fbpx
วิกิพีเดีย

การทำเหมืองแร่ทะเลลึก

การขุดเหมืองในทะเล คือ กระบวนกู้คืนแร่ธาตุที่ทำใต้มหาสมุทร อยู่ที่ความลึก 1,400-3,700 เมตร สถานที่ทำการขุดเหมืองใต้ทะเลโดยมากมักจะมีพื้นที่ที่ใหญ่ โดยแร่ธาตุที่จะสามารถหาได้คือ โคบอลท์ แมงกานีส ทองแดง โดยโคบอลท์นั้นมีความสำคัญอย่างมากต่อโลกเทคโนโลยีในปัจจุบันเพราะเป็นส่วนประกอบสำคัญของแบตเตอรี่พกพาโดยโคบอลท์เป็นโลหะที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลกมาจากประเทศคองโก ทำให้มีปัญหาเรื่องของความมั่นคงเกิดช่องว่างอุปสงค์และอุปทาน และเพราะราคาที่สูงขึ้นทำให้นักวิทยาศาสตร์เขื่อว่าการทำเหมืองแร่บนพื้นดินนั้นอาจจะไม่เพียงพอต่อความต้องการและเริ่มที่จะค้นหาแหล่งทรัพยากรใหม่ ๆ นั่นก็คือทะเลลึก แต่กระนั้นการทำเหมืองแร่นั้นส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศในท้องทะเล

ผลกระทบทางตรงที่จะเกิดกับระบบนิเวศน์ในทะเลลึกนั้นคือ สิ่งมีชีวิตที่เกาะติดกับแหล่งสะสมแร่เหล่านี้จะถูกทำลายลง และเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสิ่งแวดล้อม มีการทดลองรบกวนระบบนิเวศน์โดยการพลิกตะกอนให้คลุ้งขึ้นมาแล้วติดตามผลที่เกิดขึ้น ผลของงานวิจัยพบว่าสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นแต่สายพันธุ์นั้นลดน้อยลง สิ่งมีชีวิตบางสายพันธุ์ไม่ปรากฏกลับมา

อ้างอิง

  1. Ahnert, A.; Borowski, C. (2000). "Environmental risk assessment of anthropogenic activity in the deep-sea". Journal of Aquatic Ecosystem Stress and Recovery. 7 (4): 299–315. doi:10.1023/A:1009963912171.

การทำเหม, องแร, ทะเลล, การข, ดเหม, องในทะเล, กระบวนก, นแร, ธาต, ทำใต, มหาสม, ทร, อย, ความล, เมตร, สถานท, ทำการข, ดเหม, องใต, ทะเลโดยมากม, กจะม, นท, ใหญ, โดยแร, ธาต, จะสามารถหาได, โคบอลท, แมงกาน, ทองแดง, โดยโคบอลท, นม, ความสำค, ญอย, างมากต, อโลกเทคโนโลย, ในป, จ. karkhudehmuxnginthael khux krabwnkukhunaerthatuthithaitmhasmuthr xyuthikhwamluk 1 400 3 700 emtr 1 sthanthithakarkhudehmuxngitthaelodymakmkcamiphunthithiihy odyaerthatuthicasamarthhaidkhux okhbxlth aemngkanis thxngaedng odyokhbxlthnnmikhwamsakhyxyangmaktxolkethkhonolyiinpccubnephraaepnswnprakxbsakhykhxngaebtetxriphkphaodyokhbxlthepnolhathithukichxyangaephrhlaythwolkmacakpraethskhxngok thaihmipyhaeruxngkhxngkhwammnkhngekidchxngwangxupsngkhaelaxupthan aelaephraarakhathisungkhunthaihnkwithyasastrekhuxwakarthaehmuxngaerbnphundinnnxaccaimephiyngphxtxkhwamtxngkaraelaerimthicakhnhaaehlngthrphyakrihm nnkkhuxthaelluk aetkrannkarthaehmuxngaernnsngphlkrathbxyangmaktxrabbniewsinthxngthaelphlkrathbthangtrngthicaekidkbrabbniewsninthaelluknnkhux singmichiwitthiekaatidkbaehlngsasmaerehlanicathukthalaylng aelaekidkarepliynaeplngthangkayphaphkhxngsingaewdlxm mikarthdlxngrbkwnrabbniewsnodykarphliktakxnihkhlungkhunmaaelwtidtamphlthiekidkhun phlkhxngnganwicyphbwasingmichiwitephimkhunaetsayphnthunnldnxylng singmichiwitbangsayphnthuimpraktklbmaxangxing aekikh Ahnert A Borowski C 2000 Environmental risk assessment of anthropogenic activity in the deep sea Journal of Aquatic Ecosystem Stress and Recovery 7 4 299 315 doi 10 1023 A 1009963912171 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karthaehmuxngaerthaelluk amp oldid 8633684, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม