fbpx
วิกิพีเดีย

การสังเคราะห์เวอเลอร์

การสังเคราะห์เวอเลอร์ เป็นการเปลี่ยนแอมโมเนียมไซยาเนตไปเป็นยูเรีย ปฏิกิริยาเคมีนี้ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1828 โดยฟรีดริช เวอเลอร์ขณะพยายามสังเคราะห์แอมโมเนียมไซยาเนต ปฏิกิริยาดังกล่าวถูกมองว่าเป็นจุดเริ่มต้นของเคมีอินทรีย์สมัยใหม่ ถึงแม้ว่าปฏิกิริยาเวอเลอร์จะเป็นการเปลี่ยนแอมโมเนียมไซยาเนต ซึ่งเกลือนี้ปรากฏเฉพาะเป็นสารตัวกลางที่ไม่เสถียรเท่านั้น เวอเลอร์สาธิตปฏิกิริยาดังกล่าวในสื่อตีพิมพ์ต้นฉบับที่มีชุดตัวทำปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งกรดไซยานิกและแอมโมเนีย, ซิลเวอร์ไซยาเนตกับแอมโมเนียมคลอไรด์, เลดไซยาเนตกับแอมโมเนีย และเมอร์คิวรีไซยาเนตกับไซยานาติกแอมโมเนีย (ซึ่งก็คือกรดไซยานิกกับแอมโมเนีย)

ปฏิกิริยานี้สามารถแสดงโดยเริ่มต้นจากสารละลายโพแทสเซียมไซยาเนตกับแอมโมเนียมคลอไรด์ซึ่งจะถูกผสม ให้ความร้อนและทำให้เย็นอีกครั้ง หลักฐานเพิ่มเติมของการเปลี่ยนรูปทางเคมียังสามารถตรวจสอบได้จากการเติมสารละลายกรดออกซาลิกซึ่งได้ผลิตภัณฑ์เป็นยูเรียออกซาเลตโดยตกตะกอนสีขาว

อีกทางหนึ่ง ปฏิกิริยาสามารถกระทำได้โดยเลดไซยาเนตกับแอมโมเนีย ปฏิกิริยาที่แท้จริงเกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาแทนที่คู่ซึ่งกันและกันแล้วก็เกิดเป็นแอมโมเนียมไซยาเนต เขียนเป็นสมการได้ดังนี้

แอมโมเนียมไซยาเนตแตกตัวเป็นแอมโมเนียและกรดไซยานิก ซึ่งทำปฏิกิริยากับยูเรียต่อในปฏิกิริยาการเพิ่มนิวคลิโอไฟล์ ตามด้วยโทเมอริกไอโซเมอไรเซชัน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้

การเกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับกรดออกซาลิกช่วยทำให้สมดุลเคมีนี้สมบูรณ์

การสังเคราะห์เวอเลอร์นี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นครั้งแรกที่สารประกอบอินทรีย์ถูกผลิตขึ้นจากตัวทำปฏิกิริยาอนินทรีย์ การค้นพบดังกล่าวได้ค้านทฤษฎีกระแสหลักในเวลานั้นที่เรียกว่า "ชีวิตนิยม" ซึ่งกล่าวว่าสารอินทรีย์มีอำนาจพิเศษหรือพลังชีวิตที่พบในสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ ด้วยเหตุผลนี้เองที่ทำให้สารประกอบอินทรีย์และอนินทรีย์มีเส้นแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจน ยูเรียถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1799 และก่อนหน้าการสังเคราะห์ดังกล่าวสามารถพบได้เฉพาะจากสิ่งมีชีวิตอย่างเช่น ปัสสาวะ

อ้างอิง

  1. Friedrich Wöhler (1828). "Ueber künstliche Bildung des Harnstoffs". Annalen der Physik und Chemie. 88 (2): 253–256. doi:10.1002/andp.18280880206.
  2. Wöhler's Synthesis of Urea: How Do the Textbooks Report It? Paul S. Cohen, Stephen M. Cohen J. Chem. Educ. 1996 73 883 Abstract
  3. A Demonstration of Wöhler's Experiment: Preparation of Urea from Ammonium Chloride and Potassium Cyanate Zoltán Tóth. J. Chem. Educ. 1996 73 539. Abstract
  4. Recreation of Wöhler’s Synthesis of Urea: An Undergraduate Organic Laboratory Exercise James D. Batchelor, Everett E. Carpenter, Grant N. Holder, Cassandra T. Eagle, Jon Fielder, Jared Cummings The Chemical Educator 1/Vol .3,NO.6 1998 ISSN 1430-4171 Online article 2006-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • P. Walden (1928). "Die Bedeutung der Wöhlerschen Harnstoff-Synthese". Naturwissenschaften. 16 (45–47): 835–849. doi:10.1007/BF01451626.

การส, งเคราะห, เวอเลอร, เป, นการเปล, ยนแอมโมเน, ยมไซยาเนตไปเป, นย, เร, ปฏ, ยาเคม, กค, นพบในป, 1828, โดยฟร, ดร, เวอเลอร, ขณะพยายามส, งเคราะห, แอมโมเน, ยมไซยาเนต, ปฏ, ยาด, งกล, าวถ, กมองว, าเป, นจ, ดเร, มต, นของเคม, นทร, สม, ยใหม, งแม, าปฏ, ยาเวอเลอร, จะเป, นการ. karsngekhraahewxelxr epnkarepliynaexmomeniymisyaentipepnyueriy 1 ptikiriyaekhminithukkhnphbinpi kh s 1828 odyfridrich ewxelxrkhnaphyayamsngekhraahaexmomeniymisyaent ptikiriyadngklawthukmxngwaepncuderimtnkhxngekhmixinthriysmyihm thungaemwaptikiriyaewxelxrcaepnkarepliynaexmomeniymisyaent sungekluxnipraktechphaaepnsartwklangthiimesthiyrethann ewxelxrsathitptikiriyadngklawinsuxtiphimphtnchbbthimichudtwthaptikiriyathiaetktangkn odymithngkrdisyanikaelaaexmomeniy silewxrisyaentkbaexmomeniymkhlxird eldisyaentkbaexmomeniy aelaemxrkhiwriisyaentkbisyanatikaexmomeniy sungkkhuxkrdisyanikkbaexmomeniy 2 ptikiriyanisamarthaesdngodyerimtncaksarlalayophaethsesiymisyaentkbaexmomeniymkhlxirdsungcathukphsm ihkhwamrxnaelathaiheynxikkhrng hlkthanephimetimkhxngkarepliynrupthangekhmiyngsamarthtrwcsxbidcakkaretimsarlalaykrdxxksaliksungidphlitphnthepnyueriyxxksaeltodytktakxnsikhaw 3 xikthanghnung ptikiriyasamarthkrathaidodyeldisyaentkbaexmomeniy ptikiriyathiaethcringekidkhunepnptikiriyaaethnthikhusungknaelaknaelwkekidepnaexmomeniymisyaent ekhiynepnsmkariddngni P b N C O 2 2 N H 3 2 H 2 O P b O H 2 2 N H 4 N C O displaystyle mathrm Pb NCO 2 2NH 3 2H 2 O rightarrow Pb OH 2 2NH 4 NCO aexmomeniymisyaentaetktwepnaexmomeniyaelakrdisyanik 4 sungthaptikiriyakbyueriytxinptikiriyakarephimniwkhlioxifl tamdwyothemxrikixosemxireschn ekhiynepnsmkariddngni N H 4 N C O N H 3 H N C O N H 2 2 C O displaystyle mathrm NH 4 NCO rightarrow NH 3 HNCO leftrightarrow NH 2 2 CO karekidsarprakxbechingsxnkbkrdxxksalikchwythaihsmdulekhminismburnkarsngekhraahewxelxrnimikhwamsakhyxyangyinginprawtisastr enuxngcakepnkhrngaerkthisarprakxbxinthriythukphlitkhuncaktwthaptikiriyaxninthriy karkhnphbdngklawidkhanthvsdikraaeshlkinewlannthieriykwa chiwitniym sungklawwasarxinthriymixanacphiesshruxphlngchiwitthiphbinsingmichiwittamthrrmchati dwyehtuphlniexngthithaihsarprakxbxinthriyaelaxninthriymiesnaebngaeykxxkcakknxyangchdecn yueriythukkhnphbinpi kh s 1799 aelakxnhnakarsngekhraahdngklawsamarthphbidechphaacaksingmichiwitxyangechn pssawaxangxing aekikh Friedrich Wohler 1828 Ueber kunstliche Bildung des Harnstoffs Annalen der Physik und Chemie 88 2 253 256 doi 10 1002 andp 18280880206 Wohler s Synthesis of Urea How Do the Textbooks Report It Paul S Cohen Stephen M Cohen J Chem Educ 1996 73 883 Abstract A Demonstration of Wohler s Experiment Preparation of Urea from Ammonium Chloride and Potassium Cyanate Zoltan Toth J Chem Educ 1996 73 539 Abstract Recreation of Wohler s Synthesis of Urea An Undergraduate Organic Laboratory Exercise James D Batchelor Everett E Carpenter Grant N Holder Cassandra T Eagle Jon Fielder Jared Cummings The Chemical Educator 1 Vol 3 NO 6 1998 ISSN 1430 4171 Online article Archived 2006 09 30 thi ewyaebkaemchchin P Walden 1928 Die Bedeutung der Wohlerschen Harnstoff Synthese Naturwissenschaften 16 45 47 835 849 doi 10 1007 BF01451626 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karsngekhraahewxelxr amp oldid 9559670, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม