fbpx
วิกิพีเดีย

ไฮโดรเจนซัลไฟด์

บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน

ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (อังกฤษ: hydrogen sulfide หรือ hydrogen sulphide) หรือ แก๊สไข่เน่า เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีเป็น H2S ไม่มีสี, เป็นพิษ และเป็นแก๊สไวไฟ มีกลิ่นเน่าเหม็นคล้ายไข่เน่า บ่อยครั้งเป็นผลจากแบคทีเรียย่อยสลายซัลไฟต์ในสารอนินทรีย์ในสภาวะขาดออกซิเจน เช่นใน หนองน้ำและท่อระบายน้ำ (การย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน) นอกจากนั้นยังพบในแก๊สจากภูเขาไฟ ก๊าซธรรมชาติ และบ่อน้ำบางบ่อ กลิ่นของ H2S ไม่ใช่คุณสมบัติโดยทั่วไปของกำมะถัน ซึ่งในความจริงแล้วไม่มีกลิ่น

ไฮโดรเจนซัลไฟด์
ชื่อตาม IUPAC Hydrogen sulfide, sulfane
ชื่ออื่น Sulfuretted hydrogen; sulfane; Hydrogen Sulfide; sulfur hydride; sulfurated hydrogen; hydrosulfuric acid; ก๊าซท่อระบายน้ำ; stink damp; ก๊าซไข่เน่า; สารกำมะถัน
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [7783-06-4][CAS]
PubChem 402
EC number 231-977-3
UN number 1053
RTECS number MX1225000
ChemSpider ID 391
คุณสมบัติ
สูตรเคมี H2S
มวลต่อหนึ่งโมล 34.082 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Colorless gas.
ความหนาแน่น 1.363 g/L, gas.
จุดหลอมเหลว

-82.30 °C (190.85 K)

จุดเดือด

-60.28 °C (212.87 K)

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 0.4 g/100 mL (20 °C)
0.25 g/100 mL (40 °C)
ความสามารถละลายได้ soluble in CS2, methanol, acetone;
very soluble in alkanolamine
pKa 6.89
19±2 (see text)
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.000644 (0 °C)
โครงสร้าง
รูปร่างโมเลกุล Bent
Dipole moment 0.97 D
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation ΔfHo298
-0.6044 kJ/g
ความอันตราย
การจำแนกของ EU Highly Flammable (F+)
Very Toxic (T+)
Dangerous for the environment (N)
EU Index 016-001-00-4
NFPA 704
4
4
0
 
R-phrases R12, R26, R50
S-phrases (S1/2), S9, S16, S36, S38, S45, S61
จุดวาบไฟ flammable gas
อุณหภูมิที่ติดไฟด้วยตัวเอง 260 °C
Explosive limits 4.3–46%
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

คาร์ล วิลเฮ็ล์ม เชเลอ นักเคมีชาวสวีเดนเป็นผู้ค้นพบไฮโดรเจนซัลไฟด์ในปี 1777

คุณสมบัติ

ไฮโดรเจนซัลไฟด์หนาแน่นกว่าอากาศเล็กน้อย ส่วนผสมระหว่าง H2S กับอากาศสามารถระเบิดได้ เมื่อไฮโดรเจนซัลไฟด์เผาไหม้ในออกซิเจนจะให้เปลวไฟสีน้ำเงินและเกิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์กับน้ำเป็นผลิตภัณฑ์ดังสมการ

2H2S + 3O2 → 2SO2 + 2H2O

โดยทั่วไปแล้วไฮโดรเจนซัลไฟด์มีฤทธิ์เป็นตัวรีดิวซ์ โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในสภาวะเบส ซึ่งจะอยู่ในรูป SH-

ในอุณหภูมิสูง หรือเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรเจนซัลไฟด์สามารถทำปฏิกิริยากับซัลเฟอร์ไดออกไซด์เกิดเป็นกำมะถันและน้ำดังสมการ

2H2S + SO2 → 3S + 2H2O

ปฏิกิริยาดังกล่าว ใช้ในกระบวนการเคลาส์ ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญสำหรับกำจัดไฮโดรเจนซัลไฟด์ในภาคอุตสากรรม

ไฮโดรเจนซัลไฟด์ละลายน่้ำได้เล็กน้อย และสาปมารถแสดงฤทธิ์เป็นกรดได้ (pKa = 6.9 ในสารละลาย 0.01-0.1M ที่ 18 °C) สารละลายของไฮโดรเจนซัลไฟด์ไม่มีสี แต่เมื่อถูกอากาศ จะถูกออกซิไดส์อย่างช้า ๆ เกิดความขุ่นจากกำมะถันซึ่งไม่ละลายน้ำ

ไฮโดรเจนซัลไฟด์ทำปฏิกิริยากับโลหะหลายชนิดเกิดเป็นเกลือซัลไฟด์ ซึ่งมักเป็นสีดำและไม่ละลายน้ำ ดังนั้นจึงมักใช้กระดาษชุบเลด(II)แอซิเตตในการทดสอบไฮโดรเจนซัลไฟด์ การนำโลหะซัลไฟด์ไปใส่กรดมักเกิดแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์

การผลิต

ไฮโดรเจนซัลไฟด์ โดยทั่วไปแล้วผลิตโดยการแยกจากแก๊สธรรมชาติที่มี H2S ปน นอกจากนี้ยังอาจผลิตโดยปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนกับกำมะถันเหลวที่อุณหภูมิที่ 450 °C ซึ่งอาจใช้ไฮโดรคาร์บอนเป็นแหล่งคาร์บอนได้

แบคทีเรียที่รีดิวซ์ซัลเฟตหรือซัลเฟอร์ สามารถสร้างพลังงานในสภาวะออกซิเจนต่ำโดยใช้ซัลเฟตหรือซัลเฟอร์เพื่อออกซิไดส์สารประกอบอินทรีย์ของไฮโดรเจน และเกิด H2S เป็นผลพลอยได้

วิธีการสังเคราะห์ปกติในห้องปฏิบัติการ ใช้ไอเอิร์น(II)ซัลไฟด์กับกรดแก่ ดังสมการ

FeS + 2 HCl → FeCl2 + H2S

ในการวิเคราะห์สารอนินทรีย์เชิงคุณภาพ สามารถใช้ไทโออะเซตาไมด์ในการผลิต H2S:

CH3C(S)NH2 + H2O → CH3C(O)NH2 + H2S

ซัลไฟด์ของธาตุโลหะและอโลหะหลายชนิด เช่น อะลูมิเนียมซัลไฟด์ ฟอสฟอรัสเพนตะซัลไฟด์ และซิลิคอนไดซัลไฟด์ เมื่อโดนน้ำแล้วจะให้ไฮโดรเจนซัลไฟด์:

Al2S3 + 6 H2O → 3 H2S + 2 Al(OH)3

P4S10 + 16 H2O → 10 H2S + 4 H3PO4

SiS2 + 2 H2O → 2 H2S + SiO2

นอกจากนี้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ยังผลิตได้จากการให้ความร้อนกับกำมะถันกับสารอินทรีย์ หรือการรีดิวซ์สารอินทรีย์ที่มีกำมะถันด้วยไฮโดรเจน

การใช้งาน

การผลิตกำมะถัน สารประกอบอินทรีย์ที่มีกำมะถัน และซัลไฟด์ของโลหะแอลคาไล

ประโยชน์สำคัญของไฮโดรเจนซัลไฟด์ คือการเป็นสารตั้งต้นในการผลิตธาตุกำมะถัน สารออร์กาโนซัลเฟอร์หลายชนิดก็ผลิตจากไฮโดรเจนซัลไฟด์ เช่น มีเทนไทออล อีเทนไทออล และกรดไทโอไกลโคลิก

เมื่อทำปฏิกิริยากับเบสของโลหะแอลคาไล ไฮโดรเจนซัลไฟด์จะเกิดเป็นเกลือไฮโดรซัลไฟด์และซัลไฟด์ตามลำดับ เช่น:

H2S + NaOH → NaSH + H2O
NaSH + NaOH → Na2S + H2O

ซึ่ง NaSH และ Na2S มีประโยชน์ในอุตสาหกรรมกระดาษ โดยไปทำลายพันธะในเยื่อเคมีในกระบวนการคราฟท์

ในทางกลับกัน เกลือเหล่านี้สามารถเกิดปฏิกิริยากลับไปเป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ในกรดได้ จึงใช้เป็นแหล่งให้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์บางตัว

อ้างอิง

  1. Pradyot Patnaik. Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill, 2002, ISBN 0-07-049439-8
  2. Greenwood, Norman N.; Earnshaw, Alan (1997). Chemistry of the Elements (2nd ed.). Butterworth-Heinemann. ISBN 978-0-08-037941-8.
  3. Francois Pouliquen; Claude Blanc; Emmanuel Arretz; Ives Labat; Jacques Tournier-Lasserve; Alain Ladousse; Jean Nougayrede; Gérard Savin; Raoul Ivaldi; Monique Nicolas; Jean Fialaire; René Millischer; Charles Azema; Lucien Espagno; Henri Hemmer; Jacques Perrot (200). "Hydrogen Sulfide". Ullmann's Encyclopedia of Chemical Industry. doi:10.1002/14356007.a13_467. ISBN 978-3527306732.

ไฮโดรเจนซ, ลไฟด, บทความน, เน, อหาท, นมาก, องการเพ, มเต, มเน, อหาหร, อพ, จารณารวมเข, าก, บบทความอ, นแทน, งกฤษ, hydrogen, sulfide, หร, hydrogen, sulphide, หร, แก, สไข, เน, เป, นสารประกอบท, ตรเคม, เป, ไม, เป, นพ, และเป, นแก, สไวไฟ, กล, นเน, าเหม, นคล, ายไข, เน, อ. bthkhwamnimienuxhathisnmak txngkarephimetimenuxhahruxphicarnarwmekhakbbthkhwamxunaethn ihodrecnslifd xngkvs hydrogen sulfide hrux hydrogen sulphide hrux aeksikhena epnsarprakxbthimisutrekhmiepn H2S immisi epnphis aelaepnaeksiwif miklinenaehmnkhlayikhena 2 bxykhrngepnphlcakaebkhthieriyyxyslaysliftinsarxninthriyinsphawakhadxxksiecn echnin hnxngnaaelathxrabayna karyxyslayaebbimichxxksiecn nxkcaknnyngphbinaekscakphuekhaif kasthrrmchati aelabxnabangbx klinkhxng H2S imichkhunsmbtiodythwipkhxngkamathn sunginkhwamcringaelwimmiklinihodrecnslifdchuxtam IUPAC Hydrogen sulfide sulfanechuxxun Sulfuretted hydrogen sulfane Hydrogen Sulfide sulfur hydride sulfurated hydrogen hydrosulfuric acid kasthxrabayna stink damp kasikhena sarkamathnelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 7783 06 4 CAS PubChem 402EC number 231 977 3UN number 1053RTECS number MX1225000ChemSpider ID 391khunsmbtisutrekhmi H2Smwltxhnungoml 34 082 g mollksnathangkayphaph Colorless gas khwamhnaaenn 1 363 g L gas cudhlxmehlw 82 30 C 190 85 K cudeduxd 60 28 C 212 87 K khwamsamarthlalayid in na 0 4 g 100 mL 20 C 0 25 g 100 mL 40 C khwamsamarthlalayid soluble in CS2 methanol acetone very soluble in alkanolaminepKa 6 8919 2 see text dchnihkehaesng nD 1 000644 0 C 1 okhrngsrangruprangomelkul BentDipole moment 0 97 DxunhekhmiStd enthalpy offormation DfHo298 0 6044 kJ gkhwamxntraykarcaaenkkhxng EU Highly Flammable F Very Toxic T Dangerous for the environment N EU Index 016 001 00 4NFPA 704 4 4 0 R phrases R12 R26 R50S phrases S1 2 S9 S16 S36 S38 S45 S61cudwabif flammable gasxunhphumithitidifdwytwexng 260 CExplosive limits 4 3 46 sarprakxbxunthiekiywkhxngknhakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmikharl wilehlm echelx nkekhmichawswiednepnphukhnphbihodrecnslifdinpi 1777 enuxha 1 khunsmbti 2 karphlit 3 karichngan 3 1 karphlitkamathn sarprakxbxinthriythimikamathn aelaslifdkhxngolhaaexlkhail 4 xangxingkhunsmbti aekikhihodrecnslifdhnaaennkwaxakaselknxy swnphsmrahwang H2S kbxakassamarthraebidid emuxihodrecnslifdephaihminxxksiecncaiheplwifsinaenginaelaekidslefxridxxkisdkbnaepnphlitphnthdngsmkar2H2S 3O2 2SO2 2H2Oodythwipaelwihodrecnslifdmivththiepntwridiws odyechphaaemuxxyuinsphawaebs sungcaxyuinrup SH inxunhphumisung hruxemuxmitwerngptikiriyaihodrecnslifdsamarththaptikiriyakbslefxridxxkisdekidepnkamathnaelanadngsmkar2H2S SO2 3S 2H2Optikiriyadngklaw ichinkrabwnkarekhlas sungepnkrabwnkarsakhysahrbkacdihodrecnslifdinphakhxutsakrrmihodrecnslifdlalaynaidelknxy aelasapmarthaesdngvththiepnkrdid pKa 6 9 insarlalay 0 01 0 1M thi 18 C sarlalaykhxngihodrecnslifdimmisi aetemuxthukxakas cathukxxksiidsxyangcha ekidkhwamkhuncakkamathnsungimlalaynaihodrecnslifdthaptikiriyakbolhahlaychnidekidepnekluxslifd sungmkepnsidaaelaimlalayna dngnncungmkichkradaschubeld II aexsiettinkarthdsxbihodrecnslifd karnaolhaslifdipiskrdmkekidaeksihodrecnslifdkarphlit aekikhihodrecnslifd odythwipaelwphlitodykaraeykcakaeksthrrmchatithimi H2S pn nxkcakniyngxacphlitodyptikiriyarahwangihodrecnkbkamathnehlwthixunhphumithi 450 C sungxacichihodrkharbxnepnaehlngkharbxnid 3 aebkhthieriythiridiwsslefthruxslefxr samarthsrangphlngnganinsphawaxxksiecntaodyichslefthruxslefxrephuxxxksiidssarprakxbxinthriykhxngihodrecn aelaekid H2S epnphlphlxyidwithikarsngekhraahpktiinhxngptibtikar ichixexirn II slifdkbkrdaek dngsmkarFeS 2 HCl FeCl2 H2Sinkarwiekhraahsarxninthriyechingkhunphaph samarthichithoxxaestaimdinkarphlit H2S CH3C S NH2 H2O CH3C O NH2 H2Sslifdkhxngthatuolhaaelaxolhahlaychnid echn xalumieniymslifd fxsfxrsephntaslifd aelasilikhxnidslifd emuxodnnaaelwcaihihodrecnslifd Al2S3 6 H2O 3 H2S 2 Al OH 3P4S10 16 H2O 10 H2S 4 H3PO4SiS2 2 H2O 2 H2S SiO2nxkcakniihodrecnslifdyngphlitidcakkarihkhwamrxnkbkamathnkbsarxinthriy hruxkarridiwssarxinthriythimikamathndwyihodrecnkarichngan aekikhkarphlitkamathn sarprakxbxinthriythimikamathn aelaslifdkhxngolhaaexlkhail aekikh praoychnsakhykhxngihodrecnslifd khuxkarepnsartngtninkarphlitthatukamathn sarxxrkaonslefxrhlaychnidkphlitcakihodrecnslifd echn miethnithxxl xiethnithxxl aelakrdithoxiklokhlikemuxthaptikiriyakbebskhxngolhaaexlkhail ihodrecnslifdcaekidepnekluxihodrslifdaelaslifdtamladb echn H2S NaOH NaSH H2O NaSH NaOH Na2S H2Osung NaSH aela Na2S mipraoychninxutsahkrrmkradas odyipthalayphnthaineyuxekhmiinkrabwnkarkhrafthinthangklbkn ekluxehlanisamarthekidptikiriyaklbipepnihodrecnslifdinkrdid cungichepnaehlngihihodrecnslifdinkarsngekhraahsarxinthriybangtwxangxing aekikh Pradyot Patnaik Handbook of Inorganic Chemicals McGraw Hill 2002 ISBN 0 07 049439 8 Greenwood Norman N Earnshaw Alan 1997 Chemistry of the Elements 2nd ed Butterworth Heinemann ISBN 978 0 08 037941 8 Francois Pouliquen Claude Blanc Emmanuel Arretz Ives Labat Jacques Tournier Lasserve Alain Ladousse Jean Nougayrede Gerard Savin Raoul Ivaldi Monique Nicolas Jean Fialaire Rene Millischer Charles Azema Lucien Espagno Henri Hemmer Jacques Perrot 200 Hydrogen Sulfide Ullmann s Encyclopedia of Chemical Industry doi 10 1002 14356007 a13 467 ISBN 978 3527306732 bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title ihodrecnslifd amp oldid 8272172, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม