fbpx
วิกิพีเดีย

การสำรวจดาวอังคาร

ระวังสับสนกับ การตั้งนิคมบนดาวอังคาร หรือ ภารกิจส่งมนุษย์ไปดาวอังคาร

การสำรวจดาวอังคารเริ่มต้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 จากการสำรวจระยะไกลโดยยานสำรวจอวกาศที่ส่งมาจากโลก โดยเน้นไปที่การทำความเข้าใจเกี่ยวกับธรณีวิทยาและศักยภาพในการตั้งถิ่นฐาน การวางแผนเพื่อเดินทางในเชิงวิศวกรรมนั้นซับซ้อน ทำให้การสำรวจนั้นมีอัตราความล้มเหลวสูงโดยเฉพาะในระยะเริ่มต้น ประมาณร้อยละ 60 ของยานอวกาศทั้งหมดที่มุ่งสู่สำหรับดาวอังคารนั้นล้มเหลวก่อนที่จะเสร็จสิ้นภารกิจและในบางภารกิจ ล้มเหลวก่อนที่การสำรวจจะเริ่มขึ้น แม้กระนั้น บางภารกิจก็ประสบความสำเร็จอย่างคาดไม่ถึง เช่น ยานสปิริต และ ออปเพอร์จูนิที ที่สามารถปฏิบัติภารกิจเกินกว่าที่ได้กำหนดไว้

ภารกิจที่กำลังปฏิบัติการอยู่บนดาวอังคาร
(Active Mars missions)
ค.ศ. 1996 ถึง ปัจจุบันα
ปี (ค.ศ.) จำนวนภารกิจ
2021 11 11
 
2020 8 8
 
2019 8 8
 
2018 9 9
 
2017 8 8
 
2016 8 8
 
2015 7 7
 
2014 7 7
 
2013 5 5
 
2012 5 5
 
2011 4 4
 
2010 5 5
 
2009 5 5
 
2008 6 6
 
2007 5 5
 
2006 6 6
 
2005 5 5
 
2004 5 5
 
2003 3 3
 
2002 2 2
 
2001 2 2
 
2000 1 1
 
1999 1 1
 
1998 1 1
 
1997 2 2
 
1996 0

ปัจจุบัน

ณ ปี 2021 มียานสำรวจอวกาศทั้งสิ้น 14 ยานสำรวจบนและรอบดาวอังคาร ประกอบด้วย โรเวอร์ที่ปฏิบัติการบนพื้นผิวดาวอังคารทั้งสิ้นสี่โรเวอร์ ได้แก่ รถโรเวอร์ คิวริออซิตี และเพอร์เซอเวียแรนซ์ อินเจนูอิตีเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งดำเนินการโดยองค์การนาซา (NASA) ของสหรัฐ และ จู้หรง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจ เทียนเวิน-1 โดยองค์การอวกาศแห่งชาติจีน (CNSA) ยานโคจรรอบดาวอังคาร (ดาวเทียม) แปดดวง ได้แก่ 2001 Mars Odyssey Mars Express (MEX) มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ (MRO) มงคลยาน (MOM) MAVEN ExoMars Trace Gas Orbiter (TGO) ยานโคจรเทียนเวิน-1 และ Hope และ สองแลนเดอร์ที่ลงจอดบนพื้นผิวดาวอังคาร คือ อินไซต์ และ เทียนเวิน-1 แลนเดอร์

ทั้งนี้ ภารกิจต่อไปที่คาดว่าจะมายังดาวอังคาร คือ โรเวอร์ โรซาลินด์ แฟรงคลิน ของรัฐวิสาหกิจรอสคอสมอสและองค์การอวกาศยุโรป และโครงการ Mars Orbiter Mission 2 ของอินเดีย

ระบบดาวอังคาร (Martian system)

การสำรวจดาวอังคารอยู่ในความสนใจของมนุษย์มาอย่างยาวนาน และการค้นพบใหม่ ๆ ยิ่งกระตุ้นความสนใจในการศึกษาและสำรวจดาวเคราะห์สีแดงนี้มากขึ้น การสังเกตด้วยกล้องส่องทางไกลในช่วงต้นเผยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสีพื้นผิวที่เกิดตามฤดูกาลและลักษณะเชิงเส้นที่ชัดเจน การสังเกตการณ์ด้วยกล้องส่องทางไกลเพิ่มเติมทำให้พบดวงจันทร์สองดวง ได้แก่ โฟบอสและดีมอส น้ำแข็งขั้วโลกของดาวอังคาร และ โอลิมปัส ซึ่งเป็นภูเขาที่สูงที่สุดในระบบสุริยะ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หิน เหมือนกับโลก ที่ก่อตัวขึ้นในเวลาเดียวกัน แต่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงครึ่งหนึ่งของโลก มีพื้นผิวที่เย็นและเหมือนทะเลทราย และมีชั้นบรรยากาศที่บางกว่ามาก

ช่วงเวลาที่เหมาะต่อการปล่อยยานสำรวจ

 
การปล่อยยานอวกาศ และระยะทางระหว่างดาวอังคารกับโลก (ล้านกิโลเมตร)

ช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อการปล่อยยานสำรวจขึ้นสู่อวกาศโดยใช้พลังงานน้อย (the minimum-energy launch windows) เพื่อไปยังดาวอังคาร เกิดขึ้นประมาณทุก ๆ สองปีและสองเดือน (ราวทุก ๆ 780 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่ดาวอังคารโคจรมาใกล้โลกมากที่สุด) และจะใช้พลังงานน้อยที่สุดในทุก ๆ 16 ปี

การปล่อยยานสำรวจ ค.ศ. 2013–2022
ปี ปล่อยยานฯ เมื่อ ยานสำรวจ (ที่ปล่อยแล้ว และที่วางแผน)
2013 พฤศจิกายน 2013 MAVEN, Mars Orbiter Mission
2016 มีนาคม 2016 ExoMars TGO
2018 พฤษภาคม 2018 อินไซต์
2020 กรกฎาคม – กันยายน
2020
Mars Hope,
ยานโคจร เทียนเวิน-1 และ จู้หรง,
Mars 2020 คิวริออซิตี และ เพอร์เซอเวียแรนซ์
2022 โรซาลินด์ แฟรงคลิน โรเวอร์
2024-2025 Mars Orbiter Mission 2 (MOM-2)

ภารกิจในอดีตและปัจจุบัน

ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 โซเวียตได้ริเริ่มการส่งยานสำรวจไปยังดาวอังคาร เช่น ความพยายามที่จะโคจรผ่าน (flyby) และลงจอดแบบกระแทก (impact landing) ของ Mars 1962B แต่การโคจรผ่านครั้งแรกที่ประสบความสำเร็จนั้นกระทำโดย มาริเนอร์ 4 ขององค์การนาซาเมื่อวันที่ 14-15 กรกฎาคม 1965 ยาน มาริเนอร์ 9 กลายเป็นยานสำรวจอวกาศลำแรกที่โคจรรอบดาวเคราะห์ดวงอื่น เมื่อเข้าสู่วงโคจรของดาวอังคารได้สำเร็จ

ยานฯ ลำแรกที่สัมผัสพื้นผิวดาว คือ ยานสำรวจของสหภาพโซเวียต 2 ลำ: Mars 2 แลนเดอร์ ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 1971 และยานลงจอด Mars 3 ในวันที่ 2 ธันวาคม 1971 แม้ว่า Mars 2 ได้ล้มเหลวในระหว่างการลดระดับ และ Mars 3 ที่ปฏิบัติการแค่ประมาณยี่สิบวินาทีหลังจากการลงจอดแบบนุ่มนวลครั้งแรกบนพื้นผิวดาว ยาน Mars 6 เองก็ล้มเหลวในระหว่างการลดระดับในปี 1974 แต่ได้ส่งข้อมูลเกี่ยวกับชั้นบรรยากาศที่ไม่สมบูรณ์ โครงการไวกิงของนาซาในปี 1975 ประกอบด้วยยานโคจรสองลำ โดยแต่ละลำต่างประสบความสำเร็จในการลงจอดบนพื้นผิวดาวอังคารในปี 1976 พร้อมกับเป็นผู้ส่งข้อมูลภาพพาโนรามาสีแรกของดาวอังคารสู่โลก ไวกิง 1 สามารถปฏิบัติภารกิจได้หกปี ไวกิง 2 สามปี

ยานสำรวจ โฟบอส 1 และ 2 ของสหภาพโซเวียตถูกส่งไปยังดาวอังคารในปี 1988 เพื่อศึกษาดาวอังคารและดวงจันทร์สองดวงโดยเน้นที่โฟบอส โฟบอส 1 ขาดการติดต่อระหว่างการเดินทางไปดาวอังคาร โฟบอส 2 สามารถถ่ายภาพดาวอังคารและโฟบอสได้สำเร็จ แต่ล้มเหลวก่อนที่จะปล่อยยานลงจอดสองลำสู่พื้นผิวโฟบอส

ภารกิจที่สิ้นสุดก่อนกำหนด หลังจาก โฟบอส 1 และ 2 เมื่อปี 1988 ได้แก่

  • Mars Observer (launched in 1992)
  • Mars 96 (1996)
  • Mars Climate Orbiter (1999)
  • Mars Polar Lander with Deep Space 2 (1999)
  • Nozomi (2003)
  • Beagle 2 (2003)
  • Fobos-Grunt with Yinghuo-1 (2011)
  • Schiaparelli lander (2016)


อ้างอิง

  1. Grotzinger, John P. (24 January 2014). "Introduction to Special Issue – Habitability, Taphonomy and the Search for Organic Carbon on Mars". Science. 343 (6169): 386–387. Bibcode:2014Sci...343..386G. doi:10.1126/science.1249944. PMID 24458635.
  2. Society, National Geographic (2009-10-15). "Mars Exploration, Mars Rovers Information, Facts, News, Photos – National Geographic". National Geographic. สืบค้นเมื่อ 2016-03-04.
  3. Loeffler, John (2021-08-17). "NASA's Mars helicopter is now scouting new sites for Perseverance rover to study". TechRadar (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-10-01.
  4. February 2021, Vicky Stein 08. "Tianwen-1: China's first Mars mission". Space.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-02-24.
  5. "China lands its Zhurong rover on Mars". BBC. 2021-05-14. สืบค้นเมื่อ 2021-05-14.
  6. Sheehan, William (1996). "The Planet Mars: A History of Observation and Discovery". The University of Arizona Press, Tucson. สืบค้นเมื่อ 2009-02-15.
  7. David S. F. Portree, Humans to Mars: Fifty Years of Mission Planning, 1950–2000, NASA Monographs in Aerospace History Series, Number 21, February 2001. Available as NASA SP-2001-4521.
  8. "D. McCleese, et al. – Robotic Mars Exploration Strategy" (PDF). nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 9 February 2017.
  9. "Mariner 4". NSSDC Master Catalog. NASA. สืบค้นเมื่อ 2009-02-11.
  10. . NASA. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-07-31.
  11. Mars 2 Lander – NASA. Nssdc.gsfc.nasa.gov. Retrieved on 2012-05-10.
  12. Mars 6 – NASA. Nssdc.gsfc.nasa.gov. Retrieved on 2012-05-10.
  13. . Journey through the galaxy. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2006-09-20. สืบค้นเมื่อ 2006-06-13.
  14. Sagdeev, R. Z.; Zakharov, A. V. (October 19, 1989). "Brief history of the Phobos mission". Nature. 341 (6243): 581–585. Bibcode:1989Natur.341..581S. doi:10.1038/341581a0.

การสำรวจดาวอ, งคาร, ระว, งส, บสนก, การต, งน, คมบนดาวอ, งคาร, หร, ภารก, จส, งมน, ษย, ไปดาวอ, งคาร, เร, มต, นในปลายคร, สต, ศตวรรษท, จากการสำรวจระยะไกลโดยยานสำรวจอวกาศท, งมาจากโลก, โดยเน, นไปท, การทำความเข, าใจเก, ยวก, บธรณ, ทยาและศ, กยภาพในการต, งถ, นฐาน, การวาง. rawngsbsnkb kartngnikhmbndawxngkhar hrux pharkicsngmnusyipdawxngkhar karsarwcdawxngkharerimtninplaykhriststwrrsthi 20 cakkarsarwcrayaiklodyyansarwcxwkasthisngmacakolk odyennipthikarthakhwamekhaicekiywkbthrniwithyaaelaskyphaphinkartngthinthan 1 karwangaephnephuxedinthanginechingwiswkrrmnnsbsxn thaihkarsarwcnnmixtrakhwamlmehlwsungodyechphaainrayaerimtn pramanrxyla 60 khxngyanxwkasthnghmdthimungsusahrbdawxngkharnnlmehlwkxnthicaesrcsinpharkicaelainbangpharkic lmehlwkxnthikarsarwccaerimkhun aemkrann bangpharkickprasbkhwamsaercxyangkhadimthung echn yanspirit aela xxpephxrcunithi thisamarthptibtipharkicekinkwathiidkahndiw 2 phaphthaytnexng khxngephxresxewiyaerns orewxr aela xinecnuxiti ehlikhxpetxr saymux bndawxngkhar 7 emsayn 2021 pharkicthikalngptibtikarxyubndawxngkhar Active Mars missions kh s 1996 thung pccubna pi kh s canwnpharkic2021 11 11 2020 8 8 2019 8 8 2018 9 9 2017 8 8 2016 8 8 2015 7 7 2014 7 7 2013 5 5 2012 5 5 2011 4 4 2010 5 5 2009 5 5 2008 6 6 2007 5 5 2006 6 6 2005 5 5 2004 5 5 2003 3 3 2002 2 2 2001 2 2 2000 1 1 1999 1 1 1998 1 1 1997 2 2 1996 0 enuxha 1 pccubn 2 rabbdawxngkhar Martian system 3 chwngewlathiehmaatxkarplxyyansarwc 4 pharkicinxditaelapccubn 5 xangxingpccubn aekikhn pi 2021 miyansarwcxwkasthngsin 14 yansarwcbnaelarxbdawxngkhar 3 prakxbdwy orewxrthiptibtikarbnphunphiwdawxngkharthngsinsiorewxr idaek rthorewxr khiwrixxsiti aelaephxresxewiyaerns xinecnuxitiehlikhxpetxr sungdaeninkarodyxngkhkarnasa NASA khxngshrth aela cuhrng sungepnswnhnungkhxngpharkic ethiynewin 1 odyxngkhkarxwkasaehngchaticin CNSA 4 5 yanokhcrrxbdawxngkhar dawethiym aepddwng idaek 2001 Mars Odyssey Mars Express MEX marsrikhxnensesnsxxrbietxr MRO mngkhlyan MOM MAVEN ExoMars Trace Gas Orbiter TGO yanokhcrethiynewin 1 aela Hope aela sxngaelnedxrthilngcxdbnphunphiwdawxngkhar khux xinist aela ethiynewin 1 aelnedxrthngni pharkictxipthikhadwacamayngdawxngkhar khux orewxr orsalind aefrngkhlin khxngrthwisahkicrxskhxsmxsaelaxngkhkarxwkasyuorp aelaokhrngkar Mars Orbiter Mission 2 khxngxinediyrabbdawxngkhar Martian system aekikhkarsarwcdawxngkharxyuinkhwamsnickhxngmnusymaxyangyawnan aelakarkhnphbihm yingkratunkhwamsnicinkarsuksaaelasarwcdawekhraahsiaedngnimakkhun karsngektdwyklxngsxngthangiklinchwngtnephyihehnkarepliynaeplngkhxngsiphunphiwthiekidtamvdukalaelalksnaechingesnthichdecn karsngektkarndwyklxngsxngthangiklephimetimthaihphbdwngcnthrsxngdwng idaek ofbxsaeladimxs naaekhngkhwolkkhxngdawxngkhar aela oxlimps sungepnphuekhathisungthisudinrabbsuriya dawxngkharepndawekhraahhin ehmuxnkbolk thikxtwkhuninewlaediywkn aetmiesnphansunyklangephiyngkhrunghnungkhxngolk miphunphiwthieynaelaehmuxnthaelthray aelamichnbrryakasthibangkwamak 6 chwngewlathiehmaatxkarplxyyansarwc aekikh karplxyyanxwkas aelarayathangrahwangdawxngkharkbolk lankiolemtr chwngewlathiehmaasmtxkarplxyyansarwckhunsuxwkasodyichphlngngannxy the minimum energy launch windows ephuxipyngdawxngkhar ekidkhunpramanthuk sxngpiaelasxngeduxn rawthuk 780 wn sungepnchwngthidawxngkharokhcrmaiklolkmakthisud 7 aelacaichphlngngannxythisudinthuk 16 pi 7 karplxyyansarwc kh s 2013 2022 8 pi plxyyan emux yansarwc thiplxyaelw aelathiwangaephn 2013 phvscikayn 2013 MAVEN Mars Orbiter Mission2016 minakhm 2016 ExoMars TGO2018 phvsphakhm 2018 xinist2020 krkdakhm knyayn 2020 Mars Hope yanokhcr ethiynewin 1 aela cuhrng Mars 2020 khiwrixxsiti aela ephxresxewiyaerns2022 orsalind aefrngkhlin orewxr2024 2025 Mars Orbiter Mission 2 MOM 2 pharkicinxditaelapccubn aekikhinchwngkhristthswrrsthi 1960 osewiytidrierimkarsngyansarwcipyngdawxngkhar echn khwamphyayamthicaokhcrphan flyby aelalngcxdaebbkraaethk impact landing khxng Mars 1962B aetkarokhcrphankhrngaerkthiprasbkhwamsaercnnkrathaody marienxr 4 khxngxngkhkarnasaemuxwnthi 14 15 krkdakhm 1965 9 yan marienxr 9 klayepnyansarwcxwkaslaaerkthiokhcrrxbdawekhraahdwngxun emuxekhasuwngokhcrkhxngdawxngkharidsaerc 10 yan laaerkthismphsphunphiwdaw khux yansarwckhxngshphaphosewiyt 2 la Mars 2 aelnedxr inwnthi 27 phvscikayn 1971 aelayanlngcxd Mars 3 inwnthi 2 thnwakhm 1971 aemwa Mars 2 idlmehlwinrahwangkarldradb aela Mars 3 thiptibtikaraekhpramanyisibwinathihlngcakkarlngcxdaebbnumnwlkhrngaerkbnphunphiwdaw 11 yan Mars 6 exngklmehlwinrahwangkarldradbinpi 1974 aetidsngkhxmulekiywkbchnbrryakasthiimsmburn 12 okhrngkariwkingkhxngnasainpi 1975 prakxbdwyyanokhcrsxngla odyaetlalatangprasbkhwamsaercinkarlngcxdbnphunphiwdawxngkharinpi 1976 phrxmkbepnphusngkhxmulphaphphaonramasiaerkkhxngdawxngkharsuolk iwking 1 samarthptibtipharkicidhkpi iwking 2 sampi 13 yansarwc ofbxs 1 aela 2 khxngshphaphosewiytthuksngipyngdawxngkharinpi 1988 ephuxsuksadawxngkharaeladwngcnthrsxngdwngodyennthiofbxs ofbxs 1 khadkartidtxrahwangkaredinthangipdawxngkhar ofbxs 2 samarththayphaphdawxngkharaelaofbxsidsaerc aetlmehlwkxnthicaplxyyanlngcxdsxnglasuphunphiwofbxs 14 pharkicthisinsudkxnkahnd hlngcak ofbxs 1 aela 2 emuxpi 1988 idaek Mars Observer launched in 1992 Mars 96 1996 Mars Climate Orbiter 1999 Mars Polar Lander with Deep Space 2 1999 Nozomi 2003 Beagle 2 2003 Fobos Grunt with Yinghuo 1 2011 Schiaparelli lander 2016 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxing aekikh Grotzinger John P 24 January 2014 Introduction to Special Issue Habitability Taphonomy and the Search for Organic Carbon on Mars Science 343 6169 386 387 Bibcode 2014Sci 343 386G doi 10 1126 science 1249944 PMID 24458635 Society National Geographic 2009 10 15 Mars Exploration Mars Rovers Information Facts News Photos National Geographic National Geographic subkhnemux 2016 03 04 Loeffler John 2021 08 17 NASA s Mars helicopter is now scouting new sites for Perseverance rover to study TechRadar phasaxngkvs subkhnemux 2021 10 01 February 2021 Vicky Stein 08 Tianwen 1 China s first Mars mission Space com phasaxngkvs subkhnemux 2021 02 24 China lands its Zhurong rover on Mars BBC 2021 05 14 subkhnemux 2021 05 14 Sheehan William 1996 The Planet Mars A History of Observation and Discovery The University of Arizona Press Tucson subkhnemux 2009 02 15 7 0 7 1 David S F Portree Humans to Mars Fifty Years of Mission Planning 1950 2000 NASA Monographs in Aerospace History Series Number 21 February 2001 Available as NASA SP 2001 4521 D McCleese et al Robotic Mars Exploration Strategy PDF nasa gov subkhnemux 9 February 2017 Mariner 4 NSSDC Master Catalog NASA subkhnemux 2009 02 11 Mariner 9 Overview NASA khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 07 31 Mars 2 Lander NASA Nssdc gsfc nasa gov Retrieved on 2012 05 10 Mars 6 NASA Nssdc gsfc nasa gov Retrieved on 2012 05 10 Other Mars Missions Journey through the galaxy khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2006 09 20 subkhnemux 2006 06 13 Sagdeev R Z Zakharov A V October 19 1989 Brief history of the Phobos mission Nature 341 6243 581 585 Bibcode 1989Natur 341 581S doi 10 1038 341581a0 bthkhwamekiywkbwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy withyasastr ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karsarwcdawxngkhar amp oldid 9687847, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม