fbpx
วิกิพีเดีย

กราฟระบุทิศทาง

ในทฤษฎีกราฟ กราฟระบุทิศทาง หรือ ไดกราฟ คือกราฟซึ่งเส้นเชื่อมมีทิศ กล่าวคือกราฟ (หรืออาจจะใช้ ก็ได้) โดยที่

  • เซต V เป็นเซตซึ่งสมาชิกคือจุดยอด หรืออาจเรียกว่าโหนด หรือปม
  • เซต A เป็นเซตของเส้นเชื่อมมีทิศทาง ซึ่งเป็นคู่อันดับของจุดยอด สำหรับเส้นเชื่อมของกราฟระบุทิศทาง อาจเรียกว่าเส้นเชื่อมมีทิศทางหรือลูกศร (และสำหรับเซตของเส้นเชื่อม (edge) นี้ ในบางครั้งอาจใช้ E แทน A)
กราฟระบุทิศทาง

กราฟระบุทิศทางแตกต่างจากกราฟไม่ระบุทิศทางตรงเซตของเส้นเชื่อม ซึ่งเส้นเชื่อมของกราฟระบุทิศทางจะเป็นคู่อันดับของจุดยอด ในขณะที่เส้นเชื่อมของกราฟไม่ระบุทิศทางจะเป็นคู่ไม่อันดับของจุดยอด

เนื่องจากกราฟอาจจะเป็นกราฟอย่างง่ายหรือมัลติกราฟก็ได้ บางครั้งจึงอาจเรียกประเภทเข้าไปด้วยว่า กราฟระบุทิศอย่างง่าย หรือ มัลติกราฟที่มีทิศทาง ซึ่งสำหรับมัลติกราฟนั้น A จะเป็นมัลติเซตแทนที่เซต เพื่อให้สามารถมีเส้นเชื่อมมากกว่า 1 เส้นระหว่างคู่ของจุดยอดได้ อย่างไรก็ตาม มัลติกราฟจะสามารถมีวงวน (เส้นเชื่อมที่ปลายทั้งสองด้านต่อกับจุดยอดจุดเดียวกัน) ได้หรือไม่ก็ยังแตกต่างกันไปตามแต่ที่กำหนดให้

นิยามทั่วไป

เส้นเชื่อมมีทิศทาง   เป็นเส้นเชื่อมจาก   ไป   โดยที่   เรียกว่าหัว ส่วน   เรียกว่าหางของเส้นเชื่อม นอกจากนี้ y นั้นถือว่าเป็นจุดยอดข้างหลังโดยตรง ในขณะที่ x ถือว่าเป็นจุดยอดก่อนหน้าโดยตรง สำหรับวิถีจาก x ไปยัง y จะได้ว่า y เป็นจุดยอดข้างหลัง ส่วน x เป็นจุดยอดก่อนหน้า เส้นเชื่อมมีทิศทาง   จะถูกเรียกว่าเป็นเส้นเชื่อมกลับทิศของ  

กราฟระบุทิศทาง D จะถูกเรียกว่าสมมาตร ก็ต่อเมื่อทุกๆเส้นเชื่อมนั้น มีเส้นเชื่อมกลับทิศอยู่ในกราฟด้วย ในแง่การไปถึงกันได้ กราฟระบุทิศทางที่สมมาตร D จะเทียบเท่ากับกราฟไม่ระบุทิศทาง G โดยที่เส้นเชื่อม (x,y) และ (y,x) เทียบเท่ากับเส้นเชื่อม {x,y} ดังนั้น หากเปรียบเทียบระหว่างกราฟระบุทิศทางที่สมมาตรและกราฟไม่ระบุทิศทางที่เทียบเท่ากัน จะได้ว่า |E| = |A|/2

การกำหนดทิศทาง คือการนำกราฟไม่ระบุทิศทางอย่างง่ายมากำหนดทิศทางของแต่ละเส้นเชื่อมอย่างไรก็ได้ให้กลายเป็นกราฟระบุทิศทาง กราฟที่ได้จากการกำหนดทิศทางนี้เรียกว่ากราฟกำหนดทิศทาง มีคุณสมบัติคือจะไม่มีวงวนหรือวัฏจักรขนาด 2

กราฟระบุทิศทางถ่วงน้ำหนัก คือกราฟระบุทิศทางที่เป็นกราฟถ่วงน้ำหนักด้วย อาจเรียกกราฟระบุทิศทางถ่วงน้ำหนักว่าเครือข่าย

การเก็บข้อมูลกราฟระบุทิศทางนั้น อาจทำได้โดยการใช้เมทริกซ์ประชิด ในกรณีที่กราฟเป็นกราฟเทียม (นั่นคือมีวงวนและเส้นเชื่อมขนานได้) เมทริกซ์เก็บข้อมูลจะเป็นเมทริกซ์ของตัวเลขขนาด   โดย n คือจำนวนจุดยอดของกราฟ aij ซึ่ง   แสดงถึงจำนวนเส้นเชื่อมมีทิศทางจากจุดยอด i ไป j ส่วน aii แสดงถึงจำนวนของวงวนที่จุดยอด i หากเป็นกราฟอย่างง่าย จะได้ว่าเมทริกซ์ที่กล่าวมานี้จะเป็นเมทริกซ์ฐานสอง

นอกจากนี้ การเก็บข้อมูลกราฟระบุทิศทาง อาจใช้เมทริกซ์ตกกระทบก็ได้

ระดับขั้นเข้าและระดับขั้นออก

 
กราฟระบุทิศทาง แต่ละจุดยอดแสดงถึง (ระดับขั้นเข้า, ระดับขั้นออก)

สำหรับจุดยอดใดๆ ระดับขั้นเข้าคือจำนวนเส้นเชื่อมที่พุ่งเข้าจุดยอดนั้นๆ (จุดยอดนั้นเป็นหัวของเส้นเชื่อม) ในขณะที่ระดับขั้นออกคือจำนวนเส้นเชื่อมที่พุ่งออกจากจุดยอดนั้นๆ (จุดยอดนั้นเป็นหางของเส้นเชื่อม) สำหรับต้นไม้ ระดับขั้นออกคือระดับแตกกิ่ง

ระดับขั้นเข้าเขียนได้ว่า   ส่วนระดับขั้นออกเขียนได้ว่า   จุดยอดที่มี   เรียกว่า ต้นทาง ในขณะที่จุดยอดที่มี   เรียกว่า ปลายทาง

จากสูตรผลรวมระดับขั้น สำหรับกราฟระบุทิศทางจะได้ว่า

 

ถ้าหากทุกๆจุดยอดนั้น   กราฟนี้จะเป็นกราฟสมดุล

ความต่อเนื่องของกราฟระบุทิศทาง

ดูบทความหลักที่: ความต่อเนื่อง (ทฤษฎีกราฟ)

กราฟระบุทิศทาง G จะเรียกว่ากราฟต่อเนื่องแบบอ่อน (weakly connected) หรืออาจเรียกว่ากราฟต่อเนื่อง (connected) ก็ต่อเมื่อนำกราฟระบุทิศทางนั้นมาเปลี่ยนเส้นเชื่อมที่มีทิศทางให้กลายเป็นเส้นเชื่อมไม่มีทิศทางให้หมด แล้วกราฟไม่ระบุทิศทางที่ได้เป็นกราฟต่อเนื่อง และกราฟระบุทิศทาง G จะเรียกว่ากราฟต่อเนื่องแบบเข้ม (strongly connected) ก็ต่อเมื่อทุกๆวิถีจาก u ไป v มีวิถีจาก v ไป u ด้วย นอกจากนี้ ส่วนประกอบแบบเข้ม (strongly components) คือกราฟย่อยที่มีขนาดมากที่สุดที่เป็นกราฟต่อเนื่องแบบเข้ม แนวคิดนี้นำไปสู่การแบ่งกราฟออกเป็นหลายๆส่วนโดยการหาส่วนประกอบแบบเข้มและลบออกจากกราฟเดิมไปเรื่อยๆ สุดท้ายจะได้ส่วนประกอบที่เชื่อมกันแบบเข้ม (strongly connected component)

กราฟระบุทิศทางประเภทต่างๆ

 
กราฟอวัฏจักรระบุทิศทางอย่างง่าย
  • กราฟอวัฏจักรระบุทิศทาง (directed acyclic graph: DAG) คือ กราฟระบุทิศทาง ที่ไม่มีวัฏจักร
    • multitrees
    • oriented trees
    • rooted trees
  • tournament
  • quiver

อ้างอิง

  1. Bang-Jensen & Gutin (2000). Diestel (2005), Section 1.10. Bondy & Murty (1976), Section 10.
  2. Diestel (2005), Section 1.10.
  3. Satyanarayana, Bhavanari; Prasad, Kuncham Syam, Discrete Mathematics and Graph Theory, PHI Learning Pvt. Ltd., p. 460, ISBN 978-81-203-3842-5; Brualdi, Richard A. (2006), Combinatorial matrix classes, Encyclopedia of mathematics and its applications, 108, Cambridge University Press, p. 51, ISBN 978-0-521-86565-4.
  4. Bang-Jensen & Gutin (2000) p. 19 in the 2007 edition; p. 20 in the 2nd edition (2009).

กราฟระบ, ศทาง, ในทฤษฎ, กราฟ, หร, ไดกราฟ, อกราฟซ, งเส, นเช, อมม, กล, าวค, อกราฟ, displaystyle, หร, ออาจจะใช, displaystyle, ได, โดยท, เซต, เป, นเซตซ, งสมาช, กค, อจ, ดยอด, หร, ออาจเร, ยกว, าโหนด, หร, อปม, เซต, เป, นเซตของเส, นเช, อมม, ศทาง, งเป, นค, นด, บของจ, ดย. inthvsdikraf krafrabuthisthang hrux idkraf khuxkrafsungesnechuxmmithis klawkhuxkraf G V A displaystyle G V A hruxxaccaich G V E displaystyle G V E kid odythi 1 est V epnestsungsmachikkhuxcudyxd hruxxaceriykwaohnd hruxpm est A epnestkhxngesnechuxmmithisthang sungepnkhuxndbkhxngcudyxd sahrbesnechuxmkhxngkrafrabuthisthang xaceriykwaesnechuxmmithisthanghruxluksr aelasahrbestkhxngesnechuxm edge ni inbangkhrngxacich E aethn A krafrabuthisthang krafrabuthisthangaetktangcakkrafimrabuthisthangtrngestkhxngesnechuxm sungesnechuxmkhxngkrafrabuthisthangcaepnkhuxndbkhxngcudyxd inkhnathiesnechuxmkhxngkrafimrabuthisthangcaepnkhuimxndbkhxngcudyxdenuxngcakkrafxaccaepnkrafxyangngayhruxmltikrafkid bangkhrngcungxaceriykpraephthekhaipdwywa krafrabuthisxyangngay hrux mltikrafthimithisthang sungsahrbmltikrafnn A caepnmltiestaethnthiest ephuxihsamarthmiesnechuxmmakkwa 1 esnrahwangkhukhxngcudyxdid xyangirktam mltikrafcasamarthmiwngwn esnechuxmthiplaythngsxngdantxkbcudyxdcudediywkn idhruximkyngaetktangkniptamaetthikahndih enuxha 1 niyamthwip 2 radbkhnekhaaelaradbkhnxxk 3 khwamtxenuxngkhxngkrafrabuthisthang 4 krafrabuthisthangpraephthtang 5 xangxingniyamthwip aekikhesnechuxmmithisthang e x y displaystyle e x y epnesnechuxmcak x displaystyle x ip y displaystyle y odythi y displaystyle y eriykwahw swn x displaystyle x eriykwahangkhxngesnechuxm nxkcakni y nnthuxwaepncudyxdkhanghlngodytrng inkhnathi x thuxwaepncudyxdkxnhnaodytrng sahrbwithicak x ipyng y caidwa y epncudyxdkhanghlng swn x epncudyxdkxnhna esnechuxmmithisthang y x displaystyle y x cathukeriykwaepnesnechuxmklbthiskhxng x y displaystyle x y krafrabuthisthang D cathukeriykwasmmatr ktxemuxthukesnechuxmnn miesnechuxmklbthisxyuinkrafdwy inaengkaripthungknid krafrabuthisthangthismmatr D caethiybethakbkrafimrabuthisthang G odythiesnechuxm x y aela y x ethiybethakbesnechuxm x y dngnn hakepriybethiybrahwangkrafrabuthisthangthismmatraelakrafimrabuthisthangthiethiybethakn caidwa E A 2karkahndthisthang khuxkarnakrafimrabuthisthangxyangngaymakahndthisthangkhxngaetlaesnechuxmxyangirkidihklayepnkrafrabuthisthang krafthiidcakkarkahndthisthangnieriykwakrafkahndthisthang mikhunsmbtikhuxcaimmiwngwnhruxwtckrkhnad 2 2 krafrabuthisthangthwngnahnk khuxkrafrabuthisthangthiepnkrafthwngnahnkdwy xaceriykkrafrabuthisthangthwngnahnkwaekhruxkhaykarekbkhxmulkrafrabuthisthangnn xacthaidodykarichemthriksprachid inkrnithikrafepnkrafethiym nnkhuxmiwngwnaelaesnechuxmkhnanid emthriksekbkhxmulcaepnemthrikskhxngtwelkhkhnad n n displaystyle n times n ody n khuxcanwncudyxdkhxngkraf aij sung i j displaystyle i neq j aesdngthungcanwnesnechuxmmithisthangcakcudyxd i ip j swn aii aesdngthungcanwnkhxngwngwnthicudyxd i hakepnkrafxyangngay caidwaemthriksthiklawmanicaepnemthriksthansxngnxkcakni karekbkhxmulkrafrabuthisthang xacichemthrikstkkrathbkidradbkhnekhaaelaradbkhnxxk aekikh krafrabuthisthang aetlacudyxdaesdngthung radbkhnekha radbkhnxxk sahrbcudyxdid radbkhnekhakhuxcanwnesnechuxmthiphungekhacudyxdnn cudyxdnnepnhwkhxngesnechuxm inkhnathiradbkhnxxkkhuxcanwnesnechuxmthiphungxxkcakcudyxdnn cudyxdnnepnhangkhxngesnechuxm sahrbtnim radbkhnxxkkhuxradbaetkkingradbkhnekhaekhiynidwa deg v displaystyle deg v swnradbkhnxxkekhiynidwa deg v displaystyle deg v cudyxdthimi deg v 0 displaystyle deg v 0 eriykwa tnthang inkhnathicudyxdthimi deg v 0 displaystyle deg v 0 eriykwa playthangcaksutrphlrwmradbkhn sahrbkrafrabuthisthangcaidwa v V deg v v V deg v A displaystyle sum v in V deg v sum v in V deg v A thahakthukcudyxdnn deg v deg v displaystyle deg v deg v krafnicaepnkrafsmdul 3 khwamtxenuxngkhxngkrafrabuthisthang aekikhdubthkhwamhlkthi khwamtxenuxng thvsdikraf krafrabuthisthang G caeriykwakraftxenuxngaebbxxn weakly connected hruxxaceriykwakraftxenuxng connected 4 ktxemuxnakrafrabuthisthangnnmaepliynesnechuxmthimithisthangihklayepnesnechuxmimmithisthangihhmd aelwkrafimrabuthisthangthiidepnkraftxenuxng aelakrafrabuthisthang G caeriykwakraftxenuxngaebbekhm strongly connected ktxemuxthukwithicak u ip v miwithicak v ip u dwy nxkcakni swnprakxbaebbekhm strongly components khuxkrafyxythimikhnadmakthisudthiepnkraftxenuxngaebbekhm aenwkhidninaipsukaraebngkrafxxkepnhlayswnodykarhaswnprakxbaebbekhmaelalbxxkcakkrafedimiperuxy sudthaycaidswnprakxbthiechuxmknaebbekhm strongly connected component krafrabuthisthangpraephthtang aekikh krafxwtckrrabuthisthangxyangngay krafxwtckrrabuthisthang directed acyclic graph DAG khux krafrabuthisthang thiimmiwtckr multitrees oriented trees rooted trees tournament quiverxangxing aekikh Bang Jensen amp Gutin 2000 Diestel 2005 Section 1 10 Bondy amp Murty 1976 Section 10 Diestel 2005 Section 1 10 Satyanarayana Bhavanari Prasad Kuncham Syam Discrete Mathematics and Graph Theory PHI Learning Pvt Ltd p 460 ISBN 978 81 203 3842 5 Brualdi Richard A 2006 Combinatorial matrix classes Encyclopedia of mathematics and its applications 108 Cambridge University Press p 51 ISBN 978 0 521 86565 4 Bang Jensen amp Gutin 2000 p 19 in the 2007 edition p 20 in the 2nd edition 2009 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title krafrabuthisthang amp oldid 4698232, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม