fbpx
วิกิพีเดีย

การกัดกร่อน

การกัดกร่อน (อังกฤษ: corrosion) หมายถึงภาวะซึ่งวัตถุหรือสิ่งประดิษฐ์ทางด้านวิศวกรรมทำปฏิกิริยากับสภาพแวดล้อม ทำให้ให้เกิดการเสื่อมสภาพของวัตถุนั้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำการทำงานหรือวัตถุประสงค์การใช้งานลดลง

สนิม การกัดกร่อนโลหะที่พบได้บ่อย

ประเภทการกัดกร่อน

ในสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปสาเหตุการกัดกร่อนเกิดได้หลายอย่างเช่น ปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี หรืออาจเกิดจากปฏิกิริยาทางกายภาพของวัตถุนั้นเอง ลักษณะการกัดกร่อนที่พบเราสามารถแบ่งออกเป็นหลายแบบ เช่นแบ่งตามกลไกของการกัดกร่อน แบ่งตามลักษณะทางกายภาพ หรือตัวแปรที่ส่งผลต่อการกัดกร่อน

การกัดกร่อนแบบสม่ำเสมอ (Uniform Corrosion) เกิดขึ้นเนื่องจากวัตถุสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม โดยอัตราความสูญเสียพื้นผิวของวัตถุที่บริเวณที่สัมผัสปัจจัยให้เกิดการกัดกร่อนต่างๆ โดยเฉลี่ยจะใกล้เคียงกัน

การกัดกร่อนเนื่องจากความต่างศักย์ (Galvanic Corrosion) เกิดจากวัตถุโลหะที่เป็นตัวนำไฟฟ้าได้ 2 ชนิดที่ต่างกันหรือวัตถุชนิดเดียวกันแต่ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าต่างกัน มาเชื่อมต่อกันจะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้น ทำให้เกิดการไหลของ อิเล็กตรอนระหว่างวัตถุทั้งสองหากทำให้การสูญเสียอิเล็กตรอนของวัตถุที่มีค่าความต่างศักย์ต่ำกว่าและจะถูกกัดกร่อนในที่สุด

การกัดกร่อนแบบช่องแคบ (Crevice Corrosion) เกิดจากวัตถุสัมผัสสารละลายบางชนิดที่สามารถแตกตัวเป็นประจุไฟฟ้า หรือเกิดจากบริเวณพื้นผิวที่การถ่ายเทของเหลวไม่ดี ส่งผลต่อการทำปฏิกิริยาออกซิเดชันแตกต่างกัน มักเกิดตามรอกแยกหรือตามซอกต่างๆ ของวัตถุ

การกัดกร่อนแบบเป็นหลุม (Pitting) ส่วนมากเกิดจากวัตถุอยู่สัมผัสสารละลายพวกคลอไรด์ เช่น น้ำทะเล เมื่อวัตถุถูกกัดกร่อน บริเวณกัดกร่อนจะเป็นรูหรือหลุม อาจถูกบดบังด้วยตัวกัดกร่อนเอง มักเกิดแบบเฉียบพลันตรวจพบได้ยาก มีขนาดเล็ก ส่วนใหญพบในวัตถุโลหะที่สามารถสร้างชั้นป้องกันได้

การกัดกร่อนตามขอบเกรน (Intergranular Corrosion) มักเกิดกับเหล็กกล้าไร้สนิม ในบริเวณที่มีการเชื่อมต่อ โดยเหล็กจะสูญเสีย โครเมียมในรูปคาร์ไบด์ เมื่อเกิดการสูญเสียจะขาดโครเมียมในการสร้างการป้องกันเนื้อเหล็ก

การผุกร่อนแบบเลือก (Selective Leaching or Dealloying) เกิดวัตถุที่เป็นโลหะผสม ที่ธาตุโลหะหนึ่งเสถียรกว่าธาตุหนึ่งเมื่อสัมผัสสภาพแวดล้อม เช่น การกัดกร่อนของทองเหลือง (Dezincification) โดยทองเหลืองจะสูญเสียสังกะสี เหลือแต่ทองแดงทำให้เป็นรูพรุน รูปทรงของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่ความแข็งแรงจะลดลง สามารถลดการกัดกร่อนได้โดยเติมดีบุกลงไปประมาณร้อยละ 1 ในทองเหลือง

การกัดกร่อนแบบกัดเซาะ (Erosion Corrosion) เกิดจากปฏิกิริยาเคมีและการเคลื่อนที่ เช่น การไหลหรือเคลื่อนที่ของสารละลายหรือของเหลวที่มีผลต่อการกัดกร่อน

การกัดกร่อนโดยความเค้น (Stress corrosion) เกิดจากความเค้นหรือแรงเค้นของสภาพแวดล้อม เช่น การตัด การดัด ความร้อนภายนอก การสั่นสะเทือน หรือความเค้นจากภายในของวัตถุที่อาจหลงเหลือจากการขึ้นรูป การเย็นตัวที่ไม่สม่ำเสมอ

 
ผลงานด้านวิศวกรรมถูกกัดกร่อน

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ

จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2545 พบว่ามีความสูญเสียที่เกิดจากการกัดกร่อนทั่วโลกคิดเป็นมูลค่ารวมประมาณ 11 ล้านล้านบาท และอัตราความเสียหายเกิดขึ้นกับประเทศกำลังพัฒนาประมาณร้อยละ 3 - 5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP)

อ้างอิง

  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-02-04. สืบค้นเมื่อ 2011-11-29.
  2. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-02-04. สืบค้นเมื่อ 2011-11-29.
  3. การกัดกร่อนและการป้องกัน

การก, ดกร, อน, งกฤษ, corrosion, หมายถ, งภาวะซ, งว, ตถ, หร, อส, งประด, ษฐ, ทางด, านว, ศวกรรมทำปฏ, ยาก, บสภาพแวดล, อม, ทำให, ให, เก, ดการเส, อมสภาพของว, ตถ, งผลให, ประส, ทธ, ภาพการทำการทำงานหร, อว, ตถ, ประสงค, การใช, งานลดลงสน, โลหะท, พบได, อยประเภท, แก, ไขในสภา. karkdkrxn xngkvs corrosion hmaythungphawasungwtthuhruxsingpradisththangdanwiswkrrmthaptikiriyakbsphaphaewdlxm thaihihekidkaresuxmsphaphkhxngwtthunn sngphlihprasiththiphaphkarthakarthanganhruxwtthuprasngkhkarichnganldlngsnim karkdkrxnolhathiphbidbxypraephthkarkdkrxn aekikhinsphaphaewdlxmodythwipsaehtukarkdkrxnekididhlayxyangechn ptikiriyaekhmi ptikiriyaiffaekhmi hruxxacekidcakptikiriyathangkayphaphkhxngwtthunnexng lksnakarkdkrxnthiphberasamarthaebngxxkepnhlayaebb echnaebngtamklikkhxngkarkdkrxn aebngtamlksnathangkayphaph hruxtwaeprthisngphltxkarkdkrxnkarkdkrxnaebbsmaesmx Uniform Corrosion ekidkhunenuxngcakwtthusmphskbsingaewdlxm odyxtrakhwamsuyesiyphunphiwkhxngwtthuthibriewnthismphspccyihekidkarkdkrxntang odyechliycaiklekhiyngknkarkdkrxnenuxngcakkhwamtangsky Galvanic Corrosion ekidcakwtthuolhathiepntwnaiffaid 2 chnidthitangknhruxwtthuchnidediywknaetkhakhwamtangskyiffatangkn maechuxmtxkncaekidkhwamtangskyiffakhun thaihekidkarihlkhxng xielktrxnrahwangwtthuthngsxnghakthaihkarsuyesiyxielktrxnkhxngwtthuthimikhakhwamtangskytakwaaelacathukkdkrxninthisudkarkdkrxnaebbchxngaekhb Crevice Corrosion ekidcakwtthusmphssarlalaybangchnidthisamarthaetktwepnpracuiffa hruxekidcakbriewnphunphiwthikarthayethkhxngehlwimdi sngphltxkarthaptikiriyaxxksiedchnaetktangkn mkekidtamrxkaeykhruxtamsxktang khxngwtthukarkdkrxnaebbepnhlum Pitting swnmakekidcakwtthuxyusmphssarlalayphwkkhlxird echn nathael emuxwtthuthukkdkrxn briewnkdkrxncaepnruhruxhlum xacthukbdbngdwytwkdkrxnexng mkekidaebbechiybphlntrwcphbidyak mikhnadelk swnihyphbinwtthuolhathisamarthsrangchnpxngknidkarkdkrxntamkhxbekrn Intergranular Corrosion mkekidkbehlkklairsnim inbriewnthimikarechuxmtx odyehlkcasuyesiy okhremiyminrupkharibd emuxekidkarsuyesiycakhadokhremiyminkarsrangkarpxngknenuxehlkkarphukrxnaebbeluxk Selective Leaching or Dealloying ekidwtthuthiepnolhaphsm thithatuolhahnungesthiyrkwathatuhnungemuxsmphssphaphaewdlxm echn karkdkrxnkhxngthxngehluxng Dezincification odythxngehluxngcasuyesiysngkasi ehluxaetthxngaedngthaihepnruphrun rupthrngkhxngwtthucaimepliynaeplng aetkhwamaekhngaerngcaldlng samarthldkarkdkrxnidodyetimdibuklngippramanrxyla 1 inthxngehluxngkarkdkrxnaebbkdesaa Erosion Corrosion ekidcakptikiriyaekhmiaelakarekhluxnthi echn karihlhruxekhluxnthikhxngsarlalayhruxkhxngehlwthimiphltxkarkdkrxnkarkdkrxnodykhwamekhn Stress corrosion ekidcakkhwamekhnhruxaerngekhnkhxngsphaphaewdlxm echn kartd kardd khwamrxnphaynxk karsnsaethuxn hruxkhwamekhncakphayinkhxngwtthuthixachlngehluxcakkarkhunrup kareyntwthiimsmaesmx 1 2 phlngandanwiswkrrmthukkdkrxnphlkrathbthangesrsthkic aekikhcakkarsarwcinpi ph s 2545 phbwamikhwamsuyesiythiekidcakkarkdkrxnthwolkkhidepnmulkharwmpraman 11 lanlanbath aelaxtrakhwamesiyhayekidkhunkbpraethskalngphthnapramanrxyla 3 5 khxngphlitphnthmwlrwmprachachati GNP 3 xangxing aekikh karkdkrxnkhxngolha khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 02 04 subkhnemux 2011 11 29 karkdkrxn khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 02 04 subkhnemux 2011 11 29 karkdkrxnaelakarpxngkn bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkdkrxn amp oldid 9614239, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม