fbpx
วิกิพีเดีย

ฆฤษเณศวรมนเทียร

ฆฤษเณศวรชโยติรลึงคมนเทียร (อังกฤษ: Grishneshwar Jyotirlinga Temple) หรือมักเรียกว่า ฆฤษเณศวร (Ghrneshwar) หรือ ธุศเมศวรมนเทียร (Dhushmeshwar Temple) เป็นหนึ่งในโบสถ์พราหมณ์ที่บูชาพระศิวะที่มีระบุไว้ในศิวปุราณะ คำว่า ฆฤษเณศวร แปลว่าจ้าวเเห่งความเห็นอกเห็นใจ ("lord of compassion") มนเทียรนี้เป็นสถานที่แสวงบุญสำคัญของศาสนิกชนฮินดูผู้นับถือลัทธิไศวะ ที่ซึ่งเชื่อว่ามนเทียรนี้เป็นมนเทียรสุดท้ายในสิบสองมนเทียรพระศิวะ “ชโยติรลึงค์” (Jyotirlinga; ลึงค์แห่งแสงสว่าง) ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากถ้ำเอลโลรา แหล่งมรดกโลกของยูเนสโกซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปไม่ถึงหนึ่งกิโลเมตร มนเทียรนี้ตั้งอยู่ 30 กิโลเมตร (19 ไมล์) ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองออรังคาบาด หรือประมาณ 300 กิโลเมตร (190 ไมล์) ทางจะวันออกของมุมไบ

ฆฤษเณศวร ชโยติรลึงค์ มนเทียร (Grishneshwar Jyotirlinga Temple)
घृष्णेश्वर ज्योतिर्लिंग मंदिर
ศาสนา
ศาสนาศาสนาฮินดู
เขตอำเภอออรังคาบาด
เทพพรพศรีฆฤษเณศวร (พระศิวะ)
เทศกาลมหาศิวราตรี
ที่ตั้ง
ที่ตั้งออรังคาบาด
รัฐรัฐมหาราษฏระ
ประเทศประเทศอินเดีย
ที่ตั้งในรัฐมหาราษฏระ
พิกัดภูมิศาสตร์20°1′29.9″N 75°10′11.7″E / 20.024972°N 75.169917°E / 20.024972; 75.169917พิกัดภูมิศาสตร์: 20°1′29.9″N 75°10′11.7″E / 20.024972°N 75.169917°E / 20.024972; 75.169917
สถาปัตยกรรม
ประเภทเหมัทปันถี (Hemadpanthi)

สิ่งก่อสร้างของมนเทียรนี้ถูกทำลายโดยรัฐสุลต่านเดลีในช่วงศตวรรษที่ 13 และ 14 ก่อนที่จะมีการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ และถูกทำลายอีกหลายครั้ง โดยเฉพาะในสมัยความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิโมกุลกับมราฐา โครงสร้างปัจจุบันนี้เป็นการบูรณะปฏิสังขรณ์ในศตวรรษที่ 18 ภายใต้การสนับสนุนของมหาราณี Ahilyabai Holkar แห่งอินโดร์ ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิโมกุล ในปัจจุบันที่นี่ยังคงเป็นศาสนสถานสำคัญของชาวฮินดู มีศาสนิกชนเข้ามาสักการะอย่างไม่ขาดสาย ผู้เยี่ยมชมสามารถเข้าไปภายในโถงต่าง ๆ รวมถึงครรภคฤห์ด้วย โดยมีเพียงข้อแม้เดียวคือเมื่อผู้ชายเข้าไปภายในโถงด้านในสุด (ครรภคฤห์; garbha-ghrya) จะต้องเปลือยอกเข้าไปตามธรรมเนียม

อ้างอิง

  1. Grishneshwar Aurangabad GPS 11 กันยายน 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Govt of Maharashtra
  2. Lochtefeld 2002, p. 247.
  3. Swati Mitra (2011). Omkareshwar and Maheshwar. Goodearth Publications. p. 25. ISBN 978-93-80262-24-6.
  4. Bruce Norman (1988). Footsteps: Nine Archaeological Journeys of Romance and Discovery. Salem. pp. 99–100. ISBN 978-0-88162-324-6.

บรรณานุกรม

  • Eck, Diana L. (1999). Banaras, city of light (First ed.). New York: Columbia University Press. ISBN 0-231-11447-8.
  • Gwynne, Paul (2009). World Religions in Practice: A Comparative Introduction. Oxford: Blackwell Publication. ISBN 978-1-4051-6702-4..
  • Lochtefeld, James G. (2002), The Illustrated Encyclopedia of Hinduism: A-M, Rosen Publishing Group, p. 122, ISBN 0-8239-3179-X

ฆฤษเณศวรมนเท, ยร, ฆฤษเณศวรชโยต, รล, งคมนเท, ยร, งกฤษ, grishneshwar, jyotirlinga, temple, หร, อม, กเร, ยกว, ฆฤษเณศวร, ghrneshwar, หร, ศเมศวรมนเท, ยร, dhushmeshwar, temple, เป, นหน, งในโบสถ, พราหมณ, ชาพระศ, วะท, ระบ, ไว, ในศ, วป, ราณะ, คำว, ฆฤษเณศวร, แปลว, าจ, า. khvsenswrchoytirlungkhmnethiyr xngkvs Grishneshwar Jyotirlinga Temple hruxmkeriykwa khvsenswr Ghrneshwar hrux thusemswrmnethiyr Dhushmeshwar Temple epnhnunginobsthphrahmnthibuchaphrasiwathimirabuiwinsiwpurana 2 3 khawa khvsenswr aeplwacaweehngkhwamehnxkehnic lord of compassion 2 mnethiyrniepnsthanthiaeswngbuysakhykhxngsasnikchnhinduphunbthuxlththiiswa thisungechuxwamnethiyrniepnmnethiyrsudthayinsibsxngmnethiyrphrasiwa choytirlungkh Jyotirlinga lungkhaehngaesngswang 4 thitngxyuimiklcakthaexlolra aehlngmrdkolkkhxngyuensoksungtngxyuhangxxkipimthunghnungkiolemtr mnethiyrnitngxyu 30 kiolemtr 19 iml thangtawntkechiyngehnuxkhxngemuxngxxrngkhabad hruxpraman 300 kiolemtr 190 iml thangcawnxxkkhxngmumibkhvsenswr choytirlungkh mnethiyr Grishneshwar Jyotirlinga Temple घ ष ण श वर ज य त र ल ग म द रsasnasasnasasnahinduekhtxaephxxxrngkhabadethphphrphsrikhvsenswr phrasiwa ethskalmhasiwratrithitngthitngxxrngkhabadrthrthmharastrapraethspraethsxinediythitnginrthmharastra 1 phikdphumisastr20 1 29 9 N 75 10 11 7 E 20 024972 N 75 169917 E 20 024972 75 169917 phikdphumisastr 20 1 29 9 N 75 10 11 7 E 20 024972 N 75 169917 E 20 024972 75 169917sthaptykrrmpraephthehmthpnthi Hemadpanthi singkxsrangkhxngmnethiyrnithukthalayodyrthsultanedliinchwngstwrrsthi 13 aela 14 kxnthicamikarptisngkhrnkhunihm aelathukthalayxikhlaykhrng odyechphaainsmykhwamkhdaeyngrahwangckrwrrdiomkulkbmratha okhrngsrangpccubnniepnkarburnaptisngkhrninstwrrsthi 18 phayitkarsnbsnunkhxngmharani Ahilyabai Holkar aehngxinodr phayhlngkarlmslaykhxngckrwrrdiomkul 4 inpccubnthiniyngkhngepnsasnsthansakhykhxngchawhindu misasnikchnekhamaskkaraxyangimkhadsay phueyiymchmsamarthekhaipphayinothngtang rwmthungkhrrphkhvhdwy odymiephiyngkhxaemediywkhuxemuxphuchayekhaipphayinothngdaninsud khrrphkhvh garbha ghrya catxngepluxyxkekhaiptamthrrmeniym 2 xangxing aekikh Grishneshwar Aurangabad GPS Archived 11 knyayn 2013 thi ewyaebkaemchchin Govt of Maharashtra 2 0 2 1 2 2 Lochtefeld 2002 p 247 Swati Mitra 2011 Omkareshwar and Maheshwar Goodearth Publications p 25 ISBN 978 93 80262 24 6 4 0 4 1 Bruce Norman 1988 Footsteps Nine Archaeological Journeys of Romance and Discovery Salem pp 99 100 ISBN 978 0 88162 324 6 brrnanukrm aekikh Eck Diana L 1999 Banaras city of light First ed New York Columbia University Press ISBN 0 231 11447 8 Gwynne Paul 2009 World Religions in Practice A Comparative Introduction Oxford Blackwell Publication ISBN 978 1 4051 6702 4 Lochtefeld James G 2002 The Illustrated Encyclopedia of Hinduism A M Rosen Publishing Group p 122 ISBN 0 8239 3179 Xekhathungcak https th wikipedia org w index php title khvsenswrmnethiyr amp oldid 8903316, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม