fbpx
วิกิพีเดีย

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ การปฏิรูปศาสนา

การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ (อังกฤษ: Protestant Reformation) คือขบวนการการปฏิรูปศาสนาที่เริ่มโดย มาร์ติน ลูเทอร์ เมื่อปี ค.ศ. 1517 เพื่อแก้ไขความเสื่อมโทรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก และสถาบันสันตะปาปา มาเสร็จสิ้นลงด้วยสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ค.ศ. 1648 ผลจากการปฏิรูปคือการแยกตัวจากนิกายคาทอลิกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์

มาร์ติน ลูเทอร์

เหตุการณ์ก่อนการปฏิรูป

มีเหตุการณ์หลายประการที่เป็นต้นเหตุเกิดการเปลี่ยนแปลง และปฏิรูปศาสนาคริสต์ครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16

  1. สถาบันสันตะปาปาตกอยู่ใต้อำนาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสระหว่าง ค.ศ. 1305-1375 ที่เรียกว่า ”การคุมขังแห่งบาบิโลเนีย" หรืออาวีญง ทำให้สถาบันฯ เสื่อมอำนาจและความศักดิ์สิทธิ์ และเป็นชนวนให้ผู้ใฝ่ในศาสนาดิ้นรนที่จะศึกษาถึงแก่นแท้ของคำสอน เกิดเป็นขบวนการการศึกษาภาษาฮีบรูและกรีกโดยมีศูนย์ที่เมืองฟลอเรนซ์ และมีการค้นคว้าศึกษาวิจัยคัมภีร์ไบเบิลอย่างมากมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสัจจะในคำสอน การได้ศึกษาพระคัมภีร์ด้วยตัวเองทำให้นักคิดชั้นนำสามารถวิจารณ์โจมตีสถาบันศาสนาได้อย่างเต็มที่
  2. การพัฒนาของเทคโนโลยีการพิมพ์ แบบเรียงพิมพ์ทำให้มีการแปลพระคัมภีร์เป็นภาษาต่าง ๆ และตีพิมพ์อย่างแพร่หลาย ซึ่งทำให้ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสศึกษาคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตัวเอง และไม่จำเป็นต้องเชื่อฟังบาทหลวง บิชอป หรือสภาสังคายนาที่จะวินิจฉัยวางหลักการอย่างไรก็ต้องยอม
    1. อีราสมัส (Desiderius Erasmus ค.ศ. 1466-1563) แปลพระคัมภีร์ฉบับกรีกเพื่อเผยแพร่ทั่วไป
    2. บิชอปซิเมเนส (Ximenes) เป็นผู้ควบคุมจัดทำคัมภีร์ไบเบิลฉบับสมรวม (The Polyglot Bible)
  3. ในช่วงศตวรรษที่ 14 เรื่อยมา มีการดึงอำนาจที่กระจัดกระจายในหมู่ขุนนางศักดินา กลับคืนสู่ราชบัลลังก์ โดยได้รับความช่วยเหลือของกลุ่มชนใหม่ที่มีภูมิกำเนิดนอกสังคมขุนนางศักดินา คือกลุ่มชนที่มีพลังเศรษฐกิจและมีความรู้ความสามารถอันเป็นผลจากความสำเร็จของครอบครัวทางการค้า หรืออุตสาหกรรม กลายเป็นสังคมรัฐประชาชาติ มีการต่อสู้ช่วงชิงอำนาจทางการเมืองภายในรัฐ ระหว่างรัฐในยุโรปกับสถาบันสันตะปาปา กลุ่มชนใหม่เหล่านี้ให้การสนับสนุนต่อประมุขการเมืองของรัฐปราบปรามบรรดาขุนนางศักดินาภายในรัฐ และต่อต้านสถาบันสันตะปาปาจากภายนอก กลุ่มชนใหม่นี้เรียกว่าชนชั้นกลางซึ่งประกอบด้วยกลุ่มพ่อค้า นักธุรกิจ นายธนาคาร และกลุ่มผู้มีการศึกษา
  4. สันตะปาปาในระยะศตวรรษที่ 15-16 ให้ความสำคัญในการประกอบภารกิจทางศาสนาน้อยมาก มีการหมกมุ่นในทางโลกและละเลยหน้าที่รับผิดชอบทางธรรมและพระวินัย มีการขายใบไถ่บาป (Sale of Indulgence) และการบูชาเรลิกของนักบุญอย่างงมงาย มีการซื้อขายตำแหน่งสมณศักดิ์ มีการอุดหนุนบุคคลในครอบครัวให้ได้รับตำแหน่งสำคัญในศาสนา เช่น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 (ค.ศ. 1492-1503) แห่งสกุลเบอร์เจีย พยายามจะสร้างฐานะมั่นคงทางโลก และทรัพย์สินแก่ลูกชายลูกสาวอย่างลับ ๆ โดยลูกชายคนสำคัญคือ ซีซาเร เบอร์เจีย (ค.ศ. 1476-1507) และให้เมียลับแต่งตัวเป็นชายร่วมขบวนแห่เฉลิมพระเกียรติของพระองค์
  5. ในสภาสังคายนาแห่งคอนสแตนซ์ (The Constance Council) ค.ศ. 1417 ภายในการนำของจักรพรรดิซิกิสมุนด์ (Sigismund ค.ศ. 1410-1437) เปิดเผยหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าเอกสาร "บรรณาการของคอนสแตนติน" เป็นเอกสารปลอมที่สถาบันสันตะปาปาจัดทำขึ้นในศตวรรษที่ 8 ทำให้อำนาจของคริสตจักรยิ่งเสื่อมและสูญเสียความนิยม มีกลุ่มคนเช่น จอห์น วิคลิฟฟ์ (John Wyclyffe ค.ศ. 1320-1384) ยาน ฮุส (Jan Hus ค.ศ. 1369-1415) และ เวสเซล (Wessl ค.ศ. 1420-1489) โจมตีคริสตจักรจากภายในเพื่อรื้อฟื้นให้คริสตจักรกลับเป็นผู้เผยแพร่คำสอนที่แท้จริง ซึ่งถึงแม้จะไม่ประสบความสำเร็จ แต่มีผลที่ทำให้คนในยุโรปในศตวรรษที่ 15 กล้าก้าวออกมาจากความงมงายของคำสอนที่แหลกเหลว และเคร่งครัดในยุคกลาง ตลอดจนการทำลายบทบาทของคริสตจักร ในฐานะอุปสรรคสำคัญของความก้าวหน้าทางด้านศิลปะวิทยาการ และความคิดที่มีเหตุผล

การปฏิรูปศาสนา (Protestant Reformation)

การปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเสร็จสิ้นลงด้วยสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ค.ศ. 1648 ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กระแสใหญ่ ๆ คือ

  1. การปฏิรูปภายนอกที่แบ่งศาสนาคริสต์ออกเป็น 2 นิกายคือ โรมันคาทอลิก และโปรเตสแตนต์
  2. การปฏิรูปภายใน ที่แก้ไขความเสื่อมโทรมของศาสนา และสถาบันสันตะปาปา เพื่อต่อสู้ไม่ให้ชาวยุโรปหันไปนิยมนิกายโปแตสแตนต์ที่เกิดขึ้นใหม่

โดยการปฏิรูปนั้นเริ่มต้นจากหลายๆทาง

จุดเริ่มต้นขบวนการปฏิรูปศาสนา

  1. ผลงานวิทยานิพนธ์ “เทวนคร” (City of God) ของออกัสตินแห่งฮิปโป ที่เป็นแรงบันดาลใจในหมู่นักปฏิรูป
  2. ขบวนการฮุสไซต์ (The Hussites) กลุ่มผู้ติดตามยัน ฮุส (Jan Hus) ชื่อหลักการ Utraquism คือ ฆราวาสมีสิทธิเช่นเดียวกับสงฆ์ในพิธีรับศีลมหาสนิท ที่จะรับทั้งขนมปังและเหล้า โดยในสมัยนั้นฆราวาสจะรับได้เพียงขนมปังและน้ำเท่านั้น ซึ่งเบื้องหลังคือการกดดันให้สถาบันสันตะปาปา และคณะกรรมาธิการศาสนา (Council Authority) ยอมรับว่าทั้งบรรพชิตและฆราวาสนั้นเท่าเทียมกัน และพระคัมภีร์เท่านั้นที่มีอำนาจสูงสุดในศาสนกิจ โดยภายหลังการปฏิรูปศาสนากลุ่มฮุสไซต์ได้เข้ารวมกับพวกติดตามลูเทอร์
  3. ขบวนการลอล์ลาร์ด (The Lollard Movement) ของจอห์น วิคลิฟฟ์ (John Wycliffe) ที่เน้นการปรับปรุงศาสนาให้เข้ากับความต้องการของสามัญชน เน้นการเทศนาสั่งสอนมากกว่าการรับศีล ต่อต้านการสารภาพบาป การสวดมนต์ให้แก่ผู้สิ้นชีวิตแล้ว การเดินทางไปจาริกแสวงบุญ การเชื่อเครื่องรางของขลัง และเริ่มการใช้คัมภีร์ไบเบิลที่แปลเป็นภาษาพื้นเมือง เพื่อให้ชาวบ้านได้ศึกษาพระคัมภีร์ด้วยตนเองแทนการพึ่งพิงพระที่ใช้พระคัมภีร์ภาษาละติน โดยขบวนการลอล์ลาร์ดนี้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการปฏิรูปศาสนาระยะแรกภายใต้มาร์ติน ลูเทอร์

ดังนั้นพบว่าขบวนการปฏิรูปศาสนานั้นได้มีการเริ่มมาจากความไม่พอใจของสงฆ์ที่มีธรรมะ และสามัญชนที่ผิดหวังในสถาบันศาสนา ประกอบกับมีการผันแปรทางการเมือง ทัศนคติทำให้ผู้ที่ปรารถนาจะแก้ไขความเสื่อมในศาสนากล้าที่จะประกาศตนออกจากสถาบันศาสนา โดยไม่ต้องหวาดกลัวต่อชะตากรรมแบบ “ลอยแพ” ของสังคมในยุคกลางอีกต่อไป

ผลของการปฏิรูปศาสนา

ทางการเมือง
การปฏิรูปศาสนาได้ทำให้พวกที่ไม่ต้องการระเบียบแบบแผน และพวกที่มีความคิดเห็นรุนแรงทางศาสนาก่อการจลาจลวุ่นวายขึ้นเรียกว่า ”กบฏชาวนา” ในปี ค.ศ. 1525 ที่โบฮีเมีย มีทั้งกลุ่มอัศวินต่อสู้กับเจ้านายของตน และพวกชาวนาที่ก่อการปฏิวัติต่อเจ้าของที่ดินโดยต่างยื่นข้อเสนอเรียกร้องสิทธิของตน และกำหนดกฎเกณฑ์เอาตามใจชอบ บ้างก็ขอเสรีภาพในการถือศาสนา ดังนั้นลูเทอร์จึงได้ลุกขึ้นมาสอนให้ประชาชนเคารพประมุข และกฎหมายของรัฐ และต่อต้านการจลาจล โดยถือว่าประมุขของรัฐมีอำนาจอันชอบธรรมในสายตาของศาสนา ที่จะดำเนินการเด็ดขาดกับขบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นคำสอนของลักธิลูเทอรันส่งเสริมอำนาจชนชั้นปกครอง
ทางศาสนา

เกิดการปฏิรูปศาสนาไปทั่วยุโรปโดยแบ่งออกเป็น

  • แยกนิกายเป็น โปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิก
  • การปฏิรูปภายในนิกายโรมันคาทอลิกเอง เช่น เกิดคณะเยสุอิต (The Jesuits) ที่เน้นการศึกษาวิทยาการใหม่เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม สภาสังคายนาแห่งเทรนต์ (1545-1563) ซึ่งต้องการแก้ไขข้อติดเตียนของขบวนการปฏิรูปศาสนาโปรเตสแตนต์ทั้งหมด แต่ยังเชื่อว่าสิทธิอำนาจมาจากพระคัมภีร์และขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ที่คริสตจักรได้รับสืบทอดมาจากเปโตร และยอมรับอำนาจของสันตะปาปาว่ายังมีอยู่ ผลการปฏิรูปนิกายโรมันคาทอลิก ทำให้สามารถป้องการการขยายตัวของความนิยมในนิกายโปรเตสแตนต์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าสันตะปาปาต้องเสียอำนาจในยุโรปไปมาก แต่ก็ยังสามารถรักษาอิทธิพลทางจิตใจเหนือประชากรจำนวนมากของโลกตะวันตกไว้ได้ และสามารถฟื้นฟูความศักดิ์สิทธิของโรมได้จนถึงปัจจุบัน

อ้างอิง

  1. Simon, Edith (1966). Great Ages of Man: The Reformation. Time-Life Books. pp. pp. 120-121. ISBN 0662278208.CS1 maint: extra text (link)

ดูเพิ่ม

การปฏ, ปศาสนาฝ, ายโปรเตสแตนต, สำหร, บความหมายอ, การปฏ, ปศาสนา, งกฤษ, protestant, reformation, อขบวนการการปฏ, ปศาสนาท, เร, มโดย, มาร, เทอร, เม, อป, 1517, เพ, อแก, ไขความเส, อมโทรมของคร, สตจ, กรโรม, นคาทอล, และสถาบ, นส, นตะปาปา, มาเสร, จส, นลงด, วยสนธ, ญญาส, นต,. sahrbkhwamhmayxun duthi karptirupsasna karptirupsasnafayopretsaetnt xngkvs Protestant Reformation khuxkhbwnkarkarptirupsasnathierimody martin luethxr emuxpi kh s 1517 ephuxaekikhkhwamesuxmothrmkhxngkhristckrormnkhathxlik aelasthabnsntapapa maesrcsinlngdwysnthisyyasntiphaphewstfaeliy kh s 1648 1 phlcakkarptirupkhuxkaraeyktwcaknikaykhathxlikmaepnnikayopretsaetntmartin luethxr enuxha 1 ehtukarnkxnkarptirup 2 karptirupsasna Protestant Reformation 3 cuderimtnkhbwnkarptirupsasna 4 phlkhxngkarptirupsasna 5 xangxing 6 duephimehtukarnkxnkarptirup aekikhmiehtukarnhlayprakarthiepntnehtuekidkarepliynaeplng aelaptirupsasnakhristkhrngihyinchwngkhriststwrrsthi 16 sthabnsntapapatkxyuitxanackhxngsthabnphramhakstriyfrngessrahwang kh s 1305 1375 thieriykwa karkhumkhngaehngbabioleniy hruxxawiyng thaihsthabn esuxmxanacaelakhwamskdisiththi aelaepnchnwnihphuifinsasnadinrnthicasuksathungaeknaethkhxngkhasxn ekidepnkhbwnkarkarsuksaphasahibruaelakrikodymisunythiemuxngflxerns aelamikarkhnkhwasuksawicykhmphiribebilxyangmakmayephuxihidmasungsccainkhasxn karidsuksaphrakhmphirdwytwexngthaihnkkhidchnnasamarthwicarnocmtisthabnsasnaidxyangetmthi karphthnakhxngethkhonolyikarphimph aebberiyngphimphthaihmikaraeplphrakhmphirepnphasatang aelatiphimphxyangaephrhlay sungthaihprachachnthwipidmioxkassuksakhmphiribebiliddwytwexng aelaimcaepntxngechuxfngbathhlwng bichxp hruxsphasngkhaynathicawinicchywanghlkkarxyangirktxngyxm xirasms Desiderius Erasmus kh s 1466 1563 aeplphrakhmphirchbbkrikephuxephyaephrthwip bichxpsiemens Ximenes epnphukhwbkhumcdthakhmphiribebilchbbsmrwm The Polyglot Bible inchwngstwrrsthi 14 eruxyma mikardungxanacthikracdkracayinhmukhunnangskdina klbkhunsurachbllngk odyidrbkhwamchwyehluxkhxngklumchnihmthimiphumikaenidnxksngkhmkhunnangskdina khuxklumchnthimiphlngesrsthkicaelamikhwamrukhwamsamarthxnepnphlcakkhwamsaerckhxngkhrxbkhrwthangkarkha hruxxutsahkrrm klayepnsngkhmrthprachachati mikartxsuchwngchingxanacthangkaremuxngphayinrth rahwangrthinyuorpkbsthabnsntapapa klumchnihmehlaniihkarsnbsnuntxpramukhkaremuxngkhxngrthprabprambrrdakhunnangskdinaphayinrth aelatxtansthabnsntapapacakphaynxk klumchnihmnieriykwachnchnklangsungprakxbdwyklumphxkha nkthurkic naythnakhar aelaklumphumikarsuksa sntapapainrayastwrrsthi 15 16 ihkhwamsakhyinkarprakxbpharkicthangsasnanxymak mikarhmkmuninthangolkaelalaelyhnathirbphidchxbthangthrrmaelaphrawiny mikarkhayibithbap Sale of Indulgence aelakarbuchaerlikkhxngnkbuyxyangngmngay mikarsuxkhaytaaehnngsmnskdi mikarxudhnunbukhkhlinkhrxbkhrwihidrbtaaehnngsakhyinsasna echn smedcphrasntapapaxelksanedxrthi 6 kh s 1492 1503 aehngskulebxreciy phyayamcasrangthanamnkhngthangolk aelathrphysinaeklukchayluksawxyanglb odylukchaykhnsakhykhux sisaer ebxreciy kh s 1476 1507 aelaihemiylbaetngtwepnchayrwmkhbwnaehechlimphraekiyrtikhxngphraxngkh insphasngkhaynaaehngkhxnsaetns The Constance Council kh s 1417 phayinkarnakhxngckrphrrdisikismund Sigismund kh s 1410 1437 epidephyhlkthanthiechuxthuxidwaexksar brrnakarkhxngkhxnsaetntin epnexksarplxmthisthabnsntapapacdthakhuninstwrrsthi 8 thaihxanackhxngkhristckryingesuxmaelasuyesiykhwamniym miklumkhnechn cxhn wikhliff John Wyclyffe kh s 1320 1384 yan hus Jan Hus kh s 1369 1415 aela ewsesl Wessl kh s 1420 1489 ocmtikhristckrcakphayinephuxruxfunihkhristckrklbepnphuephyaephrkhasxnthiaethcring sungthungaemcaimprasbkhwamsaerc aetmiphlthithaihkhninyuorpinstwrrsthi 15 klakawxxkmacakkhwamngmngaykhxngkhasxnthiaehlkehlw aelaekhrngkhrdinyukhklang tlxdcnkarthalaybthbathkhxngkhristckr inthanaxupsrrkhsakhykhxngkhwamkawhnathangdansilpawithyakar aelakhwamkhidthimiehtuphlkarptirupsasna Protestant Reformation aekikhkarptirupsasnakhxngnikayopretsaetnt ekidkhuninkhriststwrrsthi 16 aelaesrcsinlngdwysnthisyyasntiphaphewstfaeliy kh s 1648 sungaebngxxkepn 2 kraaesihy khux karptirupphaynxkthiaebngsasnakhristxxkepn 2 nikaykhux ormnkhathxlik aelaopretsaetnt karptirupphayin thiaekikhkhwamesuxmothrmkhxngsasna aelasthabnsntapapa ephuxtxsuimihchawyuorphnipniymnikayopaetsaetntthiekidkhunihmodykarptirupnnerimtncakhlaythangcuderimtnkhbwnkarptirupsasna aekikhphlnganwithyaniphnth ethwnkhr City of God khxngxxkstinaehnghipop thiepnaerngbndalicinhmunkptirup khbwnkarhusist The Hussites klumphutidtamyn hus Jan Hus chuxhlkkar Utraquism khux khrawasmisiththiechnediywkbsngkhinphithirbsilmhasnith thicarbthngkhnmpngaelaehla odyinsmynnkhrawascarbidephiyngkhnmpngaelanaethann sungebuxnghlngkhuxkarkddnihsthabnsntapapa aelakhnakrrmathikarsasna Council Authority yxmrbwathngbrrphchitaelakhrawasnnethaethiymkn aelaphrakhmphirethannthimixanacsungsudinsasnkic odyphayhlngkarptirupsasnaklumhusistidekharwmkbphwktidtamluethxr khbwnkarlxllard The Lollard Movement khxngcxhn wikhliff John Wycliffe thiennkarprbprungsasnaihekhakbkhwamtxngkarkhxngsamychn ennkarethsnasngsxnmakkwakarrbsil txtankarsarphaphbap karswdmntihaekphusinchiwitaelw karedinthangipcarikaeswngbuy karechuxekhruxngrangkhxngkhlng aelaerimkarichkhmphiribebilthiaeplepnphasaphunemuxng ephuxihchawbanidsuksaphrakhmphirdwytnexngaethnkarphungphingphrathiichphrakhmphirphasalatin odykhbwnkarlxllardnimikhwamsmphnthiklchidkbkarptirupsasnarayaaerkphayitmartin luethxrdngnnphbwakhbwnkarptirupsasnannidmikarerimmacakkhwamimphxickhxngsngkhthimithrrma aelasamychnthiphidhwnginsthabnsasna prakxbkbmikarphnaeprthangkaremuxng thsnkhtithaihphuthiprarthnacaaekikhkhwamesuxminsasnaklathicaprakastnxxkcaksthabnsasna odyimtxnghwadklwtxchatakrrmaebb lxyaeph khxngsngkhminyukhklangxiktxipphlkhxngkarptirupsasna aekikhthangkaremuxng karptirupsasnaidthaihphwkthiimtxngkarraebiybaebbaephn aelaphwkthimikhwamkhidehnrunaerngthangsasnakxkarclaclwunwaykhuneriykwa kbtchawna inpi kh s 1525 thiobhiemiy mithngklumxswintxsukbecanaykhxngtn aelaphwkchawnathikxkarptiwtitxecakhxngthidinodytangyunkhxesnxeriykrxngsiththikhxngtn aelakahndkdeknthexatamicchxb bangkkhxesriphaphinkarthuxsasna dngnnluethxrcungidlukkhunmasxnihprachachnekharphpramukh aelakdhmaykhxngrth aelatxtankarclacl odythuxwapramukhkhxngrthmixanacxnchxbthrrminsaytakhxngsasna thicadaeninkareddkhadkbkhbwnkarehlani ephraachannkhasxnkhxnglkthiluethxrnsngesrimxanacchnchnpkkhrxngthangsasnaekidkarptirupsasnaipthwyuorpodyaebngxxkepn aeyknikayepn opretsaetntaelaormnkhathxlik karptirupphayinnikayormnkhathxlikexng echn ekidkhnaeysuxit The Jesuits thiennkarsuksawithyakarihmephuxprbtwihekhakbsphaphaewdlxm sphasngkhaynaaehngethrnt 1545 1563 sungtxngkaraekikhkhxtidetiynkhxngkhbwnkarptirupsasnaopretsaetntthnghmd aetyngechuxwasiththixanacmacakphrakhmphiraelakhnbthrrmeniymtang thikhristckridrbsubthxdmacakepotr aelayxmrbxanackhxngsntapapawayngmixyu phlkarptirupnikayormnkhathxlik thaihsamarthpxngkarkarkhyaytwkhxngkhwamniyminnikayopretsaetntxyangmiprasiththiphaph aemwasntapapatxngesiyxanacinyuorpipmak aetkyngsamarthrksaxiththiphlthangciticehnuxprachakrcanwnmakkhxngolktawntkiwid aelasamarthfunfukhwamskdisiththikhxngormidcnthungpccubnxangxing aekikh Simon Edith 1966 Great Ages of Man The Reformation Time Life Books pp pp 120 121 ISBN 0662278208 CS1 maint extra text link duephim aekikhkarptirupsasna karptirupkhathxlikekhathungcak https th wikipedia org w index php title karptirupsasnafayopretsaetnt amp oldid 9577318, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม