fbpx
วิกิพีเดีย

ดาวเคราะห์

ดาวเคราะห์ (กรีก: πλανήτης; อังกฤษ: planet หรือ "ผู้พเนจร") คือวัตถุขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ก่อนคริสต์ทศวรรษ 1990 มีดาวเคราะห์ที่เรารู้จักเพียง 8 ดวง (ทั้งหมดอยู่ในระบบสุริยะ) ปัจจุบันเรารู้จักดาวเคราะห์ใหม่อีกมากกว่า 100 ดวง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์นอกระบบ คือ โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์ ในปี พ.ศ. 2549 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) มีมติรับคำนิยามทางวิทยาศาสตร์ของดาวเคราะห์ว่า วัตถุฟากฟ้าที่โคจรรอบดาวฤกษ์จะเป็นดาวเคราะห์ได้ ต่อเมื่อ

  1. มีมวลมากพอที่จะรักษาทรงกลมไว้ได้ด้วยแรงโน้มถ่วงของตนเอง
  2. ต้องไม่มีมวลมากจนถึงขนาดก่อให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลีย์ฟิวชั่น หรือปฏิกิริยาการหลอมนิวเคลียส
  3. ต้องไม่มีดาวเคราะห์อื่นร่วมใช้วงโคจร ซึ่งรวมไปถึงว่าต้องไม่มีดาวเคราะห์แรกเกิด (planetesimal) อื่นกำลังก่อตัวอยู่ในวงโคจร
ดาวเคราะห์ทั้งแปด ในระบบสุริยะ:
ดาวพุธ, ดาวศุกร์, โลก และดาวอังคาร
ดาวพฤหัส และดาวเสาร์ (ดาวแก๊สยักษ์)
ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน (ดาวน้ำแข็งยักษ์)

เรียงลำดับจากดวงอาทิตย์ และใช้สีจริง. ขนาดไม่ตามของจริง

ดาวเคราะห์เป็นวัตถุฟากฟ้าที่ศึกษากันมาแต่โบราณ ทั้งในทางวิทยาศาสตร์ และโหราศาสตร์ นักดาราศาสตร์กรีกชื่อ ปโตเลมี เชื่อว่า ดาวเคราะห์ทั้งหลายล้วนโคจรรอบโลกในการเคลื่อนที่แบบรอบอภิวัฏ (Epicycle)

ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับกันมากที่สุดในปัจจุบันกล่าวว่าดาวเคราะห์ก่อตัวขึ้นจากการยุบตัวลงของกลุ่มฝุ่นและแก๊ส พร้อมๆ กับการก่อกำเนิดดวงอาทิตย์ที่ใจกลาง ดาวเคราะห์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง สามารถมองเห็นได้เนื่องจากพื้นผิวสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะมีดาวบริวารโคจรรอบ ยกเว้นดาวพุธและดาวศุกร์ และสามารถพบระบบวงแหวนได้ในดาวเคราะห์ขนาดใหญ่อย่างดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน มีเพียงดาวเสาร์เท่านั้นที่สามารถมองเห็นวงแหวนได้ชัดเจนด้วยกล้องส่องทางไกล

นิยามของดาวเคราะห์

เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ซึ่งประกอบด้วยนักดาราศาสตร์กว่า 2,500 คนจาก 75 ประเทศทั่วโลก ได้มีมติกำหนดนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ ดังนี้

  1. เป็นดาวที่โคจรรอบดาวฤกษ์ (ซึ่งในที่นี้หมายถึงดวงอาทิตย์) แต่ไม่ใช่ดาวฤกษ์ และไม่ใช่ดาวบริวาร
  2. มีมวลมากพอที่จะมีแรงโน้มถ่วงดึงดูดตัวเองให้อยู่ในสภาวะสมดุลอุทกสถิต หรือรูปร่างใกล้เคียงกับทรงกลม
  3. มีวงโคจรที่ชัดเจนและสอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง
  4. มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 500 ไมล์ (804.63 กิโลเมตร)

นิยามใหม่นี้ส่งผลให้ ดาวพลูโต (♇) และดาวอีรีส ซึ่งเคยนับเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 และ 10 ถูกปลดออกจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ คงเหลือดาวเคราะห์เพียง 8 ดวง เนื่องจากดาวพลูโตไม่สามารถควบคุมแรงดึงดูด และวงโคจรของสิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกระบบสุริยะ ทั้งยังมีวงโคจรที่ไม่สอดคล้องกับดาวเคราะห์ข้างเคียง และให้ถือว่าดาวพลูโตเป็น ดาวเคราะห์แคระ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับวัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ

 
รูปดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ ขนาดดาวตามอัตราส่วนจริง (แนวขวาง) แต่ระยะทางไม่ถูกอัตราส่วน

รายชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

(เรียงตามระยะห่างเฉลี่ยจากดวงอาทิตย์)[ต้องการอ้างอิง]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "IAU 2006 General Assembly: Result of the IAU Resolution votes". International Astronomical Union. 2006. สืบค้นเมื่อ 2009-12-30.
  2. . IAU. 2001. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2006-09-16. สืบค้นเมื่อ 2008-08-23. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  3. จัดระเบียบจักรวาลนิยามใหม่ "ดาวเคราะห์" - "ดาวเคราะห์แคระ" ผู้จัดการออนไลน์ 25 สิงหาคม 2549
  4. สถาบันดาราศาสตร์​เตรียมแถลงแพร่ข้อมูลลดชั้น "พลูโต" สัปดาห์หน้า ผู้จัดการออนไลน์ 25 สิงหาคม 2549


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>

ดาวเคราะห, กร, πλανήτης, งกฤษ, planet, หร, พเนจร, อว, ตถ, ขนาดใหญ, โคจรรอบดาวฤกษ, อนคร, สต, ทศวรรษ, 1990, เราร, กเพ, ยง, ดวง, งหมดอย, ในระบบส, ยะ, จจ, นเราร, กใหม, กมากกว, ดวง, งเป, นนอกระบบ, โคจรรอบดาวฤกษ, ดวงอ, นท, ไม, ใช, ดวงอาท, ตย, ในป, 2549, สหพ, นธ, ดาร. dawekhraah krik planhths xngkvs planet hrux phuphencr khuxwtthukhnadihythiokhcrrxbdawvks kxnkhristthswrrs 1990 midawekhraahthieraruckephiyng 8 dwng thnghmdxyuinrabbsuriya pccubneraruckdawekhraahihmxikmakkwa 100 dwng sungepndawekhraahnxkrabb khux okhcrrxbdawvksdwngxunthiimichdwngxathity inpi ph s 2549 shphnthdarasastrsakl IAU mimtirbkhaniyamthangwithyasastrkhxngdawekhraahwa wtthufakfathiokhcrrxbdawvkscaepndawekhraahid txemuxmimwlmakphxthicarksathrngklmiwiddwyaerngonmthwngkhxngtnexng txngimmimwlmakcnthungkhnadkxihekidptikiriyaniwekhliyfiwchn hruxptikiriyakarhlxmniwekhliys txngimmidawekhraahxunrwmichwngokhcr sungrwmipthungwatxngimmidawekhraahaerkekid planetesimal xunkalngkxtwxyuinwngokhcr 1 2 dawekhraahthngaepd a inrabbsuriya dawekhraahkhlayolk dawekhraahhin dawphuth dawsukr olk aeladawxngkhardawekhraahyks dawekhraahaeks dawphvhs aeladawesar dawaeksyks dawyuerns aeladawenpcun dawnaaekhngyks eriyngladbcakdwngxathity aelaichsicring khnadimtamkhxngcring dawekhraahepnwtthufakfathisuksaknmaaetobran thnginthangwithyasastr aelaohrasastr nkdarasastrkrikchux potelmi echuxwa dawekhraahthnghlaylwnokhcrrxbolkinkarekhluxnthiaebbrxbxphiwt Epicycle thvsdithiepnthiyxmrbknmakthisudinpccubnklawwadawekhraahkxtwkhuncakkaryubtwlngkhxngklumfunaelaaeks phrxm kbkarkxkaeniddwngxathitythiicklang dawekhraahimmiaesngswangintwexng samarthmxngehnidenuxngcakphunphiwsathxnaesngcakdwngxathity dawekhraahswnihyinrabbsuriyamidawbriwarokhcrrxb ykewndawphuthaeladawsukr aelasamarthphbrabbwngaehwnidindawekhraahkhnadihyxyangdawphvhsbdi dawesar dawyuerns aeladawenpcun miephiyngdawesarethannthisamarthmxngehnwngaehwnidchdecndwyklxngsxngthangikl enuxha 1 niyamkhxngdawekhraah 2 raychuxdawekhraahinrabbsuriya 3 duephim 4 xangxingniyamkhxngdawekhraah aekikhemuxwnthi 24 singhakhm ph s 2549 thiprachumshphnthdarasastrsakl thikrungprak satharnrthechk sungprakxbdwynkdarasastrkwa 2 500 khncak 75 praethsthwolk idmimtikahndniyamihmkhxngdawekhraah dngni 3 4 epndawthiokhcrrxbdawvks sunginthinihmaythungdwngxathity aetimichdawvks aelaimichdawbriwar mimwlmakphxthicamiaerngonmthwngdungdudtwexngihxyuinsphawasmdulxuthksthit hruxruprangiklekhiyngkbthrngklm miwngokhcrthichdecnaelasxdkhlxngkbdawekhraahkhangekhiyng mikhnadesnphansunyklangxyangnxy 500 iml 804 63 kiolemtr niyamihmnisngphlih dawphluot aeladawxiris sungekhynbepndawekhraahdwngthi 9 aela 10 thukpldxxkcakkarepndawekhraahinrabbsuriya khngehluxdawekhraahephiyng 8 dwng enuxngcakdawphluotimsamarthkhwbkhumaerngdungdud aelawngokhcrkhxngsingtang thixyunxkrabbsuriya thngyngmiwngokhcrthiimsxdkhlxngkbdawekhraahkhangekhiyng aelaihthuxwadawphluotepn dawekhraahaekhra sungmilksnakhlaykbwtthukhnadelkinrabbsuriya rupdawekhraahaeladawekhraahaekhrainrabbsuriya khnaddawtamxtraswncring aenwkhwang aetrayathangimthukxtraswnraychuxdawekhraahinrabbsuriya aekikh eriyngtamrayahangechliycakdwngxathity txngkarxangxing dawphuth dawsukr olk dawxngkhar dawphvhsbdi dawesar dawyuerns dawenpcun duephim aekikhdawekhraahnxkrabb dawekhraahaekhraxangxing aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb dawekhraah IAU 2006 General Assembly Result of the IAU Resolution votes International Astronomical Union 2006 subkhnemux 2009 12 30 Working Group on Extrasolar Planets WGESP of the International Astronomical Union IAU 2001 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2006 09 16 subkhnemux 2008 08 23 Unknown parameter deadurl ignored help cdraebiybckrwalniyamihm dawekhraah dawekhraahaekhra phucdkarxxniln 25 singhakhm 2549 sthabndarasastr etriymaethlngaephrkhxmulldchn phluot spdahhna phucdkarxxniln 25 singhakhm 2549 xangxingphidphlad mipayrabu lt ref gt sahrbklumchux lower alpha aetimphbpayrabu lt references group lower alpha gt thisxdkhlxngkn hruximmikarpid lt ref gt ekhathungcak https th wikipedia org w index php title dawekhraah amp oldid 9624500, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม