fbpx
วิกิพีเดีย

การกลายเป็นกระดูก

การกลายเป็นกระดูก หรือ การสร้างกระดูก (อังกฤษ: Ossification) เป็นกระบวนการสร้างเนื้อกระดูก โดยที่เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่นกระดูกอ่อนเปลี่ยนแปลงไปเป็นกระดูกหรือเนื้อเยื่อที่คล้ายกระดูก เนื้อเยื่อที่เกิดกระบวนการกลายเป็นกระดูกจะมีหลอดเลือดยื่นเข้าไปข้างใน หลอดเลือดเหล่านี้จะนำแร่ธาตุ เช่นแคลเซียม และเข้ามาในเนื้อเยื่อเพื่อให้เกิดการสร้างเนื้อกระดูกแข็ง การสร้างกระดูกเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัต คือมีกระบวนการสร้างและสลายทดแทนกันอยู่ตลอด โดยมีเซลล์ออสติโอบลาสต์ (osteoblast) ทำหน้าที่พาเอาแร่ธาตุเข้ามา และมีออสติโอคลาสต์ (osteoclast) ทำหน้าที่สลายเนื้อกระดูก กระบวนการดังกล่าวนี้เรียกว่า กระบวนการก่อรูปกระดูก (bone remodeling) ซึ่งจะเกิดขึ้นตลอดช่วงชีวิต

ประเภทของการกลายเป็นกระดูก

  • Endochondral ossification เป็นการกลายเป็นกระดูกโดยทดแทนโครงแบบเดิมของกระดูกอ่อน โดยที่กลุ่มเซลล์มีเซนไคม์ (mesenchyme) จะเข้าไปแทนที่เซลล์กระดูกอ่อนผ่านทางหลอดเลือด เริ่มจากส่วนกลางของกระดูกซึ่งเป็นจุดการสร้างกระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center) เมื่อเซลล์มีเซนไคม์มีการพัฒนาไปเป็นเซลล์ต้นกำเนิดเซลล์กระดูก จึงมีการสะสมของเนื้อกระดูกมากขึ้น
  • Intramembranous ossification เป็นการสร้างเนื้อกระดูกจากการรวมตัวของกลุ่มเซลล์ชนิดมีเซนไคม์ ทำให้เกิดจุดการสร้างกระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center) และตามด้วยการสะสมแคลเซียมในบริเวณดังกล่าว เช่น กระดูกกลมที่พบในเชิงกราน
  • Heterotopic ossification เป็นการสร้างเนื้อกระดูกทดแทนเนื้อเยื่อแข็งนอกโครงกระดูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหรือเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ

วิวัฒนาการ

มีหลายทฤษฎีที่กล่าวเสนอขึ้นเพื่ออธิบายว่ากระดูกวิวัฒนาการมาเป็นโครงสร้างในสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างไร แนวความคิดหนึ่งที่เป็นที่นิยมกล่าวว่ากระดูกวิวัฒนาการมาจากเนื้อเยื่อซึ่งวิวัฒนาการเพื่อเก็บสะสมแร่ธาตุ จากแบบจำลองดังกล่าว แร่ธาตุเช่นแคลเซียมถูกสะสมไว้ในกระดูกอ่อน และกระดูกเป็นการปรับตัวโดยกระบวนการสร้างเนื้อกระดูกของกระดูกอ่อน อย่างไรก็ตาม ความเป็นไปได้อื่นๆ กล่าวว่าเนื้อเยื่อกระดูกวิวัฒนาการขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกั้นออสโมติก หรือเพื่อเป็นโครงสร้างที่ใช้ป้องกัน

อ้างอิง

  1. Caetano-Lopes J, Canhão H, Fonseca JE (2007). "Osteoblasts and bone formation". Acta reumatológica portuguesa. 32 (2): 103–10. PMID 17572649.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  2. Hadjidakis DJ, Androulakis II (2006). "Bone remodeling". Ann. N. Y. Acad. Sci. 1092: 385–96. PMID 17308163.
  3. Donoghue PC, Sansom IJ (2002). "Origin and early evolution of vertebrate skeletonization". Microsc. Res. Tech. (5): 352–72. PMID 12430166.

การกลายเป, นกระด, หร, การสร, างกระด, งกฤษ, ossification, เป, นกระบวนการสร, างเน, อกระด, โดยท, เน, อเย, อเก, ยวพ, เช, นกระด, กอ, อนเปล, ยนแปลงไปเป, นกระด, กหร, อเน, อเย, อท, คล, ายกระด, เน, อเย, อท, เก, ดกระบวนจะม, หลอดเล, อดย, นเข, าไปข, างใน, หลอดเล, อดเหล, า. karklayepnkraduk hrux karsrangkraduk xngkvs Ossification epnkrabwnkarsrangenuxkraduk odythienuxeyuxekiywphn echnkradukxxnepliynaeplngipepnkradukhruxenuxeyuxthikhlaykraduk enuxeyuxthiekidkrabwnkarklayepnkradukcamihlxdeluxdyunekhaipkhangin hlxdeluxdehlanicanaaerthatu echnaekhlesiym aelaekhamainenuxeyuxephuxihekidkarsrangenuxkradukaekhng karsrangkradukepnkrabwnkarthiepnphlwt khuxmikrabwnkarsrangaelaslaythdaethnknxyutlxd odymiesllxxstioxblast osteoblast thahnathiphaexaaerthatuekhama aelamixxstioxkhlast osteoclast thahnathislayenuxkraduk 1 krabwnkardngklawnieriykwa krabwnkarkxrupkraduk bone remodeling sungcaekidkhuntlxdchwngchiwit 2 praephthkhxngkarklayepnkraduk aekikhEndochondral ossification epnkarklayepnkradukodythdaethnokhrngaebbedimkhxngkradukxxn odythiklumesllmiesnikhm mesenchyme caekhaipaethnthiesllkradukxxnphanthanghlxdeluxd erimcakswnklangkhxngkraduksungepncudkarsrangkradukpthmphumi primary ossification center emuxesllmiesnikhmmikarphthnaipepneslltnkaenidesllkraduk cungmikarsasmkhxngenuxkradukmakkhun Intramembranous ossification epnkarsrangenuxkradukcakkarrwmtwkhxngklumesllchnidmiesnikhm thaihekidcudkarsrangkradukpthmphumi primary ossification center aelatamdwykarsasmaekhlesiyminbriewndngklaw echn kradukklmthiphbinechingkran Heterotopic ossification epnkarsrangenuxkradukthdaethnenuxeyuxaekhngnxkokhrngkraduk odyechphaaxyangyinginenuxeyuxekiywphnhruxenuxeyuxklamenuxwiwthnakar aekikhmihlaythvsdithiklawesnxkhunephuxxthibaywakradukwiwthnakarmaepnokhrngsranginstwmikraduksnhlngidxyangir aenwkhwamkhidhnungthiepnthiniymklawwakradukwiwthnakarmacakenuxeyuxsungwiwthnakarephuxekbsasmaerthatu cakaebbcalxngdngklaw aerthatuechnaekhlesiymthuksasmiwinkradukxxn aelakradukepnkarprbtwodykrabwnkarsrangenuxkradukkhxngkradukxxn 3 xyangirktam khwamepnipidxun klawwaenuxeyuxkradukwiwthnakarkhunmaephuxepntwknxxsomtik hruxephuxepnokhrngsrangthiichpxngknxangxing aekikh Caetano Lopes J Canhao H Fonseca JE 2007 Osteoblasts and bone formation Acta reumatologica portuguesa 32 2 103 10 PMID 17572649 CS1 maint multiple names authors list link Hadjidakis DJ Androulakis II 2006 Bone remodeling Ann N Y Acad Sci 1092 385 96 PMID 17308163 Donoghue PC Sansom IJ 2002 Origin and early evolution of vertebrate skeletonization Microsc Res Tech 5 352 72 PMID 12430166 bthkhwamekiywkbchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karklayepnkraduk amp oldid 4763983, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม