fbpx
วิกิพีเดีย

การป้อนกลับสถานะแบบเต็ม

การป้อนกลับสถานะแบบเต็ม (อังกฤษ: Full state feedback ; FSF) หรือ การวางขั้ว (pole placement) ซึ่งเป็นวิธีการออกแบบตัวควบคุมสำหรับป้อนกลับในทฤษฎีระบบควบคุม เพื่อวางขั้วของระบบวงปิดในเป็นไปในตำแหน่งที่ผู้ออกแบบต้องการในระนาบของผลการแปลงลาปลาซ (s-plane) โดยการวางขั้วในที่นี้หมายถึงการกำหนดค่าลักษณะเฉพาะของตัวระบบ (ค่าลักษณะเฉพาะเมทริกซ์ A ในสมการแบบจำลองปริภูมิสถานะ) นั้นมีความเกี่ยวพันกับเสถียรภาพของตัวระบบโดยตรงตามทฤษฎีระบบควบคุมเชิงเส้น และวิธีการนี้ใช้ได้กับเฉพาะระบบที่มีสภาพควบคุมได้เท่านั้น ซึ่งนั้นหมายความว่าในที่นี้เราถือว่าเราสามารถวัดค่าสถานะได้ทุกค่าจากตัวตรวจวัด ซึ่งเป็นกรณีที่อุดมคติมากในความเป็นจริง

หลักการ

ถ้าระบบวงปิดสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของสมการปริภูมิสถานะ ดังนี้แล้ว

 
 

ดังนั้นขั้ว (pole) ของระบบคือรากของสมการลักษณะเฉพาะ ที่มีรูปแบบดังนี้


 

เมื่อทำการป้อนกลับโดยใช้ค่าสถานะทุกตัว   แล้ว (เพราะถือว่าเราสามารถวัดค่าสถานะได้ทุกค่าจากตัวตรวจวัด) สัญญาณขาเข้า   คือ

 .

แทนค่า   ข้างต้นลงในสมการสถานะ จะได้ว่า

 
 

ขั้วของระบบที่ได้รับการป้อนกลับแล้วจะหาได้จากสมการลักษณะเฉพาะ   และโดยการเทียบสัมประสิทธิ์ ของสมการนี้กับ สมการลักษณะเฉพาะที่เราต้องการ ผู้ออกแบบก็จะสามารถหาค่าของเมทริกซ์   ที่ใช้ในการควบคุมระบบให้มีขั้วตามสมการลักษณะเฉพาะที่เราต้องการได้

ตัวอย่าง

พิจารณาสมการปริภูมิสถานะ

 

จะพบว่าเมื่อไม่มีการควบคุมนั้น ตัวระบบวงปิดมีขั้วที่   และ   แต่ถ้าเราต้องการให้ระบบวงปิดมีขั้วที่   และd   แทน (ซึ่งมีสมการลักษณะเฉพาะคือ   ) .

ขั้นตอนการการป้อนกลับสถานะแบบเต็ม เป็นดังนี้คือ กำหนดให้ ค่าคงที่  

และสมการลักษณะเฉพาะของระบบที่ติดตัวแปร  คือ

 .

เมื่อทำการเทียบ สัมประสิทธิ์ของทั้งสองสมการลักษณะเฉพาะแล้วจะได้

 .

จะเห็นได้ว่าการกำหนดให้   (ซึ้งก็คือการป้อนสถานะแบบเต็มนั้นเอง) ทำให้ระบบวงปิดมีขั้วและคุณสมบัติตามที่เราต้องการนั้นเอง

หมายเหตุ: ตัวอย่างข้างต้นนี้สำหรับกรณี สัญญาณเข้าทางเดียวและสัญญาณขาออกทางเดียว (Single-Input and Single-Output) เท่านั้น ในกรณี สัญญาณขาเข้าหลายทางและสัญญาณขาออกหลายทาง (Multiple-Input and Multiple-Output) ค่า เมทริกซ์   อาจจะมีได้หลายค่าและให้ผลต่อระบบวงปิดในแบบเดียวกัน ดังนั้นการเลือกใช้ K ที่ดีที่สุดและเหมาะกับสภาพความเป็นจริงของปัญหาก็เป็นอีกประเด้นหนึ่งที่ผู้ออกแบบต้องพิจารณา ซึ่งโดยปรกติแล้วเราจะนิยมใช้วิธีการ linear-quadratic regulator กันมากกว่า

อ้างอิง

  1. *Sontag, Eduardo (1998). Mathematical Control Theory: Deterministic Finite Dimensional Systems. Second Edition. Springer. ISBN 0-387-98489-5.
  2. สื่อการสอนเกี่ยวกับทฤษฎีระบบควบคุม การป้อนกลับสถานะแบบเต็ม ของ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน

ดูเพิ่ม

การป, อนกล, บสถานะแบบเต, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งกฤษ, full, state, feedback, หร, การวางข, pole, placement, งเป, น. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkarpxnklbsthanaaebbetm xngkvs Full state feedback FSF hrux karwangkhw pole placement sungepnwithikarxxkaebbtwkhwbkhumsahrbpxnklbinthvsdirabbkhwbkhum ephuxwangkhwkhxngrabbwngpidinepnipintaaehnngthiphuxxkaebbtxngkarinranabkhxngphlkaraeplnglaplas s plane 1 odykarwangkhwinthinihmaythungkarkahndkhalksnaechphaakhxngtwrabb khalksnaechphaaemthriks A insmkaraebbcalxngpriphumisthana nnmikhwamekiywphnkbesthiyrphaphkhxngtwrabbodytrngtamthvsdirabbkhwbkhumechingesn aelawithikarniichidkbechphaarabbthimisphaphkhwbkhumidethann sungnnhmaykhwamwainthinierathuxwaerasamarthwdkhasthanaidthukkhacaktwtrwcwd sungepnkrnithixudmkhtimakinkhwamepncring enuxha 1 hlkkar 2 2 twxyang 3 xangxing 4 duephimhlkkar 2 aekikhtharabbwngpidsamarthekhiynihxyuinrupkhxngsmkarpriphumisthana dngniaelw x A x B u displaystyle dot underline x mathbf A underline x mathbf B underline u y C x D u displaystyle underline y mathbf C underline x mathbf D underline u dngnnkhw pole khxngrabbkhuxrakkhxngsmkarlksnaechphaa thimirupaebbdngni s I A 0 displaystyle left s textbf I textbf A right 0 emuxthakarpxnklbodyichkhasthanathuktw x displaystyle underline x aelw ephraathuxwaerasamarthwdkhasthanaidthukkhacaktwtrwcwd syyankhaekha u displaystyle underline u khux u K x displaystyle underline u mathbf K underline x aethnkha u displaystyle underline u khangtnlnginsmkarsthana caidwa x A B K x displaystyle dot underline x mathbf A mathbf B mathbf K underline x y C D K x displaystyle underline y mathbf C mathbf D mathbf K underline x khwkhxngrabbthiidrbkarpxnklbaelwcahaidcaksmkarlksnaechphaa det s I A B K displaystyle det left s textbf I left textbf A textbf B textbf K right right aelaodykarethiybsmprasiththi khxngsmkarnikb smkarlksnaechphaathieratxngkar phuxxkaebbkcasamarthhakhakhxngemthriks K displaystyle textbf K thiichinkarkhwbkhumrabbihmikhwtamsmkarlksnaechphaathieratxngkaridtwxyang aekikhphicarnasmkarpriphumisthana x 0 1 2 3 x 0 1 u displaystyle dot underline x begin bmatrix 0 amp 1 2 amp 3 end bmatrix underline x begin bmatrix 0 1 end bmatrix underline u caphbwaemuximmikarkhwbkhumnn twrabbwngpidmikhwthi s 1 displaystyle s 1 aela s 2 displaystyle s 2 aetthaeratxngkarihrabbwngpidmikhwthi s 1 displaystyle s 1 aelad s 5 displaystyle s 5 aethn sungmismkarlksnaechphaakhux s 2 6 s 5 0 displaystyle s 2 6s 5 0 khntxnkarkarpxnklbsthanaaebbetm epndngnikhux kahndih khakhngthi K k 1 k 2 displaystyle mathbf K begin bmatrix k 1 amp k 2 end bmatrix aelasmkarlksnaechphaakhxngrabbthitidtwaepr K displaystyle mathbf K khux s I A B K det s 1 2 k 1 s 3 k 2 s 2 3 k 2 s 2 k 1 displaystyle left s mathbf I left mathbf A mathbf B mathbf K right right det begin bmatrix s amp 1 2 k 1 amp s 3 k 2 end bmatrix s 2 3 k 2 s 2 k 1 emuxthakarethiyb smprasiththikhxngthngsxngsmkarlksnaechphaaaelwcaid K 3 3 displaystyle mathbf K begin bmatrix 3 amp 3 end bmatrix caehnidwakarkahndih u K x displaystyle underline u mathbf K underline x sungkkhuxkarpxnsthanaaebbetmnnexng thaihrabbwngpidmikhwaelakhunsmbtitamthieratxngkarnnexnghmayehtu twxyangkhangtnnisahrbkrni syyanekhathangediywaelasyyankhaxxkthangediyw Single Input and Single Output ethann inkrni syyankhaekhahlaythangaelasyyankhaxxkhlaythang Multiple Input and Multiple Output kha emthriks K displaystyle textbf K xaccamiidhlaykhaaelaihphltxrabbwngpidinaebbediywkn dngnnkareluxkich K thidithisudaelaehmaakbsphaphkhwamepncringkhxngpyhakepnxikpraednhnungthiphuxxkaebbtxngphicarna sungodyprktiaelweracaniymichwithikar linear quadratic regulator knmakkwaxangxing aekikh Sontag Eduardo 1998 Mathematical Control Theory Deterministic Finite Dimensional Systems Second Edition Springer ISBN 0 387 98489 5 suxkarsxnekiywkbthvsdirabbkhwbkhum karpxnklbsthanaaebbetm khxng mhawithyalykharenkiemllxnduephim aekikhPole splitting Step response thvsdirabbkhwbkhum rabbkhwbkhumphiixdi ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karpxnklbsthanaaebbetm amp oldid 6528202, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม