fbpx
วิกิพีเดีย

ธรณีวิทยา

ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์ (อังกฤษ: Geology จากกรีก: γη- (เก-, โลก) และ λογος (ลอกอส, ถ้อยคำ หรือ เหตุผล)) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก สสารต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น แร่ หิน ดินและน้ำ รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย

The Blue Marble: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์

นักธรณีวิทยาศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x109 ปี) และเห็นตรงกันว่าเปลือกโลกแยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่าแผ่นเปลือกโลก แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือเนื้อโลกหรือแมนเทิลที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่าการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น แหล่งหิน แหล่งแร่ แหล่งปิโตรเลียมเช่น น้ำมันและถ่านหิน รวมทั้งโลหะอย่างเหล็ก ทองแดง และยูเรเนียม

วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) ธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology) ธรณีเคมี (Geochemistry) ธรณีฟิสิกส์ (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) เป็นต้น

วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุในระบบสุริยะ อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "ศศิวิทยา" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบนดวงจันทร์, areology ศึกษาธรณีวิทยาบนดาวอังคาร เป็นต้น

วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก ดาวเคราะห์ และ จักรวาล ธรณีพิบัติภัย ภูเขาไฟ แผ่นดินไหว รอยเลื่อน สึนามิ อุทกภัย น้ำท่วม น้ำหลาก การกัดเซาะ ดินถล่ม หลุมยุบ ภูเขา แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร ทะเลทราย ไดโนเสาร์ ซากดึกดำบรรพ์หรือบรรพชีวินหรือฟอสซิล บั้งไฟพญานาค ไม้กลายเป็นหิน ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม เชื้อเพลิง แหล่งแร่ เหล็กไหล อุลกมณี โลกศาสตร์

ธรณีกาล

 
ธรณีกาลในแผนผังเชิงนาฬิกาแสดงระยะเวลาสัมพันธ์ของแต่ละช่วงยุคในช่วงธรณีประวัติ
ดูบทความหลักที่: ธรณีกาล

ตารางธรณีกาลเป็นการรวบรวมธรณีประวัติทั้งหมดไว้โดยมีจุดอ้างอิงเริ่มต้นวัดจากอายุของหินโบราณที่เก่าที่สุดในระบบสุริยะซึ่งมีอายุ 4.567 Ga, (gigaannum: billion years ago) โดยมีโลกซึ่งถือกำเนิดขึ้นในบรมยุคฮาเดียนเมื่อ 4.54 Ga (gigaannum: พันล้านปีก่อน) และเดินทางมาบรรจบถึงระยะเวลาปัจจุบันซึ่งอยู่ในสมัยโฮโลซีน

เหตุการณ์สำคัญในธรณีประวัติ

  • 4.567 Ga: กำเนิดระบบสุริยะ
  • 4.54 Ga: ดาวเคราะห์โลกถือกำเนิด
  • c. 4 Ga: สิ้นสุดยุคการถูกระดมชนอย่างหนักครั้งล่าสุด, กำเนิดสิ่งมีชีวิต
  • c. 3.5 Ga: เริ่มต้นการสังเคราะห์ด้วยแสง
  • c. 2.3 Ga: ออกซิเจนถูกเติมเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ, โลกลูกบอลหิมะครั้งแรก
  • 730–635 Ma (megaannum: ล้านปีก่อน): โลกลูกบอลหิมะครั้งที่สอง
  • 542± 0.3 Ma: การระเบิดในยุคแคมเบรียน – สิ่งมีชีวิตเปลือกแข็งเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้น เป็นยุคที่พบฟอสซิลได้มากยุคแรกในช่วงเริ่มต้นของพาลีโอโซอิก
  • c. 380 Ma: สัตว์มีกระดูกสันหลังบนบกถือกำเนิด
  • 250 Ma: การสูญพันธุ์ เพอร์เมียน-ไทรแอสสิก – การสูญพันธุ์ของ 90% ของสัตว์บกในช่วงปลายยุคพาลีโอโซอิก เริ่มต้นมีโซโซอิก
  • 65 Ma: การสูญพันธุ์ ครีเทเชียส-เทอร์เชียรี่ – ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ สิ้นสุดยุคมีโซโซอิกและเริ่มต้นยุคซีโนโซอิก
  • c. 7 Ma – ปัจจุบัน: ยุคของมนุษย์
    • c. 7 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์โบราณถือกำเนิด
    • 3.9 Ma: บรรพบุรุษของมนุษย์ยุคใหม่ถือกำเนิด
    • 200 ka (kiloannum: พันปีก่อน): มนุษย์ยุคใหม่ (Homo sapiens) ถือกำเนิดในแอฟริกา
 
แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000 จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานด้านธรณีวิทยาในประเทศไทย

ในประเทศไทย มีหน่วยงานที่ศึกษา ค้นคว้าด้านธรณีวิทยาหลายหน่วยงานด้วยกัน เช่น

กรมทรัพยากรธรณี

กรมทรัพยากรธรณี เป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่มีการทำงานและการศึกษาด้านธรณีวิทยา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศตั้ง กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา ขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ร.ศ. 110 (พ.ศ. 2434) นับจนถึงขณะนี้ เป็นเวลา 117 ปีแล้ว และต่อมาได้ย้ายสังกัดไปขึ้นกับกระทรวงต่าง ๆ ตามยุคสมัย 6 กระทรวง คือ กระทรวงเกษตราธิราช กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กระทรวงเศรษฐการ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ โดย ได้เปลี่ยนชื่อเป็น กรมทรัพยากรธรณี เมื่อครั้งสังกัด กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้ายมาสังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เลขที่ 75/10 ถนนพระรามที่6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 
สัญลักษณ์ของภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นรูปของบรรพชีวินแอมโมไนต์และค้อนธรณีวิทยา

เป็นหน่วยงานด้านการศึกษาแรกของประเทศไทยที่เปิดให้มีการเรียนการสอนด้านธรณีวิทยาในระดับมหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ โดยเปิดทำการสอนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501 มีศาสตราจารย์ ดร. แถบ นีละนิธิ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และรักษาการหัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา (สมัยนั้นเรียกแผนกวิชา) มีศาสตราจารย์ ดร. Th. H. F. Klompe ชาวฮอลันดา เป็นผู้ร่างหลักสูตร ร่วมกับกรมทรัพยากรธรณี (กรมโลหกิจเดิม) ต่อมาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 จึงได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้จัดตั้งเป็นภาควิชาธรณีวิทยาขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างเป็นทางการ

แนวทางการเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี

ผู้ที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อ สาขาวิชาธรณีวิทยา จะต้องมี ความรอบรู้ในสาขาวิทยาศาสตร์ โดยเน้นวิชาคณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา และสมัครสอบเข้าศึกษาได้โดยการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาตรี ได้แก่

หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.)

หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ (วศ.บ.)

แม้ว่าแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีความหลากหลายในรายวิชาแตกต่างกันไป สังเกตได้จากชื่อของสาขาหรือภาควิชา แต่ทุกสถาบันข้างต้นจะให้ความรู้ในเนื้อหาหลักที่สำคัญของธรณีวิทยาแก่ผู้ศึกษาทุกคน รวมถึงการออกภาคสนาม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลธรณีวิทยาประเทศไทย

  • ธรณีวิทยาประเทศไทย 2006-04-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000 2007-03-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เว็บบอร์ดด้านธรณีวิทยาในประเทศไทย

  • เว็บบอร์ดถาม-ตอบ ความรู้ด้านธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • เว็บบอร์ดประจำภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2009-02-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2005-10-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน
  • วิทยาศาสตร์น่ารู้ โดย ศ.ดร.สุทัศน์ ยกส้าน
  • โครงการลีซ่า โครงการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ โดยหอดูดาวเกิดแก้ว สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • วิชาการธรณีไทย/www.geothai.net แหล่งรวมความรู้ทางธรณีวิทยาเพื่อคนไทย

อ้างอิง

  1. International Commission on Stratigraphy
  2. Amelin, Y; Krot, An; Hutcheon, Id; Ulyanov, Aa (2002). "Lead isotopic ages of chondrules and calcium-aluminum-rich inclusions". Science. 297 (5587): 1678–83. doi:10.1126/science.1073950. ISSN 0036-8075. PMID 12215641. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  3. Patterson, C., 1956. “Age of Meteorites and the Earth.” Geochimica et Cosmochimica Acta 10: p. 230-237.
  4. G. Brent Dalrymple (1994). The age of the earth. Stanford, Calif.: Stanford Univ. Press. ISBN 0804723311.
  5. วิชาการธรณีไทย/www.geothai.net

ธรณ, ทยา, ธรณ, ศาสตร, งกฤษ, geology, จากกร, γη, เก, โลก, และ, λογος, ลอกอส, อยคำ, หร, เหต, ผล, เป, นว, ทยาศาสตร, กษาเก, ยวก, บโลก, สสารต, าง, เป, นส, วนประกอบของโลก, เช, แร, นและน, รวมท, งกระบวนการเปล, ยนแปลงภายในโลก, เก, ดข, นในธรรมชาต, งแต, กำเน, ดโลกจนถ, งป. thrniwithya thrnisastr xngkvs Geology cakkrik gh ek olk aela logos lxkxs thxykha hrux ehtuphl epnwithyasastrthisuksaekiywkbolk ssartang thiepnswnprakxbkhxngolk echn aer hin dinaelana rwmthngkrabwnkarepliynaeplngphayinolk thiekidkhuninthrrmchati tngaetkaenidolkcnthungpccubn epnkarsuksathnginradbokhrngsrang swnprakxbthangkayphaph ekhmi aelachiwwithya thaihruthungprawtikhwamepnma aelasphawaaewdlxminxditcnthungpccubn suksapccytang thngphayin aelaphaynxkthimixiththiphltxkarepliynaeplngsphaphphunphiw wiwthnakarkhxngsingmichiwit tlxdcnrupaebb aelawithikarnaexathrphyakrthrrmchati maichpraoychnxyangyngyunxikdwyThe Blue Marble phaphniepnphaphthaykhxngolk emuxwnthi 7 thnwakhm kh s 1972 thithayodyaehrrissn chmitt Harrison Schmitt nkthrniwithyakhnaerkthirwmedinthangipkbyanxwkasxaphxlol 17 Apollo 17 thiedinthangipyngdwngcnthr nkthrniwithyasuksaphbwaolkmixayupraman 4 500 lanpi 4 5x109 pi aelaehntrngknwaepluxkolkaeykxxkepnhlayaephn eriykwaaephnepluxkolk aetlaaephnekhluxnthixyuehnuxenuxolkhruxaemnethilthimisphawakunghlxmehlw eriykkrabwnkarniwakarekhluxnthikhxngaephnepluxkolk nxkcakni nkthrniwithyayngthahnathirabutaaehnngaelacdkarkbthrphyakrthrrmchati echn aehlnghin aehlngaer aehlngpiotreliymechn namnaelathanhin rwmthngolhaxyangehlk thxngaedng aelayuereniymwichathrniwithya mikhwamekiywkhxngkbhlakhlaysakhawicha echn fisiks ekhmi chiwwithya khnitsastr mikarburnkarkhwamrucakhlakhlaywicha ephuxwiekhraahhakhatxbekiywkbsingtangthiekidkhunbnolk odysamarthaebngxxkepnhlakhlaysakhawicha echn thrniwithyakayphaph Physical Geology thrniwithyaokhrngsrang Structural Geology thrniwithyaaeprsnthan Geotectonics Tectonics takxnwithya Sedimentology thrnisnthanwithya Geomorphology thrniekhmi Geochemistry thrnifisiks Geophysics thrnixuthkwithya Geohydrology brrphchiwinwithya Paleontology epntn karekhluxnthikhxngaephnepluxkolk wichathrniwithyanxkolk suksaxngkhprakxbthangthrniwithyakhxngwtthuinrabbsuriya xyangirktam yngmisphthechphaaxun thiicheriykthrniwithyanxkolk echn ssiwithya selenology suksathrniwithyabndwngcnthr areology suksathrniwithyabndawxngkhar epntnwichathrniwithya samarthtxbpyhatang makmay thiekiywkhxngkb wiwthnakarkhxngolk dawekhraah aela ckrwal thrniphibtiphy phuekhaif aephndinihw rxyeluxn sunami xuthkphy nathwm nahlak karkdesaa dinthlm hlumyub phuekha aemna thael mhasmuthr thaelthray idonesar sakdukdabrrphhruxbrrphchiwinhruxfxssil bngifphyanakh imklayepnhin thanhin namn piotreliym echuxephling aehlngaer ehlkihl xulkmni olksastr enuxha 1 thrnikal 1 1 ehtukarnsakhyinthrniprawti 2 hnwyngandanthrniwithyainpraethsithy 2 1 krmthrphyakrthrni 2 2 phakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyaly 3 aenwthangkarekhasuksaradbpriyyatri 3 1 hlksutrpriyyawithyasastrbnthit wth b 3 2 hlksutrpriyyawiswkrrmsastr ws b 4 aehlngkhxmulxun 4 1 khxmulthrniwithyapraethsithy 4 2 ewbbxrddanthrniwithyainpraethsithy 5 xangxingthrnikal aekikh thrnikalinaephnphngechingnalikaaesdngrayaewlasmphnthkhxngaetlachwngyukhinchwngthrniprawti dubthkhwamhlkthi thrnikal tarangthrnikalepnkarrwbrwmthrniprawtithnghmdiw 1 odymicudxangxingerimtnwdcakxayukhxnghinobranthiekathisudinrabbsuriyasungmixayu 4 567 Ga 2 gigaannum billion years ago odymiolksungthuxkaenidkhuninbrmyukhhaediynemux 4 54 Ga 3 4 gigaannum phnlanpikxn aelaedinthangmabrrcbthungrayaewlapccubnsungxyuinsmyoholsin ehtukarnsakhyinthrniprawti aekikh 4 567 Ga kaenidrabbsuriya 2 4 54 Ga dawekhraaholkthuxkaenid 3 4 c 4 Ga sinsudyukhkarthukradmchnxyanghnkkhrnglasud kaenidsingmichiwit c 3 5 Ga erimtnkarsngekhraahdwyaesng c 2 3 Ga xxksiecnthuketimekhasuchnbrryakas olklukbxlhimakhrngaerk 730 635 Ma megaannum lanpikxn olklukbxlhimakhrngthisxng 542 0 3 Ma karraebidinyukhaekhmebriyn singmichiwitepluxkaekhngerimmikhwamsbsxnmakkhun epnyukhthiphbfxssilidmakyukhaerkinchwngerimtnkhxngphalioxosxik c 380 Ma stwmikraduksnhlngbnbkthuxkaenid 250 Ma karsuyphnthu ephxremiyn ithraexssik karsuyphnthukhxng 90 khxngstwbkinchwngplayyukhphalioxosxik erimtnmiososxik 65 Ma karsuyphnthu khriethechiys ethxrechiyri idonesarsuyphnthu sinsudyukhmiososxikaelaerimtnyukhsionosxik c 7 Ma pccubn yukhkhxngmnusy c 7 Ma brrphburuskhxngmnusyobranthuxkaenid 3 9 Ma brrphburuskhxngmnusyyukhihmthuxkaenid 200 ka kiloannum phnpikxn mnusyyukhihm Homo sapiens thuxkaenidinaexfrika aephnthithrniwithyapraethsithy matraswn 1 2 500 000 cakewbistkhxngkrmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxmhnwyngandanthrniwithyainpraethsithy aekikhinpraethsithy mihnwynganthisuksa khnkhwadanthrniwithyahlayhnwyngandwykn echn krmthrphyakrthrni aekikh krmthrphyakrthrni epnhnwynganaerkkhxngpraethsithythimikarthanganaelakarsuksadanthrniwithya phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw rchkalthi 5 idmiphrabrmrachoxngkar oprdeklaoprdkrahmxm ihprakastng krmracholhkicaelaphumiwithya khuninkrathrwngekstrathikar emuxwnthi 1 mkrakhm r s 110 ph s 2434 nbcnthungkhnani epnewla 117 piaelw aelatxmaidyaysngkdipkhunkbkrathrwngtang tamyukhsmy 6 krathrwng khux krathrwngekstrathirach krathrwngmhadithy krathrwngphrakhlngmhasmbti krathrwngesrsthkar krathrwngxutsahkrrm aelakrathrwngphthnakaraehngchati ody idepliynchuxepn krmthrphyakrthrni emuxkhrngsngkd krathrwngphthnakaraehngchati phayhlngcakkarptiruprabbrachkaremuxwnthi 3 tulakhm ph s 2545 krmthrphyakrthrni idyaymasngkd krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm elkhthi 75 10 thnnphraramthi6 aekhwngthungphyaith ekhtrachethwi krungethph 10400 phakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyaly aekikh sylksnkhxngphakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyaly epnrupkhxngbrrphchiwinaexmomintaelakhxnthrniwithya epnhnwyngandankarsuksaaerkkhxngpraethsithythiepidihmikareriynkarsxndanthrniwithyainradbmhawithyalyxyangepnthangkar odyepidthakarsxnmatngaetpi ph s 2501 misastracary dr aethb nilanithi khnbdikhnawithyasastr aelarksakarhwhnaphakhwichathrniwithya smynneriykaephnkwicha misastracary dr Th H F Klompe chawhxlnda epnphuranghlksutr rwmkbkrmthrphyakrthrni krmolhkicedim txmaemuxwnthi 14 krkdakhm ph s 2502 cungidrbxnumticaksphamhawithyalyihcdtngepnphakhwichathrniwithyakhuninkhnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly xyangepnthangkaraenwthangkarekhasuksaradbpriyyatri aekikhphuthicbkarsuksainradbmthymsuksatxnplaymikhwamprasngkhcaekhasuksatx sakhawichathrniwithya catxngmi khwamrxbruinsakhawithyasastr odyennwichakhnitsastr ekhmi fisiks chiwwithya aelasmkhrsxbekhasuksaidodykarsxbkhdeluxkbukhkhlekhasuksatxinsthabnxudmsuksakhxngthbwngmhawithyaly mhawithyalythiepidkareriynkarsxninhlksutrpriyyatri idaek hlksutrpriyyawithyasastrbnthit wth b aekikh phakhwichathrniwithya Geology khnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly phakhwichathrniwithya Geological Sciences khnawithyasastr mhawithyalyechiyngihm phakhwichaethkhonolyithrni khnaethkhonolyi Geotechnology mhawithyalykhxnaekn sakhawichathrnisastr Geosciences khnawithyasastr mhawithyalymhidl withyaekhtkaycnburi phakhwichawithyasastrphunphiphph Earth Sciences khnawithyasastr mhawithyalyekstrsastrhlksutrpriyyawiswkrrmsastr ws b aekikh wiswkrrmsastrbnthit sakhawichaethkhonolyithrni Geotechnology sankwichawiswkrrmsastr mhawithyalyethkhonolyisurnariaemwaaetlamhawithyalycamikhwamhlakhlayinraywichaaetktangknip sngektidcakchuxkhxngsakhahruxphakhwicha aetthuksthabnkhangtncaihkhwamruinenuxhahlkthisakhykhxngthrniwithyaaekphusuksathukkhn rwmthungkarxxkphakhsnam sungepnswnhnungkhxnghlksutrkareriynkarsxn 5 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb thrniwithyakhxmulthrniwithyapraethsithy aekikh thrniwithyapraethsithy Archived 2006 04 23 thi ewyaebkaemchchin cakewbistkhxngkrmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm aephnthithrniwithyapraethsithy matraswn 1 2 500 000 Archived 2007 03 11 thi ewyaebkaemchchin cakewbistkhxngkrmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm khaxthibayaephnthithrniwithyapraethsithy matraswn 1 2 500 000 Archived 2007 03 11 thi ewyaebkaemchchin cakewbistkhxngkrmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxmewbbxrddanthrniwithyainpraethsithy aekikh ewbbxrdtham txb khwamrudanthrniwithya krmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm ewbbxrdpracaphakhwichathrniwithya culalngkrnmhawithyaly Archived 2009 02 16 thi ewyaebkaemchchin phakhwichathrniwithya khnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly phakhwichathrniwithya khnawithyasastr mhawithyalyechiyngihm phakhwichaethkhonolyithrni khnaethkhonolyi mhawithyalykhxnaekn Archived 2005 10 18 thi ewyaebkaemchchin phakhwichawithyasastrphunphiphph khnawithyasastr mhawithyalyekstrsastr sakhawichaethkhonolyithrni khnawiswkrrmsastr mhawithyalyethkhonolyisurnari krmthrphyakrthrni krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm krmthrphyakrnabadal krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm krmechuxephlingthrrmchati krathrwngphlngngan withyasastrnaru ody s dr suthsn yksan okhrngkarlisa okhrngkareriynrueruxngwithyasastrolkaelaxwkas odyhxdudawekidaekw snbsnunodysankngankxngthunsnbsnunkarwicy wichakarthrniithy www geothai net aehlngrwmkhwamruthangthrniwithyaephuxkhnithyxangxing aekikh International Commission on Stratigraphy 2 0 2 1 Amelin Y Krot An Hutcheon Id Ulyanov Aa 2002 Lead isotopic ages of chondrules and calcium aluminum rich inclusions Science 297 5587 1678 83 doi 10 1126 science 1073950 ISSN 0036 8075 PMID 12215641 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link 3 0 3 1 Patterson C 1956 Age of Meteorites and the Earth Geochimica et Cosmochimica Acta 10 p 230 237 4 0 4 1 G Brent Dalrymple 1994 The age of the earth Stanford Calif Stanford Univ Press ISBN 0804723311 wichakarthrniithy www geothai net ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thrniwithya amp oldid 9726095, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม