fbpx
วิกิพีเดีย

ความหลงตนเอง

ความหลงตนเอง (อังกฤษ: narcissism ; กลุ่มคนที่มีอาการนี้เรียกว่า นาร์ซิสซิสต์ (narcissist)) คือการแสวงหาความพึงพอใจจากความทะนงตนหรือการยกย่องว่าตนสำคัญกว่าผู้อื่น ความหลงตนเองเป็นแนวคิดของทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)ซึ่งถูกแนะนำอย่างแพร่หลายจากเรียงความของซีคมุนท์ ฟร็อยท์ ที่ชื่อ ออน นาร์ซิสซิซึม (On Narcissism) (1914) โดยสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกาได้จัดรายการหมวดความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบหลงตัวเองลงใน คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1968 ซึ่งเป็นการใช้ข้อมูลจากแนวคิดทางประวัติศาสตร์ของอาการเมกะโลเมเนีย (megalomania)

ความหลงตนเองยังถูกยกให้เป็นปัญหาทางด้านสังคมหรือวัฒนธรรม ทั้งใช้เป็นปัจจัยในทฤษฎีลักษณะอุปนิสัย (trait theory) ซึ่งใช้ในการสร้างแบบทดสอบบุคลิกภาพต่าง ๆ เช่น แบบทดสอบมิลลอน คลินิคัล มัลติแอกเซียล อินเวนทอรี (Millon Clinical Multiaxial Inventory) อีกทั้งเป็นหนึ่งในสามลักษณะบุคลิกภาพด้านมืด (dark triad) (ซึ่งอีกสองอย่างคือ ไซโคพาท และ แมเคียเวลเลียนิซึม) และความหลงตนเองซึ่งยกเว้นการหลงตนเองในระยะเบื้องต้นหรือการรักตัวเอง มักถูกยกให้เป็นปัญหาในด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างกลุ่ม

ลักษณะและสัญญาณ

ชีวิตคือเวทีละคร เมื่อม่านปิดลงในการแสดง นั่นคือการแสดงนั้นสิ้นสุดและจะถูกลืมไป และความว่างเปล่าของชีวิตนั้นมันเกินกว่าจะจินตนาการได้

—อะเล็กซานเดอร์ โลเวน อธิบายการดำรงอยู่ของนาร์ซิสซิสต์

ตัวแปรบุคลิกภาพของนาร์ซิสซิสต์แบ่งเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้ ความเป็นผู้นำ/การมีอำนาจ ความเหนือกว่า/ความทะนงตน ความหมกมุ่นอยู่แต่ตนเอง/การยกยอตนเอง และการหาผลประโยชน์/การมีสิทธิ์

7 พฤติกรรมร้ายแรงของความหลงตนเอง

จิตแพทย์แฮตช์คิสส์และเจมส์ เอฟ. มาสเตอร์สัน ระบุสิ่งที่พวกเขาเรียกว่า 7 พฤติกรรมร้ายแรงของความหลงตนเอง ไว้ดังต่อไปนี้

  1. ความไม่ละอาย (Shamelessness): นาร์ซิสซิสมักภูมิใจในความไม่ละอายอย่างเปิดเผย คือ พวกเขาไม่ผูกอารมณ์ไปกับความต้องการและความปราถนาของผู้อื่น นาร์ซิสซิสต์เกลียดความอับอายขายหน้า เพราะมันหมายถึงพวกเขาไม่สมบูรณ์แบบและต้องเปลี่ยนแปลง นาร์ซิสซิสต์ชอบความรู้สึกผิดมากกว่าความอับอาย เพราะความรู้สึกผิดสามารถทำให้พวกเขาแยกระหว่างการกระทำกับเจตนาออกจากกันได้ ตัวอย่างเช่น ถึงแม้การกระทำอาจจะผิด แต่ทำไปเพราะมีเจตนาที่ดี
  2. ความคิดเชิงไสยศาสตร์ (Magical thinking): นาซิสซิสต์เห็นตนเองเป็นคนที่สมบูรณ์แบบโดยใช้การบิดเบือนและสร้างสิ่งลวงตาที่เรียกว่าความคิดเชิงไสยศาสตร์ อีกทั้งพวกเขายังใช้ในการป้องกันตนเพื่อ "โยน" ความอับอายขายหน้าไปสู่ผู้อื่น
  3. ความทะนงตน (Arrogance): นาร์ซิสซิสต์ที่รู้สึกว่ากำลังสูญเสียความสำคัญ อาจ "เพิ่มความมั่นใจในความคิดที่ว่าตนเองสำคัญ" โดยการกดผู้อื่นให้ต่ำลง ลดคุณค่าของผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นอับอายขายหน้า
  4. ความอิจฉาริษยา (Envy): นาร์ซิสซิสต์อาจคงไว้ซึ่งความคิดที่ว่าตนเหนือกว่าผู้อื่นโดยการดูถูกเหยียดหยามหรือดูถูกความสำเสร็จของผู้อื่น
  5. การมีสิทธิ์ (Entitlement): นาซิสซิสต์ยึดถือความคาดหวังซึ่งไม่สมเหตุสมที่ว่าผู้อื่นจะปฏิบัติตัวเป็นอย่างดีกับพวกเขาและเชื่อฟังทุกสิ่งอย่าง เพราะพวกเขาคิดว่าพวกเขานั้นพิเศษ ซึ่งถ้าหากใครไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกตอกกลับด้วยความเหนือกว่าของพวกเขาและจะถือว่าเป็นบุคคล "ที่สร้างปัญหา" หรือ "หัวแข็ง" อีกทั้งการต่อต้านจะเป็นการทำให้พวกเขาเสียความมั่นใจ อันก่อให้เกิดบาดแผลจากความหลงตนเอง (narcissistic injury) จนกลายเป็นความคลั่งจากความหลงตนเอง (narcissistic rage) ในที่สุด
  6. การหาผลประโยชน์ (Exploitation): สามารถมาได้ในหลายรูปแบบ แต่มักจะเกี่ยวข้องกับการหาผลประโยชน์จากผู้อื่นโดยที่ไม่คำนึงถึงความรู้สึกหรือความสนใจของคนเหล่านั้น ซึ่งผู้นั้นมักตกอยู่ในตำแหน่งที่ต้องยอมจำนนเนื่องมาจากเป็นการยากที่จะต่อต้าน ทำให้ในบางครั้งผู้จำนนต้องยอมเพียงแค่การแสร้งทำ การหาผลประโยชน์นี้อาจทำให้ความสัมพันธ์ไม่ยืนยาวและจบไปอย่างรวดเร็ว
  7. การไม่รู้ขอบเขตการปฏิบัติตน (Bad boundaries): นาร์ซิสซิสต์ไม่รู้ถึงขอบเขตในการกระทำของตน ทำให้ผู้อื่นตีตัวออกห่างและไม่ปฏิสัมพันธ์กับพวกเขา ใครก็ตามที่สนองความหลงตนเอง (narcissistic supply) แก่นาร์ซิสซิสต์จะถูกปฏิบัติตนเป็นเสมือนส่วนหนึ่งของพวกเขาและถูกคาดหวังให้เป็นไปตามความคาดหวังของพวกเขา ภายในจิตใจของนาร์ซิสซิสนั้นไม่มีขอบเขตการปฏิบัติตัวระหว่างตนเองและผู้อื่น

การสนองความหลงตนเอง

ดูบทความหลักที่: การสนองความหลงตนเอง

การสนองความหลงตนเอง (narcissistic supply) เป็นแนวคิดหนึ่งที่ถูกเสนอในทฤษฎีจิตวิเคราะห์โดยออตโต เฟนิเชล ในปี ค.ศ. 1938 ซึ่งอธิบายถึงลักษณะความชื่นชมยินดี การสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือการดำรงชีพไว้โดยบุคคลต่อสิ่งแวดล้อมและจำเป็นต่อความภาคภูมิใจในตนเอง โดยทั่วไปแล้วคำนี้มักใช้ในแง่ลบในการอธิบายบุคคลที่ควบคุมพฤติกรรมตนเองไม่ได้จนก่อให้เกิดความต้องการความสนใจหรือความชื่นชมยินดีที่ขึ้นกับผู้อื่นมากเกินไป โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึก ความคิดเห็น หรือความชอบของผู้อื่นเลย

บาดแผลและความคลั่งจากความหลงตนเอง

ดูบทความหลักที่: บาดแผลและความคลั่งจากความหลงตนเอง

ความคลั่งจากความหลงตนเอง (narcissistic rage) เป็นปฏิกิรินาที่เกิดจากบาดแผลความหลงตนเอง (narcissistic injury) ซึ่งเป็นการคุกคามความภาคภูมิใจในตนเองหรือการมีคุณค่าของตนเองที่นาร์ซิสซิสต์สามารถรับรู้ได้ โดยคำว่า บาดแผลความหลงตนเอง and แผลเป็นความหลงตนเอง เป็นคำที่ถูกใช้โดยซีคมุนท์ ฟร็อยท์ในปี ค.ศ. 1920s

ส่วนคำว่า ความคลั่งจากความหลงตนเอง ถูกคิดขึ้นมาโดยไฮนซ์ โคฮุตในปี ค.ศ. 1972 โดยบอกว่าความคลั่งจากความหลงตนเองจะเกิดขึ้นเมื่อผู้นั้นแสดงออกถึงความไม่เป็นมิตรอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นการแสดงออกถึงความรำคาญอย่างชัดเจน เป็นการระเบิดอารมณ์ออกมาอย่างรุนแรง และรวมไปถึงการใช้ความรุนแรงอีกด้วย

ปฎิกิริยาความคลั่งจากคความหลงตนเองไม่จำกัดอยู่แค่ในความผิดปกติทางบุคลิกภาพ ยังปรากฏอยู่ในคาตาโทเนีย โรคหลงผิด และภาวะซึมเศร้า มีการเสนอว่านาร์ซิสซิสต์มีความคลั่งอยู่ 2 ระดับ คือ ระดับแรกเป็นความคิดโกรธที่แน่วแน่ต่อผู้อื่น และระดับที่สองเป็นความโกรธแค้นตัวเอง

เชิงอรรถ

  1. เมกะโลเมเนีย (megalomania) คือ ความปรารถนาอันแรงกล้าที่ผิดธรรมชาติเพื่อต้องการอำนาจและการควบคุม หรือความเชื่อที่ว่าบุคคลมีความสำคัญและอำนาจมากกว่าความเป็นจริง โดยในบางครั้งอาจเป็นอาการป่วยทางจิต ซึ่ง สวทช. ได้ให้ความหมายไว้ว่า "ความรู้สึกว่าตัวเองมีอำนาจหรือมีความสำคัญ"

อ้างอิง

  1. Thai Word Repository คลังศัพท์ไทย โดยศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สืบค้นคำว่า narcissism)
  2. Cambridge English Dictionary (สืบค้นคำว่า narcissist)
  3. Cambridge English Dictionary (สืบค้นคำว่า megalomania)
  4. Collins English Dictionary (สืบค้นคำว่า megalomania)
  5. Thai Word Repository คลังศัพท์ไทย โดยศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สืบค้นคำว่า megalomania)
  6. Lowen, Alexander (1997) [1983]. Narcissism: Denial of the True Self. New York, NY: Touchstone. p. 45.
  7. Horton, R. S.; Bleau, G.; Drwecki, B. (2006). "Parenting Narcissus: What Are the Links Between Parenting and Narcissism?" (PDF). Journal of Personality. 74 (2): 345–76. CiteSeerX 10.1.1.526.7237. doi:10.1111/j.1467-6494.2005.00378.x. PMID 16529580. See p. 347.
  8. Hotchkiss, Sandy & Masterson, James F. Why Is It Always About You?: The Seven Deadly Sins of Narcissism (2003)
  9. Fenichel, Otto (1938). "The Drive to Amass Wealth" (PDF). They Psychoanalytic Quarterly. 7 (1): 69–95. doi:10.1080/21674086.1938.11925342.
  10. "StackPath". www.healthyplace.com. สืบค้นเมื่อ 2019-10-10.
  11. Salman Akhtar, Comprehensive Dictionary of Psychoanalysis (London 2009) p. 182
  12. Carl P. Malmquist (2006). Homicide: A Psychiatric Perspective. American Psychiatric Publishing, Inc. pp. 181–82. ISBN 978-1-58562-204-7.
  13. Vaknin, Sam, Malignant Self Love: Narcissism Revisited (1999).

ความหลงตนเอง, งกฤษ, narcissism, กล, มคนท, อาการน, เร, ยกว, นาร, สซ, สต, narcissist, อการแสวงหาความพ, งพอใจจากความทะนงตนหร, อการยกย, องว, าตนสำค, ญกว, าผ, เป, นแนวค, ดของทฤษฎ, ตว, เคราะห, psychoanalytic, theory, งถ, กแนะนำอย, างแพร, หลายจากเร, ยงความของซ, คม, น. khwamhlngtnexng 1 xngkvs narcissism klumkhnthimixakarnieriykwa narsissist narcissist 2 khuxkaraeswnghakhwamphungphxiccakkhwamthanngtnhruxkarykyxngwatnsakhykwaphuxun khwamhlngtnexngepnaenwkhidkhxngthvsdicitwiekhraah psychoanalytic theory sungthukaenanaxyangaephrhlaycakeriyngkhwamkhxngsikhmunth frxyth thichux xxn narsissisum On Narcissism 1914 odysmakhmcitewchsastrshrthxemrikaidcdraykarhmwdkhwamphidpktithangbukhlikphaphaebbhlngtwexnglngin khumuxkarwinicchyaelasthitisahrbkhwamphidpktithangcit DSM tngaetpi kh s 1968 sungepnkarichkhxmulcakaenwkhidthangprawtisastrkhxngxakaremkaolemeniy megalomania nb 1 khwamhlngtnexngyngthukykihepnpyhathangdansngkhmhruxwthnthrrm thngichepnpccyinthvsdilksnaxupnisy trait theory sungichinkarsrangaebbthdsxbbukhlikphaphtang echn aebbthdsxbmillxn khlinikhl mltiaexkesiyl xinewnthxri Millon Clinical Multiaxial Inventory xikthngepnhnunginsamlksnabukhlikphaphdanmud dark triad sungxiksxngxyangkhux isokhphath aela aemekhiyewleliynisum aelakhwamhlngtnexngsungykewnkarhlngtnexnginrayaebuxngtnhruxkarrktwexng mkthukykihepnpyhaindankhwamsmphnthrahwangbukhkhlhruxrahwangklum enuxha 1 lksnaaelasyyan 1 1 7 phvtikrrmrayaerngkhxngkhwamhlngtnexng 2 karsnxngkhwamhlngtnexng 3 badaephlaelakhwamkhlngcakkhwamhlngtnexng 4 echingxrrth 5 xangxinglksnaaelasyyan aekikhchiwitkhuxewthilakhr emuxmanpidlnginkaraesdng nnkhuxkaraesdngnnsinsudaelacathuklumip aelakhwamwangeplakhxngchiwitnnmnekinkwacacintnakarid xaelksanedxr olewn xthibaykardarngxyukhxngnarsissist 6 twaeprbukhlikphaphkhxngnarsissistaebngepn 4 lksna dngni khwamepnphuna karmixanac khwamehnuxkwa khwamthanngtn khwamhmkmunxyuaettnexng karykyxtnexng aelakarhaphlpraoychn karmisiththi 7 7 phvtikrrmrayaerngkhxngkhwamhlngtnexng aekikh citaephthyaehtchkhissaelaecms exf masetxrsn rabusingthiphwkekhaeriykwa 7 phvtikrrmrayaerngkhxngkhwamhlngtnexng iwdngtxipni 8 khwamimlaxay Shamelessness narsissismkphumiicinkhwamimlaxayxyangepidephy khux phwkekhaimphukxarmnipkbkhwamtxngkaraelakhwamprathnakhxngphuxun narsissistekliydkhwamxbxaykhayhna ephraamnhmaythungphwkekhaimsmburnaebbaelatxngepliynaeplng narsissistchxbkhwamrusukphidmakkwakhwamxbxay ephraakhwamrusukphidsamarththaihphwkekhaaeykrahwangkarkrathakbectnaxxkcakknid twxyangechn thungaemkarkrathaxaccaphid aetthaipephraamiectnathidi khwamkhidechingisysastr Magical thinking nasissistehntnexngepnkhnthismburnaebbodyichkarbidebuxnaelasrangsinglwngtathieriykwakhwamkhidechingisysastr xikthngphwkekhayngichinkarpxngkntnephux oyn khwamxbxaykhayhnaipsuphuxun khwamthanngtn Arrogance narsissistthirusukwakalngsuyesiykhwamsakhy xac ephimkhwammnicinkhwamkhidthiwatnexngsakhy odykarkdphuxunihtalng ldkhunkhakhxngphuxun hruxthaihphuxunxbxaykhayhna khwamxiccharisya Envy narsissistxackhngiwsungkhwamkhidthiwatnehnuxkwaphuxunodykarduthukehyiydhyamhruxduthukkhwamsaesrckhxngphuxun karmisiththi Entitlement nasissistyudthuxkhwamkhadhwngsungimsmehtusmthiwaphuxuncaptibtitwepnxyangdikbphwkekhaaelaechuxfngthuksingxyang ephraaphwkekhakhidwaphwkekhannphiess sungthahakikhrimptibtitamcatxngthuktxkklbdwykhwamehnuxkwakhxngphwkekhaaelacathuxwaepnbukhkhl thisrangpyha hrux hwaekhng xikthngkartxtancaepnkarthaihphwkekhaesiykhwammnic xnkxihekidbadaephlcakkhwamhlngtnexng narcissistic injury cnklayepnkhwamkhlngcakkhwamhlngtnexng narcissistic rage inthisud karhaphlpraoychn Exploitation samarthmaidinhlayrupaebb aetmkcaekiywkhxngkbkarhaphlpraoychncakphuxunodythiimkhanungthungkhwamrusukhruxkhwamsnickhxngkhnehlann sungphunnmktkxyuintaaehnngthitxngyxmcannenuxngmacakepnkaryakthicatxtan thaihinbangkhrngphucanntxngyxmephiyngaekhkaraesrngtha karhaphlpraoychnnixacthaihkhwamsmphnthimyunyawaelacbipxyangrwderw karimrukhxbekhtkarptibtitn Bad boundaries narsissistimruthungkhxbekhtinkarkrathakhxngtn thaihphuxuntitwxxkhangaelaimptismphnthkbphwkekha ikhrktamthisnxngkhwamhlngtnexng narcissistic supply aeknarsissistcathukptibtitnepnesmuxnswnhnungkhxngphwkekhaaelathukkhadhwngihepniptamkhwamkhadhwngkhxngphwkekha phayincitickhxngnarsissisnnimmikhxbekhtkarptibtitwrahwangtnexngaelaphuxunkarsnxngkhwamhlngtnexng aekikhdubthkhwamhlkthi karsnxngkhwamhlngtnexng karsnxngkhwamhlngtnexng narcissistic supply epnaenwkhidhnungthithukesnxinthvsdicitwiekhraahodyxxtot efniechl inpi kh s 1938 sungxthibaythunglksnakhwamchunchmyindi karsnbsnunkhwamsmphnthrahwangbukhkhl hruxkardarngchiphiwodybukhkhltxsingaewdlxmaelacaepntxkhwamphakhphumiicintnexng 9 odythwipaelwkhanimkichinaenglbinkarxthibaybukhkhlthikhwbkhumphvtikrrmtnexngimidcnkxihekidkhwamtxngkarkhwamsnichruxkhwamchunchmyindithikhunkbphuxunmakekinip odyimkhanungthungkhwamrusuk khwamkhidehn hruxkhwamchxbkhxngphuxunely 10 badaephlaelakhwamkhlngcakkhwamhlngtnexng aekikhdubthkhwamhlkthi badaephlaelakhwamkhlngcakkhwamhlngtnexng khwamkhlngcakkhwamhlngtnexng narcissistic rage epnptikirinathiekidcakbadaephlkhwamhlngtnexng narcissistic injury sungepnkarkhukkhamkhwamphakhphumiicintnexnghruxkarmikhunkhakhxngtnexngthinarsissistsamarthrbruid odykhawa badaephlkhwamhlngtnexng and aephlepnkhwamhlngtnexng epnkhathithukichodysikhmunth frxythinpi kh s 1920s 11 swnkhawa khwamkhlngcakkhwamhlngtnexng thukkhidkhunmaodyihns okhhutinpi kh s 1972 odybxkwakhwamkhlngcakkhwamhlngtnexngcaekidkhunemuxphunnaesdngxxkthungkhwamimepnmitrxyangtxenuxng odyepnkaraesdngxxkthungkhwamrakhayxyangchdecn epnkarraebidxarmnxxkmaxyangrunaerng aelarwmipthungkarichkhwamrunaerngxikdwy 12 pdikiriyakhwamkhlngcakkhkhwamhlngtnexngimcakdxyuaekhinkhwamphidpktithangbukhlikphaph yngpraktxyuinkhataotheniy orkhhlngphid aelaphawasumesra 12 mikaresnxwanarsissistmikhwamkhlngxyu 2 radb khux radbaerkepnkhwamkhidokrththiaenwaentxphuxun aelaradbthisxngepnkhwamokrthaekhntwexng 13 echingxrrth aekikh emkaolemeniy megalomania khux khwamprarthnaxnaerngklathiphidthrrmchatiephuxtxngkarxanacaelakarkhwbkhum hruxkhwamechuxthiwabukhkhlmikhwamsakhyaelaxanacmakkwakhwamepncring odyinbangkhrngxacepnxakarpwythangcit 3 4 sung swthch idihkhwamhmayiwwa khwamrusukwatwexngmixanachruxmikhwamsakhy 5 xangxing aekikh Thai Word Repository khlngsphthithy odysunybrikarkhwamruthangwithyasastraelaethkhonolyi subkhnkhawa narcissism Cambridge English Dictionary subkhnkhawa narcissist Cambridge English Dictionary subkhnkhawa megalomania Collins English Dictionary subkhnkhawa megalomania Thai Word Repository khlngsphthithy odysunybrikarkhwamruthangwithyasastraelaethkhonolyi subkhnkhawa megalomania Lowen Alexander 1997 1983 Narcissism Denial of the True Self New York NY Touchstone p 45 Horton R S Bleau G Drwecki B 2006 Parenting Narcissus What Are the Links Between Parenting and Narcissism PDF Journal of Personality 74 2 345 76 CiteSeerX 10 1 1 526 7237 doi 10 1111 j 1467 6494 2005 00378 x PMID 16529580 See p 347 Hotchkiss Sandy amp Masterson James F Why Is It Always About You The Seven Deadly Sins of Narcissism 2003 Fenichel Otto 1938 The Drive to Amass Wealth PDF They Psychoanalytic Quarterly 7 1 69 95 doi 10 1080 21674086 1938 11925342 StackPath www healthyplace com subkhnemux 2019 10 10 Salman Akhtar Comprehensive Dictionary of Psychoanalysis London 2009 p 182 12 0 12 1 Carl P Malmquist 2006 Homicide A Psychiatric Perspective American Psychiatric Publishing Inc pp 181 82 ISBN 978 1 58562 204 7 Vaknin Sam Malignant Self Love Narcissism Revisited 1999 bthkhwamekiywkbmnusy manusywithya aelaeruxngthiekiywkhxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamhlngtnexng amp oldid 8617424, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม