pmu phasapycab mirpuri lah phasalahndiphasapycabepnphasaklumxinod yuorepiyn inklumyxyxinod xiereniyn epnphasaklumxinod yuorepiynphasaediywthiepnphasawrrnyukt sungwrrnyuktekidcakkarxxkesiyngphyychnachudtang dwyesiyngsungtathitangkn ineruxngkhxngkhwamsbsxnkhxngrupsphth epnphasathiichkhaprakxb agglutinative language 1 aelamkcaeriyngkhatamladb prathan krrm kiriya chawpycabidthukaebngrahwangxinediyaelapakisthanrahwangkaraebngxinediyemuxph s 2490 xyangirkdi phasaaelawthnthrrmpycabmkepnpccythithaihchawpycabxyurwmknimwacasychatihruxsasnaid michawpycabxphyphcanwnmakinhlaypraethsechn shrth xxsetreliy xngkvs aekhnada phasapycabepnphasaskdisiththikhxngchawsikkhthiichekhiynwrrnkrrmthangsasna epnphasathiichindntriphnkhrathiaephrhlayinexechiyit enuxha 1 saeniyngaelakaraephrkracaythangphumisastr 2 phasapycabtawntkaelatawnxxk 3 khasphth 4 xangxing 4 1 xangxing 4 2 khxmul 5 xanephim 6 aehlngkhxmulxunsaeniyngaelakaraephrkracaythangphumisastr aekikhphasapycab epnphasarachkarkhxngrthpycabinxinediy aelaepnphasarachkarrwminrthkhangekhiyngkhux cnthikhrh edlhi aelahryna miphuphudinbriewniklekhiyngechnaekhchemiyraelahimaclpraeths epnphasahlkkhxngcnghwdpycabinpakisthanaetimmisthanaepnphasarachkar odyphasarachkarinbriewndngklawkhuxphasaxurduaelaphasaxngkvsphasapycabmisaeniyngtangmakmay odyidrbxiththiphlcakphasasinthiinpakisthanaelaphasahindiinpraethsxinediy saeniynghlkkhxngphasapycabkhux laohri drbi mliw aelaopwathi inxinediy saeniyng opokhari lhndi aela multaniinpakisthan saeniynglaoxriepnsaeniyngmatrthansahrbphasaekhiynkhxngphasapycab bangsaeniyngechnsaeniyngodkri siirki aelaxinhok bangkhrngaeykxxkepnxikphasatanghakphasapycabtawntkaelatawnxxk aekikhaehlngkhxmulbangaehlngaebngphasapycabepnphasapycabtawntkhruxlhndi kbphasapycabtawnxxksungepnkhxmulthixangxingcak G A Grierson nkphasasastrthekhaipsarwcinxinediy Grierson kahndwaphasapycabtawntkkhuxphasathiichphudthangtawntkkhxngesnaebngaenwehnuxitcaktablsahiwliptablkhuchranwala xyangirktamkhxesnxniyngepnthiotaeyngknxyukhasphth aekikhkhasphthphasapycabsmyihmidrbxiththiphlcakphasaxahrb phasaxurdu phasaepxresiy aelaphasasnskvt phasathiichinhmuphuxphyphchawpycabcamikhayumcakphasathiichinbriewnnn echn phasaxngkvs phasasepn phasadtchxangxing aekikhxangxing aekikh Bhatia T Punjabi A Cognitive Descriptive Grammar 1993 p 279 ISBN 0 415 00320 2 khxmul aekikh Bhardwaj Mangat Rai 2016 Panjabi A Comprehensive Grammar Routledge doi 10 4324 9781315760803 ISBN 9781138793859 Bhatia Tej K 2008 Major regional languages in Braj B Kachru Yamuna Kachru S N Sridhar b k Language in South Asia Cambridge University Press pp 121 131 doi 10 1017 CBO9780511619069 008 ISBN 9780511619069 aemaebb Cite LSI Jain Dhanesh 2003 Sociolinguistics of the Indo Aryan Languages in Cardona George Jain Dhanesh b k The Indo Aryan Languages Routledge pp 46 66 ISBN 978 0 415 77294 5 Masica Colin 1991 The Indo Aryan Languages Cambridge Cambridge University Press ISBN 978 0 521 29944 2 Nayar Baldev Raj 1966 Minority Politics in the Punjab Princeton University Press ISBN 9781400875948 Shackle Christopher 2003 Panjabi in Cardona George Jain Dhanesh b k The Indo Aryan Languages Routledge pp 581 621 ISBN 978 0 415 77294 5 xanephim aekikhBhatia Tej 1993 and 2010 Punjabi a cognitive descriptive grammar London Routledge Series Descriptive grammars Gill H S Harjit Singh and Gleason H A 1969 A reference grammar of Punjabi Revised edition Patiala Punjab India Languages Department Punjab University Chopra R M Perso Arabic Words in Punjabi in Indo Iranica Vol 53 1 4 Chopra R M The Legacy of The Punjab 1997 Punjabee Bradree Calcutta Singh Chander Shekhar 2004 Punjabi Prosody The Old Tradition and The New Paradigm Sri Lanka Polgasowita Sikuru Prakasakayo Singh Chander Shekhar 2014 Punjabi Intonation An Experimental Study Muenchen LINCOM EUROPA aehlngkhxmulxun aekikh wikitara mikhumux tara hruxwithikarekiywkb Punjabi khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb phasapycab phasapycab khxmulkarthxngethiywcak wikithxngethiyw wikiphiediy saranukrmesri inphasapycab wikiphiediy saranukrmesri inphasapycab phasapycab thiewbist Curlie English to Punjabi Dictionary Archived 10 minakhm 2010 thi ewyaebkaemchchinekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasapycab amp oldid 9536136, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม