fbpx
วิกิพีเดีย

การจัดการความเสี่ยง

การจัดการความเสี่ยง หรือ การบริหารความเสี่ยง (อังกฤษ: risk managment) คือ การจัดการความเสี่ยง ทั้งในกระบวนการในการระบุ วิเคราะห์(en:risk analysis) ประเมิน(en:risk assessment) ดูแล ตรวจสอบ และควบคุมความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับ กิจกรรม หน้าที่และกระบวนการทำงาน เพื่อให้องค์กรลดความเสียหายจากความเสี่ยงมากที่สุด อันเนื่องมาจากภัยที่องค์กรต้องเผชิญในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือเรียกว่า อุบัติภัย (Accident )

นิยามของความเสี่ยง

ความเสี่ยงมีความหมายในหลากหลายแง่มุม เช่น ความเสี่ยงคือ

  • โอกาสที่เกิดขึ้นแล้วธุรกิจจะเกิดความเสียหาย (Chance of Loss)
  • ความเป็นไปได้ที่จะเกิดความเสียหายต่อธุรกิจ (Possibility of Loss)
  • ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น (Uncertainty of Event)
  • และ การคลาดเคลื่อนของการคาดการณ์ (Dispersion of Actual Result)

ศัพท์ทางเทคนิค

  • ภัย (Peril) คือ สาเหตุของความเสียหาย ซึ่งภัยสามารถเกิดขึ้นได้จากภัยธรรมชาติ เช่น เกิดพายุ สึนามิ น้ำท่วม แผ่นดินไหว เป็นต้น ภัยนอกจากจะเกิดขึ้นได้จากภัยธรรมชาติแล้ว ภัยนั้นยังเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น อัคคีภัย จลาจล ฆาตกรรม เป็นต้น สำหรับสาเหตุสุดท้ายที่จะเกิดภัยได้นั้นคือภัยที่เกิดขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจ เพราะภัยที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจ เป็นอีกสาเหตุที่สำคัญ เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้วคนทั้งประเทศ หรือทั้งภูมิภาคจะได้รับผลกระทบอย่างกว้างขวาง
  • ความเสี่ยง (Risk) คือ ความไม่แน่นอนของเหตุการณ์ ซึ่งไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต่ความเสี่ยงนั้น ๆ จะมีแนวโน้มที่เกิดขึ้นไม่มากก็น้อยในบริษัท
  • สภาวะที่จะทำให้เกิดความเสียหาย (Hazard) คือ สภาพเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ความเสียหายเพิ่มสูงขึ้น โดยสภาวะต่าง ๆ นี้สามารถแบ่งออกได้เป็น สภาวะทางด้านกายภาพ (Physical) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย เช่น ชนิดและทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสร้าง อาจเอื้อต่อการเกิดเพลิงไหม้ สภาวะทางด้านศีลธรรม (Moral) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากความไม่ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่การงาน เช่น การฉ้อโกงของพนักงาน และสภาวะด้านจิตสำนึกในการป้องกันความเสี่ยง (Morale) คือ สภาวะที่ไม่ประมาทและเลินเล่อ หรือการไม่เอาใจใส่ในการป้องกันความเสี่ยง เช่น การที่พนักงานปล่อยให้เครื่องจักรทำงานโดยไม่ควบคุม

องค์ประกอบการบริหารความเสี่ยง

  1. การระบุชี้ว่าองค์กรกำลังมีภัย
    เป็นการระบุชี้ว่าองค์กรมีภัยอะไรบ้างที่มาเผชิญอยู่ และอยู่ในลักษณะใดหรือขอบเขตเป็นอย่างไร นับเป็นขั้นตอนแรกของการบริหารความเสี่ยง
  2. การประเมินผลกระทบของภัย
    เป็นการประเมินผลกระทบของภัยที่จะมีต่อองค์กรซึ่งอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การประเมินความเสี่ยงที่องค์กรต้องเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภัยแต่ละชนิดได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด
  3. การจัดทำมาตรการตอบโต้ตอบความเสี่ยงจากภัย
    การจัดทำมาตรการตอบโต้ตอบความเสี่ยงเป็นมาตรการที่จัดเรียงลำดับความสำคัญแล้วในการประเมินผลกระทบของภัย มาตรการตอบโต้ที่นิยมใช้เพื่อการรับมือกับภัยแต่ละชนิด อาจจำแนกดังนี้
  • มาตรการขจัดหรือลดความรุนแรงของความอันตรายของภัยที่ต้องประสบ
  • มาตรการที่ป้องกันผู้รับภัยมิให้ต้องประสบภัยโดยตรง เช่น
    • ภัยจากการที่ต้องปีนไปในที่สูงก็มีมาตรการป้องกันโดยต้องติดเข็มขัดนิรภัย กันการพลาดพลั้งตกลงมา
    • ภัยจากไอระเหยหรือสารพิษก็ป้องกันโดยออกมาตรการให้สวมหน้ากากป้องกันไอพิษ เป็นต้น
  • มาตรการลดความรุนแรงของสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น กรณีเกิดเพลิงไหม้ในอาคาร ได้มีการขจัดและลดความรุนแรง โดยออกแบบตัวอาคารให้มีผนังกันไฟ กันเพลิงไหม้รุนลาม
    ไปยังบริเวณใกล้เคียง และมีการติดตั้งระบบสปริงเกอร์ ก็จะช่วยลดหรือหยุดความรุนแรงของอุบัติภัยลงได้
  • มาตรการกู้ภัยก็เป็นการลดความสูญเสียโดยตรง ลงได้มาก
  • มาตรการกลับคืนสภาพ ก็เป็นอีกมาตรการในการลดความเสียหายต่อเนื่องจากภัยหรืออุบัติภัยแต่ละครั้งลงได้

มาตรการรับมือกับภัย 5 มาตรการ (5R)

  • R1 Readiness ความเตรียมพร้อม
    องค์กรต้องเตรียมความพร้อมระบบการบริหารความเสี่ยงให้มีความพร้อมในการจัดทำมาตรการขจัดหรือควบคุมภัยต่างๆเอาไว้ล่วงหน้า
  • R2 Response การตอบสนองอย่างฉับไว
    เมื่อเกิดอุบัติภัยขึ้นระบบต้องมีสมรรถนะที่ดีพอในการตอบโต้ภัยแต่ละชนิดอย่างได้ผลและทันเวลา
  • R3 Rescue การช่วยเหลือกู้ภัย
    เป็นกระบวนการปกป้องชีวิตและทรัพย์สินขององค์กร ที่ได้ผลและทันเวลา
  • R4 Rehabilitation การกลับเข้าไปทำงาน
    เมื่ออุบัติภัยสิ้นสุดลงแล้วต้องกลับเข้าไปที่เดิมให้เร็วที่สุดเพื่อ การซ่อมแซม การเปลี่ยนใหม่ หรือการสร้างขึ้นใหม่ (Rebuild) เพื่อให้อาคารสถานที่พร้อมที่จะดำเนินกิจการต่อไปได้ อาจรวมไปถึงการประกันภัยด้วย
  • R5 Resumption การกลับคืนสู่สภาวะปกติ
    องค์กรสามารถเปิดทำการ หรือ ดำเนินธุรกิจต่อไปตามปกติได้เสมือนว่าไม่มีอุบัติภัยมาก่อน

Response กับ Rescue อาจจะเหมือนเป็นเรื่องเดียวกัน แต่ความจริงแล้วแตกต่างกัน โดยขอยกตัวอย่าง กรณีเกิดอัคคีภัย อุปกรณ์ดับเพลิงอัตโนมัติ รวมถึง Fire Alarm คือขั้นตอนของ Response แต่ไฟฉุกเฉินและเครื่องช่วยหายใจ เพื่อให้พนักงานสวม เพื่อหนีออกจากอาคาร เป็นขั้นตอนของ Rescue

The Committee of Sponsoring Organization (COSO)

  • The Committee of Sponsoring Organization (COSO) เป็นหน่วยงานที่ได้เผยแพร่วิธีการและกรอบแนวคิดของการควบคุมภายในขององค์กร (Internal Control Framework) อย่างเป็นระบบ เมื่อช่วงต้นทศวรรษของ ปี ค.ศ. 1990 จนกระทั่งเป็นที่รู้จักและมีความนิยมอย่างแพร่หลาย หลังจากที่วิธีการและการดำเนินการควบคุมภายใน (Internal Control) นั้นเป็นที่ถกเถียงกันมาเป็นเวลานาน
  • ในการจัดการความเสี่ยง (Risk Management) เป็นเรื่องที่ทุกคนมีความเห็นอย่างตรงกันว่า การจัดการความเสี่ยงเป็นเรื่องที่จำเป็นและเราต้องมีวิธีในการจัดการกับความเสี่ยงที่ดี แต่การจัดการความเสี่ยงนั้นก็ประสบกับปัญหาเดียวกับการเริ่มทำการควบคุมภายในในช่วงแรก ๆ เพราะการจัดการความเสี่ยงนั้นยังไม่สามารถที่จะกำหนดคำนิยามได้อย่างชัดเจน
  • องค์กรของการประกันภัย ก็มีการกำหนดคำนิยามของการจัดการความเสี่ยงไว้แบบหนึ่ง แต่องค์กรที่ให้บริการสินเชื่อก็กำหนดคำนิยามและวิธีการของการจัดการความเสี่ยงไว้อีกแบบหนึ่งอย่างแตกต่างกัน จนทำให้หน่วยงานหลายหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นองค์กรที่แสวงหาผลกำไร หรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรต่างก็พยายามที่จะกำหนด คำนิยามและความหมายของการจัดการความเสี่ยง ตลอดจนพยายามคิดถึงโครงสร้างของการจัดการกับความเสี่ยงต่าง ๆ เหล่านั้น
  • หลังการจากพยายามหาข้อสรุปถึงคำนิยาม ความหมาย วิธีการในการจัดการความเสี่ยง และการจัดทำโครงสร้างในการบริหารความเสี่ยงมานาน COSO จึงพยายามที่จะกำหนด และกำหนดคำนิยามและรูปแบบต่าง ๆ ในการจัดการกับความเสี่ยง โดยได้กำหนดออกมาเป็น COSO ERM (COSO Enterprise Risk Management) ซึ่ง COSO ได้กำหนดโครงสร้างและความหมายในการจัดการกับความเสี่ยง และนำเสนอต่อสาธารณะในปลายปี ค.ศ. 2004 โดยให้บริษัทในทุกขนาด ไม่ว่าจะเป็นบริษัทขนาดใหญ่ หรือบริษัท SMEs สามารถนำเอาแนวทางในการบริหารจัดการกับความเสี่ยงไปใช้ได้
  • COSO Internal Control Framework เป็นกระบวนการ ที่ออกแบบให้ กรรมการบริหาร ผู้บริหาร บุคลากรต่าง ๆ ของหน่วยงาน ต้องมีความรับผิดชอบ และพยายามที่จะให้หน่วยงานประสบความสำเร็จ

โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. ให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีการรายงานทางการเงินที่น่าเชื่อถือ และ 3. การปฏิบัติตามข้อกำหนดทางกฎหมาย และระเบียบต่าง ๆ

  • COSO Internal Control Framework จะมีลักษณะที่เชื่อมโยงต่อ COSO Enterprise Risk management ดังนั้นการเข้าใจใน COSO Internal Control Framework จึงเป็นการช่วยให้เข้าใจใน COSO ERM มากขึ้นนั่นเอง

อ้างอิง

  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ และคณะ. 2557. การจัดการความเสี่ยงและตราสารอนุพันธ์ สำนักพิมพ์แมคกรอ ฮิล
  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ และคณะ. 2557. การบริหารความเสี่ยงอย่างมืออาชีพ พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์แมคกรอ ฮิล
  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. 2548 - 2550. บทความจากหนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย คอลัมน์ส่องธุรกิจ
  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. 2554. การจัดการความเสี่ยงและตราสารอนุพันธ์เบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 4 สำนักพิมพ์เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น
  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. 2550 - 2555. บทความจากนิตยสาร Make Money คอลัมน์ Finance & Investment
  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. 2551 - 2555. บทความจากหนังสือพิมพ์ ASTV ผู้จัดการรายวัน คอลัมน์ Road to Investment
  • กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. 2554 ลงทุนเป็น เห็นความสำเร็จ สำนักพิมพ์ แมคกรอฮิล

ดูเพิ่ม

การจ, ดการความเส, ยง, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, หร, การบร, หารความเส, ยง, งกฤษ, risk, managment, งในกระบวนการในการระ. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkarcdkarkhwamesiyng hrux karbriharkhwamesiyng xngkvs risk managment khux karcdkarkhwamesiyng thnginkrabwnkarinkarrabu wiekhraah en risk analysis praemin en risk assessment duael trwcsxb aelakhwbkhumkhwamesiyngthismphnthkb kickrrm hnathiaelakrabwnkarthangan ephuxihxngkhkrldkhwamesiyhaycakkhwamesiyngmakthisud xnenuxngmacakphythixngkhkrtxngephchiyinchwngewlaidewlahnung hruxeriykwa xubtiphy Accident enuxha 1 niyamkhxngkhwamesiyng 2 sphththangethkhnikh 3 xngkhprakxbkarbriharkhwamesiyng 4 matrkarrbmuxkbphy 5 matrkar 5R 5 The Committee of Sponsoring Organization COSO 6 xangxing 7 duephimniyamkhxngkhwamesiyng aekikhkhwamesiyngmikhwamhmayinhlakhlayaengmum echn khwamesiyngkhux oxkasthiekidkhunaelwthurkiccaekidkhwamesiyhay Chance of Loss khwamepnipidthicaekidkhwamesiyhaytxthurkic Possibility of Loss khwamimaennxnkhxngehtukarnthicaekidkhun Uncertainty of Event aela karkhladekhluxnkhxngkarkhadkarn Dispersion of Actual Result sphththangethkhnikh aekikhphy Peril khux saehtukhxngkhwamesiyhay sungphysamarthekidkhunidcakphythrrmchati echn ekidphayu sunami nathwm aephndinihw epntn phynxkcakcaekidkhunidcakphythrrmchatiaelw phynnyngekidkhuncakkarkrathakhxngmnusy echn xkhkhiphy clacl khatkrrm epntn sahrbsaehtusudthaythicaekidphyidnnkhuxphythiekidkhuncakphawaesrsthkic ephraaphythiekidcakphawaesrsthkic epnxiksaehtuthisakhy ephraaemuxekidkhunaelwkhnthngpraeths hruxthngphumiphakhcaidrbphlkrathbxyangkwangkhwang khwamesiyng Risk khux khwamimaennxnkhxngehtukarn sungimsamarthkhadedaidwacaekidkhunemuxid aetkhwamesiyngnn camiaenwonmthiekidkhunimmakknxyinbristh sphawathicathaihekidkhwamesiyhay Hazard khux sphaphenguxnikhthiepnsaehtuthithaihkhwamesiyhayephimsungkhun odysphawatang nisamarthaebngxxkidepn sphawathangdankayphaph Physical khux sphawakhxngoxkasthicaekidkhwamesiyhay echn chnidaelathaelthitngkhxngsingpluksrang xacexuxtxkarekidephlingihm sphawathangdansilthrrm Moral khux sphawakhxngoxkasthicaekidkhuncakkhwamimsuxstytxhnathikarngan echn karchxokngkhxngphnkngan aelasphawadancitsanukinkarpxngknkhwamesiyng Morale khux sphawathiimpramathaelaelinelx hruxkarimexaicisinkarpxngknkhwamesiyng echn karthiphnknganplxyihekhruxngckrthanganodyimkhwbkhumxngkhprakxbkarbriharkhwamesiyng aekikhkarrabuchiwaxngkhkrkalngmiphyepnkarrabuchiwaxngkhkrmiphyxairbangthimaephchiyxyu aelaxyuinlksnaidhruxkhxbekhtepnxyangir nbepnkhntxnaerkkhxngkarbriharkhwamesiyng karpraeminphlkrathbkhxngphyepnkarpraeminphlkrathbkhxngphythicamitxxngkhkrsungxaceriykxikxyanghnungwa karpraeminkhwamesiyngthixngkhkrtxngetriymtwephuxrbmuxkbphyaetlachnididxyangehmaasmmakthisud karcdthamatrkartxbottxbkhwamesiyngcakphykarcdthamatrkartxbottxbkhwamesiyngepnmatrkarthicderiyngladbkhwamsakhyaelwinkarpraeminphlkrathbkhxngphy matrkartxbotthiniymichephuxkarrbmuxkbphyaetlachnid xaccaaenkdngnimatrkarkhcdhruxldkhwamrunaerngkhxngkhwamxntraykhxngphythitxngprasb matrkarthipxngknphurbphymiihtxngprasbphyodytrng echn phycakkarthitxngpinipinthisungkmimatrkarpxngknodytxngtidekhmkhdnirphy knkarphladphlngtklngma phycakixraehyhruxsarphiskpxngknodyxxkmatrkarihswmhnakakpxngknixphis epntn matrkarldkhwamrunaerngkhxngsthankarnchukechin echn krniekidephlingihminxakhar idmikarkhcdaelaldkhwamrunaerng odyxxkaebbtwxakharihmiphnngknif knephlingihmrunlam ipyngbriewniklekhiyng aelamikartidtngrabbspringekxr kcachwyldhruxhyudkhwamrunaerngkhxngxubtiphylngid matrkarkuphykepnkarldkhwamsuyesiyodytrng lngidmak matrkarklbkhunsphaph kepnxikmatrkarinkarldkhwamesiyhaytxenuxngcakphyhruxxubtiphyaetlakhrnglngidmatrkarrbmuxkbphy 5 matrkar 5R aekikhR1 Readiness khwametriymphrxm xngkhkrtxngetriymkhwamphrxmrabbkarbriharkhwamesiyngihmikhwamphrxminkarcdthamatrkarkhcdhruxkhwbkhumphytangexaiwlwnghna R2 Response kartxbsnxngxyangchbiw emuxekidxubtiphykhunrabbtxngmismrrthnathidiphxinkartxbotphyaetlachnidxyangidphlaelathnewla R3 Rescue karchwyehluxkuphy epnkrabwnkarpkpxngchiwitaelathrphysinkhxngxngkhkr thiidphlaelathnewla R4 Rehabilitation karklbekhaipthangan emuxxubtiphysinsudlngaelwtxngklbekhaipthiedimiherwthisudephux karsxmaesm karepliynihm hruxkarsrangkhunihm Rebuild ephuxihxakharsthanthiphrxmthicadaeninkickartxipid xacrwmipthungkarpraknphydwy R5 Resumption karklbkhunsusphawapkti xngkhkrsamarthepidthakar hrux daeninthurkictxiptampktiidesmuxnwaimmixubtiphymakxnResponse kb Rescue xaccaehmuxnepneruxngediywkn aetkhwamcringaelwaetktangkn odykhxyktwxyang krniekidxkhkhiphy xupkrndbephlingxtonmti rwmthung Fire Alarm khuxkhntxnkhxng Response aetifchukechinaelaekhruxngchwyhayic ephuxihphnknganswm ephuxhnixxkcakxakhar epnkhntxnkhxng RescueThe Committee of Sponsoring Organization COSO aekikhThe Committee of Sponsoring Organization COSO epnhnwynganthiidephyaephrwithikaraelakrxbaenwkhidkhxngkarkhwbkhumphayinkhxngxngkhkr Internal Control Framework xyangepnrabb emuxchwngtnthswrrskhxng pi kh s 1990 cnkrathngepnthiruckaelamikhwamniymxyangaephrhlay hlngcakthiwithikaraelakardaeninkarkhwbkhumphayin Internal Control nnepnthithkethiyngknmaepnewlananinkarcdkarkhwamesiyng Risk Management epneruxngthithukkhnmikhwamehnxyangtrngknwa karcdkarkhwamesiyngepneruxngthicaepnaelaeratxngmiwithiinkarcdkarkbkhwamesiyngthidi aetkarcdkarkhwamesiyngnnkprasbkbpyhaediywkbkarerimthakarkhwbkhumphayininchwngaerk ephraakarcdkarkhwamesiyngnnyngimsamarththicakahndkhaniyamidxyangchdecnxngkhkrkhxngkarpraknphy kmikarkahndkhaniyamkhxngkarcdkarkhwamesiyngiwaebbhnung aetxngkhkrthiihbrikarsinechuxkkahndkhaniyamaelawithikarkhxngkarcdkarkhwamesiyngiwxikaebbhnungxyangaetktangkn cnthaihhnwynganhlayhnwynganimwacaepnxngkhkrthiaeswnghaphlkair hruxxngkhkrthiimaeswnghaphlkairtangkphyayamthicakahnd khaniyamaelakhwamhmaykhxngkarcdkarkhwamesiyng tlxdcnphyayamkhidthungokhrngsrangkhxngkarcdkarkbkhwamesiyngtang ehlannhlngkarcakphyayamhakhxsrupthungkhaniyam khwamhmay withikarinkarcdkarkhwamesiyng aelakarcdthaokhrngsranginkarbriharkhwamesiyngmanan COSO cungphyayamthicakahnd aelakahndkhaniyamaelarupaebbtang inkarcdkarkbkhwamesiyng odyidkahndxxkmaepn COSO ERM COSO Enterprise Risk Management sung COSO idkahndokhrngsrangaelakhwamhmayinkarcdkarkbkhwamesiyng aelanaesnxtxsatharnainplaypi kh s 2004 odyihbristhinthukkhnad imwacaepnbristhkhnadihy hruxbristh SMEs samarthnaexaaenwthanginkarbriharcdkarkbkhwamesiyngipichidCOSO Internal Control Framework epnkrabwnkar thixxkaebbih krrmkarbrihar phubrihar bukhlakrtang khxnghnwyngan txngmikhwamrbphidchxb aelaphyayamthicaihhnwynganprasbkhwamsaercodymiwtthuprasngkhdngni 1 ihkardaeninnganepnipxyangmiprasiththiphaph 2 mikarraynganthangkarenginthinaechuxthux aela 3 karptibtitamkhxkahndthangkdhmay aelaraebiybtang COSO Internal Control Framework camilksnathiechuxmoyngtx COSO Enterprise Risk management dngnnkarekhaicin COSO Internal Control Framework cungepnkarchwyihekhaicin COSO ERM makkhunnnexngxangxing aekikhkittiphnth khngswsdiekiyrti aelakhna 2557 karcdkarkhwamesiyngaelatrasarxnuphnth sankphimphaemkhkrx hil kittiphnth khngswsdiekiyrti aelakhna 2557 karbriharkhwamesiyngxyangmuxxachiph phimphkhrngthi 2 sankphimphaemkhkrx hil kittiphnth khngswsdiekiyrti 2548 2550 bthkhwamcakhnngsuxphimphbisiensithy khxlmnsxngthurkic kittiphnth khngswsdiekiyrti 2554 karcdkarkhwamesiyngaelatrasarxnuphnthebuxngtn phimphkhrngthi 4 sankphimphephiyrsn exdduekhchn kittiphnth khngswsdiekiyrti 2550 2555 bthkhwamcaknitysar Make Money khxlmn Finance amp Investment kittiphnth khngswsdiekiyrti 2551 2555 bthkhwamcakhnngsuxphimph ASTV phucdkarraywn khxlmn Road to Investment kittiphnth khngswsdiekiyrti 2554 lngthunepn ehnkhwamsaerc sankphimph aemkhkrxhilduephim aekikhkhwamesiyngekhathungcak https th wikipedia org w index php title karcdkarkhwamesiyng amp oldid 9537171, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม