fbpx
วิกิพีเดีย

การแต่งกายของพม่า

การแต่งกายของพม่า การแต่งกายของพม่านั้นมีรูปแบบที่หลากหลายขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ, สภาพภูมิศาสตร์, สภาพภูมิอากาศ, ประเพณีวัฒนธรรมของผู้คนในแต่ละภูมิภาคของประเทศพม่า การแต่งกายที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางของชาวพม่าคือ โลนจี เป็นโสร่งแบบหนึ่งจัดเป็นการแต่งกายประจำชาติ สวมใส่ทั้งชายและหญิงทั่วประเทศ เสื้อผ้าพม่ายังมีความหลากหลายในแง่ของสิ่งทอสาน เส้นใย สี และวัสดุ เช่น ผ้ากำมะหยี่ ผ้าไหม ผ้าลูกไม้ ผ้ามัสลินและผ้าฝ้าย

ประวัติ

ยุคก่อนอาณานิคมอังกฤษ

 
ขุนนางและพระมหากษัตริย์สวมเครื่องแต่งกายในพระราชพิธีแรกนาขวัญ
 
กษัตริย์และนางสนมขณะปรึกษากับข้าราชการในพระราชวัง ในภาพวาดศิลปะพม่า

ในยุคที่พม่าก่อนจะตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ ได้มีกฎระเบียบการแต่งกาย ที่เรียกว่า ยาซาไกง์ กำหนดวิถีชีวิตและการบริโภคสำหรับชาวพม่าในสมัยราชวงศ์โกนบอง ทุกอย่างตั้งแต่รูปแบบของที่พักอาศัยไปจนถึงเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับสถานะทางสังคมของคนๆนั้น กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับพิธีศพและโลงศพ รวมไปถึงการใช้รูปแบบการพูดต่างๆตามลำดับสถานภาพทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎระเบียบการแต่งกายในเมืองหลวงของราชวงศ์เป็นสิ่งที่เข้มงวดมากและมีความซับซ้อนมากที่สุด กฎระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกายและการตกแต่งได้รับการสังเกตุอย่างรอบคอบ เครื่องหมายนกยูง ถูกสงวนไว้อย่างเคร่งครัดสำหรับราชวงศ์ เสื้อคลุมยาวประกบตัวถึงสะโพกอย่าง ไทง์มะเตน และทับทิมถูกสงวนไว้ให้ใส่สำหรับเจ้าหน้าที่ในราชสำนัก รองเท้ากำมะหยี่ถูกสวมใส่โดยราชวงศ์เท่านั้น กำไลข้อเท้าทองคำถูกสวมใส่โดยเฉพาะสมาชิกเด็กในราชวงศ์ ผ้าไหม ผ้าตาดเงิน ผ้าตาดทอง และสัญลักษณ์รูปสัตว์มงคลได้รับอนุญาตให้สวมใส่โดยสมาชิกของราชวงศ์และภรรยาของขุนนางในราชสำนักเท่านั้น การประดับด้วยอัญมณีและหินมีค่าก็มีการควบคุมด้วยเช่นเดียวกัน การใช้ ฮินตะปะดา (ဟင်္သပဒါး) สีย้อมสีชาดที่สกัดจากซินนาบาร์ ก็มีการควบคุม

ยุคอาณานิคมอังกฤษ

 
หญิงสาวชาวพม่าที่เมืองมัณฑะเลย์ใส่ชุดยาวลากพื้นที่เรียกว่า ทะเมียน

ในช่วงยุคอาณานิคมของอังกฤษ เหล่าชาตินิยมชาวพม่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับเสื้อผ้าแบบดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยอโลนจี (ယောလုံချည်) รูปแบบหนึ่งของโลนจี จากแคว้นยอ และ ปินนีไตปอนอินจี (ပင်နီတိုက်ပုံအင်္ကျီ) เสื้อคลุมคอจีนสีเหลืองอมน้ำตาล แสดงออกซึ่งสัญลักษณ์ที่ให้ความรู้สึกต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมและความเชื่อมั่นในชาติในการเรียกร้องเอกราช ช่วงทศวรรษที่ 1920 ที่การขัดแย้งมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น การสวมเสื้อผ้า "แบบดั้งเดิม" ถูกมองว่าเป็นรูปแบบของการต่อต้านเชิงตั้งรับในหมู่ชาวพม่า โสร่งแบบผู้หญิง ทะเมียน หรือทะบี (ထဘီ) สั้นลงไม่ยาวไปถึงเท้าถึงเพียงแต่ข้อเท้า และความยาวของผ้าซิ่นช่วงบนลดลงเปิดเผยรอบเอวมากขึ้น ช่วงนี้ยังได้เห็นการนิยมเสื้อมัสลินสำหรับสตรี เผยให้เห็นชุดภายในของสตรีที่เรียกว่า ซาบอลี (ဇာဘော်လီ) ในช่วงการปกครองของอังกฤษอิทธิพลแฟชั่นทรงผมและการแต่งกายได้ส่งผลต่อพม่า การตัดผมทรงสั้นที่เรียกว่า โบเก (ဗိုလ်ကေ) ถูกแทนที่การไว้ผมยาวซึ่งเป็นบรรทัดฐานในหมู่คนพม่ารุ่นเก่า ในทำนองเดียวกันผู้หญิงเริ่มไว้ทรงผมเช่น อะเมาะ (အမောက်) ประกอบด้วยมวยผมแบบเรียบง่ายขดอยู่ด้านบนศรีษะ แทนการไว้มวยผมแบบดั้งเดิม (ဆံထုံး)

ยุคสมัยใหม่

 
นักดนตรีดีดซองเกาะ สวมเสื้อแบบดั้งเดิม อะเชะ ไทง์มะเตน

ชุดประจำชาติ

โลนจี

 
การแต่งกายของสตรีในยุคก่อนอาณานิคมในชุด ทะเมียน

ชุดประจำชาติของพม่าคือโลนจี (လုံချည်, เสียงอ่านภาษาพม่า: [lòʊɴd͡ʑì]), สโสร่งยาวถึงข้อเท้าสวมใส่ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย โลนจี ในรูปแบบใหม่เป็นที่นิยมในช่วงยุคอาณานิคมของอังกฤษแทนที่ ปาโซ การแต่งกายแบบดั้งเดิมซึ่งสวมใส่โดยผู้ชาย และ ทะเมียน ซึ่งสวมใส่โดยผู้หญิงก่อนยุคอาณานิคม ทะเมียน ในช่วงก่อนอาณานิคม มีรูปแบบลักษณะเป็นชุดยาว เรียกว่า เยตีนา (ရေသီနား) จะเห็นได้ในยุคปัจจุบันเฉพาะเป็นเครื่องแต่งกายในงานแต่งงานหรือชุดเต้นรำ ในทำนองเดียวกันก่อนยุคอาณานิคม ปาโซ เป็นเพียงการสวมใส่โดยทั่วไปในระหว่างการแสดงบนเวทีรวมถึงการเต้นรำและการแสดง อะเญน

ผ้าทออะเชะ

 
สมาชิกสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐของพม่า แต่งกายในชุดอะเชะ โลนจี

รูปแบบลวดลายพื้นเมืองของพม่า ที่เรียกว่า อะเชะ (အချိတ်; [ʔət͡ɕʰeɪʔ]), ลายลอนคลื่นที่สลับซับซ้อนแถบแนวนอนที่ประดับประดาด้วยการออกแบบคล้ายลายอาหรับ อะเชะ เป็นที่รู้จักกันในชื่อ ลูนติยา (လွန်းတစ်ရာ; [lʊ́ɴtəjà]) ซึ่งแปลว่า "กระสวยเส้นพุ่งนับร้อย" อ้างถึงกระบวนการที่ต้องใช้เวลามาก มีราคาแพงและซับซ้อนในการทอผ้ารูปแบบนี้ ซึ่งต้องใช้กระสวยในเครื่องทอผ้าจำนวนมากซึ่งแต่ละอันจะให้สีที่แตกต่างกัน ลวดลายอะเชะ มีต้นกำเนิดที่อมรปุระ และเป็นที่แพร่หลายในยุคราชวงศ์โกนบอง

เสื้อคลุมไตปอน

สำหรับงานธุรกิจและโอกาสที่เป็นทางการ ชายชาวพม่า จะแต่งชุดเสื้อแจ๊คแก็ตแบบแมนจู ที่เรียกว่า ไตปอนอินจี (တိုက်ပုံအင်္ကျီ, [taɪʔpòʊɴ]) ใส่ทับเสื้อเชิ้ตคอปกแบบอังกฤษ ชุดนี้เป็นที่นิยมในยุคอาณานิคม

ชุดสตรี อินจี

ผู้หญิงพม่าสวมชุดสตรีที่เรียกว่า อินจี (အင်္ကျီ, [ʔéɪɴd͡ʑì]) มีสองรูปแบบที่แพร่หลายคือ ยีนเซ (ရင်စေ့) จะติดกระดุมด้านหน้าและ ยีนโพน (ရင်ဖုံး) ติดกระดุมไว้ด้านข้าง สำหรับพิธีที่เป็นทางการและทางศาสนาผู้หญิงพม่ามักสวมผ้าคลุมไหล่

เสื้อคลุมไทง์มะเตน

 
ในภาพยุคอาณานิคมนี้ผู้หญิงสวมชุด ยีนฮาน (เสื้อท่อนบน), และ ไทง์มะเตน (เสื้อคลุม)

การแสดงออกอย่างเป็นทางการที่สุดของเครื่องแต่งกายประจำชาติของพม่าสำหรับสตรี ได้แก่ เสื้อคลุมที่มีความยาวถึงสะโพกแนบแน่นกระชับที่เรียกว่า ไทง์มะเตน (ထိုင်မသိမ်း, [tʰàɪɴməθéɪɴ]) บางครั้งก็มีการปักเลื่อมบนพื้นผิวผ้า ไทง์มะเตน ในภาษาพม่าจะแปลว่า "ไม่เแน่นขนัดเวลานั่ง" หมายถึงเสื้อคลุมที่กระชับไม่ยับยู่ยี่ขณะนั่ง เสื้อคลุมนี้ได้รับความนิยมในหมู่ชนชั้นสูงในช่วงราชวงศ์โกนบอง

กองบอง

 
นายพลอองซาน โพก กองบอง และสวม ไตปอน (เสื้อคลุม)

เครื่องแต่งกายประจำชาติของพม่าสำหรับผู้ชายประกอบด้วยผ้าโพกหัวที่เรียกว่า กองบอง (ခေါင်းပေါင်း, [ɡáʊɴbáʊɴ]) ซึ่งสวมใส่สำหรับการทำงานอย่างเป็นทางการ ในยุคอาณานิคมกองบองถูกพัฒนาให้เป็นเครื่องแต่งกายสามัญของชายชาวพม่า การออกแบบกองบองของชาวพม่าสมัยใหม่เกิดขึ้นในช่วงกลางปี ​​1900 และเรียกว่า มอนเจะตะเร (မောင့်ကျက်သရေ) เป็นกองบองทำจากผ้าที่มีโครงหวายและสามารถสวมใส่ได้เช่นสวมหมวก

ญะพะนะ

ดูบทความหลักที่: ญะพะนะ

รองเท้าแตะกำมะหยี่สวมใส่ได้ทั้งสองเพศ เรียกว่า ญะพะนะ (ကတ္တီပါဖိနပ်‌, หรือ มัณฑะเลย์ พะนะ) เป็นรองเท้าที่สวมใส่เป็นทางการ

การแต่งการตามภูมิภาค

กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในพม่าทุกกลุ่มล้วนมีเสื้อผ้าและประเพณีสิ่งทอที่แตกต่างกัน

อ้างอิง

  1. Scott 1882, p. 411.
  2. Scott 1882, p. 406-407.
  3. Andrus 1947, p. x.
  4. Scott 1882, p. 406.
  5. Scott 1882, p. 409.
  6. Scott 1882, p. 409-10.
  7. Edwards, Penny (2008). "Nationalism by design. The politics of dress in British Burma" (PDF). IIAS Newsletter. International Institute for Asian Studies (46): 11.
  8. Ikeya, Chie (2008). "The Modern Burmese Woman and the Politics of Fashion in Colonial Burma". The Journal of Asian Studies. Cambridge University Press. 67: 1277–1308. doi:10.1017/S0021911808001782.
  9. "Silk acheik-luntaya | V&A Search the Collections". collections.vam.ac.uk (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-12-05.
  10. Green, Gillian (2012-05-25). "Verging on Modernity: A Late Nineteenth-Century Burmese Painting on Cloth Depicting the Vessantara Jataka". Journal of Burma Studies. 16 (1): 79–121. doi:10.1353/jbs.2012.0000. ISSN 2010-314X.
  11. Hardiman, John Percy (1901). Silk in Burma (ภาษาอังกฤษ). superintendent, Government printing, Burma.
  12. http://www.myanmar.gov.mm/myanmartimes/no81/Timeouts/3.htm

การแต, งกายของพม, นม, ปแบบท, หลากหลายข, นอย, บเช, อชาต, สภาพภ, ศาสตร, สภาพภ, อากาศ, ประเพณ, ฒนธรรมของผ, คนในแต, ละภ, ภาคของประเทศพม, การแต, งกายท, เป, นท, กอย, างกว, างขวางของชาวพม, าค, โลนจ, เป, นโสร, งแบบหน, งจ, ดเป, นการแต, งกายประจำชาต, สวมใส, งชายและหญ, ง. karaetngkaykhxngphma karaetngkaykhxngphmannmirupaebbthihlakhlaykhunxyukbechuxchati sphaphphumisastr sphaphphumixakas praephniwthnthrrmkhxngphukhninaetlaphumiphakhkhxngpraethsphma karaetngkaythiepnthiruckxyangkwangkhwangkhxngchawphmakhux olnci epnosrngaebbhnungcdepnkaraetngkaypracachati swmisthngchayaelahyingthwpraeths esuxphaphmayngmikhwamhlakhlayinaengkhxngsingthxsan esniy si aelawsdu echn phakamahyi phaihm phalukim phamslinaelaphafay enuxha 1 prawti 1 1 yukhkxnxananikhmxngkvs 1 2 yukhxananikhmxngkvs 1 3 yukhsmyihm 2 chudpracachati 2 1 olnci 2 2 phathxxaecha 2 3 esuxkhlumitpxn 2 4 chudstri xinci 2 5 esuxkhlumithngmaetn 2 6 kxngbxng 2 7 yaphana 2 8 karaetngkartamphumiphakh 3 xangxingprawti aekikhyukhkxnxananikhmxngkvs aekikh khunnangaelaphramhakstriyswmekhruxngaetngkayinphrarachphithiaerknakhwy kstriyaelanangsnmkhnapruksakbkharachkarinphrarachwng inphaphwadsilpaphma inyukhthiphmakxncatkepnxananikhmkhxngckrwrrdixngkvsidmikdraebiybkaraetngkay thieriykwa yasaikng kahndwithichiwitaelakarbriophkhsahrbchawphmainsmyrachwngsoknbxng thukxyangtngaetrupaebbkhxngthiphkxasyipcnthungesuxphaihehmaasmkbsthanathangsngkhmkhxngkhnnn kdraebiybthiekiywkhxngkbphithisphaelaolngsph rwmipthungkarichrupaebbkarphudtangtamladbsthanphaphthangsngkhm 1 2 3 odyechphaaxyangyingkdraebiybkaraetngkayinemuxnghlwngkhxngrachwngsepnsingthiekhmngwdmakaelamikhwamsbsxnmakthisud 4 kdraebiybekiywkbkaraetngkayaelakartkaetngidrbkarsngektuxyangrxbkhxb ekhruxnghmaynkyung thuksngwniwxyangekhrngkhrdsahrbrachwngs esuxkhlumyawprakbtwthungsaophkxyang ithngmaetn aelathbthimthuksngwniwihissahrbecahnathiinrachsank 5 rxngethakamahyithukswmisodyrachwngsethann 6 kailkhxethathxngkhathukswmisodyechphaasmachikedkinrachwngs 1 phaihm phatadengin phatadthxng aelasylksnrupstwmngkhlidrbxnuyatihswmisodysmachikkhxngrachwngsaelaphrryakhxngkhunnanginrachsankethann 1 karpradbdwyxymniaelahinmikhakmikarkhwbkhumdwyechnediywkn karich hintapada ဟင သပဒ siyxmsichadthiskdcaksinnabar kmikarkhwbkhum 1 karaetngkaykhxngrachsankphma karaetngkaykhxngstriinyukhrachwngs karaetngkaykhxngphuchayinyukhrachwngs yukhxananikhmxngkvs aekikh hyingsawchawphmathiemuxngmnthaelyischudyawlakphunthieriykwa thaemiyn inchwngyukhxananikhmkhxngxngkvs ehlachatiniymchawphmamiswnekiywkhxngkbesuxphaaebbdngedimodyechphaaxyangying yxolnci ယ လ ခ ည rupaebbhnungkhxngolnci cakaekhwnyx aela pinniitpxnxinci ပင န တ က ပ အင က esuxkhlumkhxcinsiehluxngxmnatal aesdngxxksungsylksnthiihkhwamrusuktxtanlththilaxananikhmaelakhwamechuxmninchatiinkareriykrxngexkrach chwngthswrrsthi 1920 thikarkhdaeyngmikhwamrunaerngephimmakkhun 7 karswmesuxpha aebbdngedim thukmxngwaepnrupaebbkhxngkartxtanechingtngrbinhmuchawphma 7 osrngaebbphuhying thaemiyn hruxthabi ထဘ snlngimyawipthungethathungephiyngaetkhxetha aelakhwamyawkhxngphasinchwngbnldlngepidephyrxbexwmakkhun 8 chwngniyngidehnkarniymesuxmslinsahrbstri ephyihehnchudphayinkhxngstrithieriykwa sabxli ဇ ဘ လ inchwngkarpkkhrxngkhxngxngkvsxiththiphlaefchnthrngphmaelakaraetngkayidsngphltxphma kartdphmthrngsnthieriykwa obek ဗ လ က thukaethnthikariwphmyawsungepnbrrthdthaninhmukhnphmaruneka 8 inthanxngediywknphuhyingerimiwthrngphmechn xaemaa အမ က prakxbdwymwyphmaebberiybngaykhdxyudanbnsrisa aethnkariwmwyphmaebbdngedim ဆ ထ 8 yukhsmyihm aekikh nkdntrididsxngekaa swmesuxaebbdngedim xaecha ithngmaetn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidchudpracachati aekikholnci aekikh karaetngkaykhxngstriinyukhkxnxananikhminchud thaemiyn chudpracachatikhxngphmakhuxolnci လ ခ ည esiyngxanphasaphma loʊɴd ʑi sosrngyawthungkhxethaswmisthngphuhyingaelaphuchay olnci inrupaebbihmepnthiniyminchwngyukhxananikhmkhxngxngkvsaethnthi paos karaetngkayaebbdngedimsungswmisodyphuchay aela thaemiyn sungswmisodyphuhyingkxnyukhxananikhm thaemiyn inchwngkxnxananikhm mirupaebblksnaepnchudyaw eriykwa eytina ရ သ န caehnidinyukhpccubnechphaaepnekhruxngaetngkayinnganaetngnganhruxchudetnra inthanxngediywknkxnyukhxananikhm paos epnephiyngkarswmisodythwipinrahwangkaraesdngbnewthirwmthungkaretnraaelakaraesdng xaeyn phathxxaecha aekikh smachiksphasntiphaphaelakarphthnaaehngrthkhxngphma aetngkayinchudxaecha olnci rupaebblwdlayphunemuxngkhxngphma thieriykwa xaecha အခ တ ʔet ɕʰeɪʔ laylxnkhlunthislbsbsxnaethbaenwnxnthipradbpradadwykarxxkaebbkhlaylayxahrb xaecha epnthiruckkninchux luntiya လ န တစ ရ lʊ ɴteja sungaeplwa kraswyesnphungnbrxy 9 xangthungkrabwnkarthitxngichewlamak mirakhaaephngaelasbsxninkarthxpharupaebbni sungtxngichkraswyinekhruxngthxphacanwnmaksungaetlaxncaihsithiaetktangkn 10 lwdlayxaecha mitnkaenidthixmrpura 11 aelaepnthiaephrhlayinyukhrachwngsoknbxng esuxkhlumitpxn aekikh sahrbnganthurkicaelaoxkasthiepnthangkar chaychawphma caaetngchudesuxaeckhaektaebbaemncu thieriykwa itpxnxinci တ က ပ အင က taɪʔpoʊɴ isthbesuxechitkhxpkaebbxngkvs chudniepnthiniyminyukhxananikhm chudstri xinci aekikh phuhyingphmaswmchudstrithieriykwa xinci အင က ʔeɪɴd ʑi misxngrupaebbthiaephrhlaykhux yines ရင စ catidkradumdanhnaaela yinophn ရင ဖ tidkradumiwdankhang sahrbphithithiepnthangkaraelathangsasnaphuhyingphmamkswmphakhlumihl esuxkhlumithngmaetn aekikh inphaphyukhxananikhmniphuhyingswmchud yinhan esuxthxnbn aela ithngmaetn esuxkhlum karaesdngxxkxyangepnthangkarthisudkhxngekhruxngaetngkaypracachatikhxngphmasahrbstri idaek esuxkhlumthimikhwamyawthungsaophkaenbaennkrachbthieriykwa ithngmaetn ထ င မသ မ tʰaɪɴme8eɪɴ bangkhrngkmikarpkeluxmbnphunphiwpha ithngmaetn inphasaphmacaaeplwa imeaennkhndewlanng hmaythungesuxkhlumthikrachbimybyuyikhnanng esuxkhlumniidrbkhwamniyminhmuchnchnsunginchwngrachwngsoknbxng kxngbxng aekikh nayphlxxngsan ophk kxngbxng aelaswm itpxn esuxkhlum ekhruxngaetngkaypracachatikhxngphmasahrbphuchayprakxbdwyphaophkhwthieriykwa kxngbxng ခ င ပ င ɡaʊɴbaʊɴ sungswmissahrbkarthanganxyangepnthangkar inyukhxananikhmkxngbxngthukphthnaihepnekhruxngaetngkaysamykhxngchaychawphma karxxkaebbkxngbxngkhxngchawphmasmyihmekidkhuninchwngklangpi 1900 aelaeriykwa mxnecataer မ င က က သရ 12 epnkxngbxngthacakphathimiokhrnghwayaelasamarthswmisidechnswmhmwk yaphana aekikh dubthkhwamhlkthi yaphana rxngethaaetakamahyiswmisidthngsxngephs eriykwa yaphana ကတ တ ပ ဖ နပ hrux mnthaely phana epnrxngethathiswmisepnthangkar karaetngkartamphumiphakh aekikh klumchatiphnthutang inphmathukklumlwnmiesuxphaaelapraephnisingthxthiaetktangknxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 Scott 1882 p 411 Scott 1882 p 406 407 Andrus 1947 p x Scott 1882 p 406 Scott 1882 p 409 Scott 1882 p 409 10 7 0 7 1 Edwards Penny 2008 Nationalism by design The politics of dress in British Burma PDF IIAS Newsletter International Institute for Asian Studies 46 11 8 0 8 1 8 2 Ikeya Chie 2008 The Modern Burmese Woman and the Politics of Fashion in Colonial Burma The Journal of Asian Studies Cambridge University Press 67 1277 1308 doi 10 1017 S0021911808001782 Silk acheik luntaya V amp A Search the Collections collections vam ac uk phasaxngkvs subkhnemux 2017 12 05 Green Gillian 2012 05 25 Verging on Modernity A Late Nineteenth Century Burmese Painting on Cloth Depicting the Vessantara Jataka Journal of Burma Studies 16 1 79 121 doi 10 1353 jbs 2012 0000 ISSN 2010 314X Hardiman John Percy 1901 Silk in Burma phasaxngkvs superintendent Government printing Burma http www myanmar gov mm myanmartimes no81 Timeouts 3 htmekhathungcak https th wikipedia org w index php title karaetngkaykhxngphma amp oldid 9156473, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม