fbpx
วิกิพีเดีย

การวิจัยเชิงบุกเบิก

การวิจัยเชิงบุกเบิก (อังกฤษ: exploratory research) คือประเภทของการวิจัยที่ปัญหายังไม่ได้รับการนิยามหรือบ่งชี้โดยชัดเจนมาก่อน การวิจัยเชิงบุกเบิกเอื้อให้ผู้วิจัยทำการออกแบบกระบวนการขั้นตอนการวิจัย การเก็บข้อมูล และการเลือกชื่อเรื่องได้ดีที่สุด ด้วยลักษณะการวิจัยพื้นฐานแบบนี้เองที่ได้ผลการวิจัยออกมาบ่อยครั้งว่าปัญหาที่นึกคาดไว้หรือที่ตั้งเป็นสมมุติฐานไว้ว่าไม่มีอยู่จริง

การวิจัยเชิงบุกเบิก มักพึ่งการวิจัยทุติยภูมิ (secondary research) เช่น การทบทวนวรรณกรรม หรือการเข้าหาปัญหาเชิงปริมาณเช่นการสอบถามหรืออภิปรายอย่างไม่เป็นทางการกับผู้บริโภค, ลูกจ้าง, ฝ่ายบริหารจัดการหรือคู่แข่ง และเข้าสู่ปัญหาที่ลึกขึ้นโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การเจาะกลุ่ม (focus groups) วิธีถามแบบเลียบเคียง กรณีศึกษา หรือการศึกษานำร่อง อินเทอร์เน็ตช่วยให้วิธีวิจัยมีความเป็นปฏิสัมพันธ์ได้มาก เช่น RSS (รูปแบบหนึ่งของเว็บฟีด) สามารถให้ข้อมูลข่าวสารสำหรับการวิจัยที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยมาก โปรแกรมค้นหาหลักๆ เช่น กูเกิลอเลิร์ต จะส่งข้อมูลที่ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่องวิจัยแก่ผู้วิจัยโดยอัตโนมัติทางอีเมล ส่วนโปรแกรมกูเกิลเทรนด์ สามารถสืบค้นข้อมูลเรื่องวิจัยที่ละเอียดเจาะจงแต่ได้ผลช้ากว่า นอกจากนี้ผู้วิจัยยังสามารถสร้างเว็บไซต์ที่เรียกว่า “บล็อก” เฉพาะของตนขึ้นเพื่อรองรับข้อมูลข่าวสารที่อาจป้อนเข้ามาถึงได้ทุกเนื้อหาวิชา

ผลของการวิจัยเชิงบุกเบิกมักไม่มีประโยชน์สำหรับการตัดสินใจโดยตัวของมันเอง แต่ในบางสถานการณ์ก็เป็นตัวเอื้อช่วยให้การเจาะลงลึกสู่รายละเอียดของการวิจัยแม่นยำขึ้น และแม้ว่าผลการวิจัยที่เป็นเชิงปริมาณอาจช่วยให้บ่งชี้หรือนิยามได้ชัดในระดับ “ทำไม” “อย่างไร” และ “เมื่อใด” ที่สิ่งนั้นเกิดขึ้น แต่ก็ไม่สามารถบอกผู้วิจัยได้ว่า “บ่อยเพียงใด” หรือ “มากน้อยเท่าใด”

การวิจัยเชิงบุกเบิกไม่อาจนำมาใช้ในการเป็นการทั่วไปได้ในด้านประชากรศาสตร์

ด้านสังคมศาสตร์

ในหลายวงการทางสังคมศาสตร์ การวิจัยเชิงบุกเบิกเป็นการ “มุ่งค้นหาว่ามนุษย์ตกลงเห็นร่วมกันในคำถามได้อย่างไร, มนุษย์ให้ความหมายอะไรในการกระทำของตน, และประเด็นที่มนุษย์ห่วงใยมีอะไรบ้าง เป้าหมายการวิจัยทางสังคมศาสตร์ได้แก่การเรียนรู้ว่า “อะไรกำลังเกิดขึ้นที่นี่” และทำการลืบสวนหาปรากฏการณ์ทางสังคมโดยปราศจากการคาดการณ์ล่วงหน้า (Schutt, 2007) ระเบียบวิธีนี้ปัจจุบันเรียกว่า “ทฤษฎีพื้นฐาน” (grounded theory) ที่ใช้มุ่งสู่ “การวิจัยเชิงคุณภาพ” (qualitative research) หรือ “การวิจัยเชิงตีความ” (interpretive research) และเป็นความพยายามที่จะ “ขุดค้น” ทฤษฎีจากตัวข้อมูลเองมากกว่าจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้

ในด้านการตลาด โครงการวิจัยแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้

  • การวิจัยเชิงบุกเบิก
  • การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research)
  • การวิจัยเชิงสาเหตุ (Causal research)

การวิจัยเชิงบุกเบิกด้านการตลาด วัตถุประสงค์ได้แก่การเก็บรวบรวมข้อมูลขั้นต้นพื่อนำมาใช้ในการบ่งชี้ปัญหาและเพื่อชี้แนะสมมุติฐาน (Kotler et al. 2006, p. 122)

การวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์ได้แก่การพรรณาถึงสิ่งต่างๆ เช่นศักยภาพของตลาดของผลิตภัณฑ์ หรือ ประชากรศาสตร์และทัศนคติของผู้บริโภคผู้ซื้ผลิตภัณฑ์ (Kotler et al. 2006, p. 122)

การวิจัยเชิงสาเหตุ วัตถุประสงค์คือการทดสอบสมมัติฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสาเหตุและผล (Kotler et al. 2006, p. 122)

อ้างอิง

  • Kotler, P, Adam, S, Brown, L & Armstrong, G 2006, Principles of Marketing , 3rd edn, Prentice Hall, Frenchs Forest, NSW
  • Russell K. Schutt, 2007, Investigating the Social World, 5th ed, Pine Forge Press

การว, ยเช, งบ, กเบ, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งกฤษ, exploratory, research, อประเภทของการว, ยท, ญหาย, งไม, ได, บการน,. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkarwicyechingbukebik xngkvs exploratory research khuxpraephthkhxngkarwicythipyhayngimidrbkarniyamhruxbngchiodychdecnmakxn karwicyechingbukebikexuxihphuwicythakarxxkaebbkrabwnkarkhntxnkarwicy karekbkhxmul aelakareluxkchuxeruxngiddithisud dwylksnakarwicyphunthanaebbniexngthiidphlkarwicyxxkmabxykhrngwapyhathinukkhadiwhruxthitngepnsmmutithaniwwaimmixyucringkarwicyechingbukebik mkphungkarwicythutiyphumi secondary research echn karthbthwnwrrnkrrm hruxkarekhahapyhaechingprimanechnkarsxbthamhruxxphiprayxyangimepnthangkarkbphubriophkh lukcang faybriharcdkarhruxkhuaekhng aelaekhasupyhathilukkhunodykarsmphasnechingluk karecaaklum focus groups withithamaebbeliybekhiyng krnisuksa hruxkarsuksanarxng xinethxrentchwyihwithiwicymikhwamepnptismphnthidmak echn RSS rupaebbhnungkhxngewbfid samarthihkhxmulkhawsarsahrbkarwicythimiprasiththiphaphaelathnsmymak opraekrmkhnhahlk echn kuekilxelirt casngkhxmulthithwipthiekiywkhxngkbchuxeruxngwicyaekphuwicyodyxtonmtithangxieml swnopraekrmkuekilethrnd samarthsubkhnkhxmuleruxngwicythilaexiydecaacngaetidphlchakwa nxkcakniphuwicyyngsamarthsrangewbistthieriykwa blxk echphaakhxngtnkhunephuxrxngrbkhxmulkhawsarthixacpxnekhamathungidthukenuxhawichaphlkhxngkarwicyechingbukebikmkimmipraoychnsahrbkartdsinicodytwkhxngmnexng aetinbangsthankarnkepntwexuxchwyihkarecaalngluksuraylaexiydkhxngkarwicyaemnyakhun aelaaemwaphlkarwicythiepnechingprimanxacchwyihbngchihruxniyamidchdinradb thaim xyangir aela emuxid thisingnnekidkhun aetkimsamarthbxkphuwicyidwa bxyephiyngid hrux maknxyethaid karwicyechingbukebikimxacnamaichinkarepnkarthwipidindanprachakrsastrdansngkhmsastr aekikhinhlaywngkarthangsngkhmsastr karwicyechingbukebikepnkar mungkhnhawamnusytklngehnrwmkninkhathamidxyangir mnusyihkhwamhmayxairinkarkrathakhxngtn aelapraednthimnusyhwngiymixairbang epahmaykarwicythangsngkhmsastridaekkareriynruwa xairkalngekidkhunthini aelathakarlubswnhapraktkarnthangsngkhmodyprascakkarkhadkarnlwnghna Schutt 2007 raebiybwithinipccubneriykwa thvsdiphunthan grounded theory thiichmungsu karwicyechingkhunphaph qualitative research hrux karwicyechingtikhwam interpretive research aelaepnkhwamphyayamthica khudkhn thvsdicaktwkhxmulexngmakkwacaksmmutithanthitngiwindankartlad okhrngkarwicyaebngxxkidepn 3 praephthdngni karwicyechingbukebik karwicyechingphrrnna Descriptive research karwicyechingsaehtu Causal research karwicyechingbukebikdankartlad wtthuprasngkhidaekkarekbrwbrwmkhxmulkhntnphuxnamaichinkarbngchipyhaaelaephuxchiaenasmmutithan Kotler et al 2006 p 122 karwicyechingphrrnna wtthuprasngkhidaekkarphrrnathungsingtang echnskyphaphkhxngtladkhxngphlitphnth hrux prachakrsastraelathsnkhtikhxngphubriophkhphusuphlitphnth Kotler et al 2006 p 122 karwicyechingsaehtu wtthuprasngkhkhuxkarthdsxbsmmtithanekiywkbkhwamsmphnthkhxngsaehtuaelaphl Kotler et al 2006 p 122 xangxing aekikhKotler P Adam S Brown L amp Armstrong G 2006 Principles of Marketing 3rd edn Prentice Hall Frenchs Forest NSW Russell K Schutt 2007 Investigating the Social World 5th ed Pine Forge Pressekhathungcak https th wikipedia org w index php title karwicyechingbukebik amp oldid 5044028, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม