fbpx
วิกิพีเดีย

ชาวซัมซัม

ซัมซัม (มลายู: Samsam) เป็นคำที่ใช้สำหรับเรียกกลุ่มชนลูกผสมระหว่างชาวไทยสยามกับชาวมลายู หรือชาวจีนกับสยาม หรือกับชาวสยามกับชนเผ่าพื้นเมืองอื่น ๆ ในคาบสมุทรมลายู พบมากในรัฐเกอดะฮ์และปะลิส ประเทศมาเลเซีย และตามจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดตรัง, พังงา, สงขลา และสตูล โดยเป็นประชากรส่วนใหญ่ของชาวมุสลิมจังหวัดสตูลและสงขลา พวกเขามีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่างไทยและมลายู ที่โดดเด่นที่สุดคือการใช้ภาษาไทยและนับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีบางส่วนที่ยังนับถือหรือเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธ

ซัมซัม
ประชากรทั้งหมด
ไม่ทราบ
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 มาเลเซีย : รัฐเกอดะฮ์และปะลิส
 ไทย : จังหวัดสตูลและสงขลา
ภาษา
ภาษาไทย (ถิ่นใต้ · ถิ่นสะกอม · ถิ่นพิเทน) · ภาษามลายู
ศาสนา
อิสลาม · พุทธ
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
มาเลเซียเชื้อสายสยาม · ไทยเชื้อสายมลายู · มลายู

ศัพทมูลวิทยา

Achaimbault สันนิษฐานว่า "ซัมซัม" (Samsam) มาจากคำฮกเกี้ยนว่า "tcham tcham" แปลว่า "ผสม" หรือ "รวม"

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเข้าพระทัยว่า "ซัมซัม" เพี้ยนจากคำว่า "อิสลามสยาม"

โดยชื่อซัมซัมเป็นชื่อที่ชาวไทยพุทธและชาวมลายูมุสลิมใช้เรียกเพื่อให้เกิดความแตกต่าง แต่คนท้องถิ่นบางส่วนไม่ยอมรับเพราะมองว่าเป็นคำเหยียดหยัน ในประเทศมาเลเซียแบ่งซัมซัมออกเป็นสองกลุ่มคือซียัมซัมซัม (Siam Samsam) คือกลุ่มชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ และมาเลย์ซัมซัม (Malay Samsam) คือกลุ่มชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม

ทั้งนี้หากถามว่าพวกเขาเป็นคนเชื้อสายอะไร พวกเขาจะตอบว่า "ไทย" หรือ "มลายู" อย่างใดอย่างหนึ่ง

ประวัติ

ชาวไทยสยามได้อพยพลงสู่คาบสมุทรมลายูและตั้งถิ่นฐานอยู่มาช้านาน ใน ตำนานมะโรงมหาวงศ์ อธิบายไว้ว่าชาวสยามเป็นชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่มานาน และในตำนานยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทรบุรีกับสยามอย่างแน่นแฟ้นว่า พระยามะโรงมหาโพธิสัตว์ กษัตริย์แห่งไทรบุรี ส่งพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ชื่อพระชีสาม (Pra Chi Sam) และนางสุตตมาน (Nang Suttaman) พระชายา ไปปกครองประเทศสยามล้านช้าง (Siam Lanchang) ซึ่งในรัฐเกอดะฮ์หรือไทรบุรีก็มีหลักฐานการตั้งชุมชนของชาวสยามดำรงอยู่มานานไม่ต่ำกว่า 500 ปี โดยชาวซัมซัมคือกลุ่มชนที่เป็นลูกผสมระหว่างชาวไทยสยามกับชาวมลายู หรือชาวจีนกับสยาม หรือกับชาวสยามกับชนเผ่าพื้นเมืองอื่น ๆ ในคาบสมุทรมลายู

Achaimbault สันนิษฐานว่าชาวซัมซัมมีบรรพบุรุษเป็นชาวสยามซึ่งเป็นชนพื้นเมืองที่ตั้งถิ่นฐานในลังกาสุกะ (Langkasuka) และลิกอร์ (Ligor) มาแต่ดั้งเดิม ส่วนอัซมัน วัน จิก์ (Azman Wan Chik) และซาฮาระฮ์ มะฮ์มุด (Zaharah Mahmud) สันนิษฐานบรรพบุรุษของชาวซัมซัมคือชาวมลายูปัตตานีจากเมืองจือเนาะ (Chenok) รามัน (Raman) ตีบอ (Tiba) ปาตานี (Patani) และเซอตุล (Setul)

จอห์น ครอว์เฟิร์ด หรือยอน การะฝัด เคยเขียนถึงชาวซัมซัมเมื่อปี พ.ศ. 2369 ไว้ว่า "ซัมซัมคือคนเชื้อชาติสยามที่หันมารับศาสนาพระโมฮะหมัดและพูดภาษาซึ่งผสมจากภาษาของคนสองเชื้อชาติ" พวกเขาเติบโตมากับความคุ้นเคยหรือความเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมอย่างไทยพุทธ เช่น ภาษา นิสัยทางวัฒนธรรม สังคม โดยเฉพาะการเต้นรำหรือการแสดงหนังตะลุง และถูกเชื่อมด้วยศาสนาอิสลามจากการแต่งงาน จากการสำรวจสำมะโนครัวประชากรในรัฐเกอดะฮ์เมื่อ พ.ศ. 2454 พบว่ามีประชากรมากกว่า 14,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.5 ของประชากรทั้งรัฐ ถูกจัดเป็นชาวซัมซัม

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์มีพระราโชบายสำหรับการรวมชาติให้สยามเป็นปึกแผ่นและทันสมัยพอที่จะต่อต้านการคุกคามจากชาติมหาอำนาจ และมีพระราชประสงค์ให้ชาวมลายูในปัตตานีรู้สึกถึงอัตลักษณ์ของความเป็นชาติ ทรงกล่าวว่า "แม้ว่าเป็นชาวมลายูและมีความเชื่อทางศาสนาที่ต่างกัน แต่ก็เป็นชาวไทยในจิตสำนึกและทัศนคติเช่นเดียวกับพลเมืองอื่น ๆ ได้..." การนี้พระองค์ทรงตั้งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ซึ่งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงตระหนักว่าสยามมิได้ประกอบขึ้นจากชาติเดี่ยว หากแต่ประกอบด้วยประชากรหลายชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงปลูกฝังอัตลักษณ์พลเมืองไทยในพระนิพนธ์เรื่อง "ลักษณะการปกครองประเทศสยามแต่โบราณ" ระบุลักษณะสามประการของ "คนไทย" คือ ความรักในอธิปไตยแห่งชาติ ความยุติธรรม และความสามารถในการประสานผลประโยชน์ที่ต่างกันเพื่อความเจริญของชาติ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำลัทธิชาตินิยมมาใช้ โดยทรงใช้คำขวัญว่า "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" เป็นอัตลักษณ์ใหม่ของคนไทย โดยชาติหมายถึงสยามที่มีคนชาติไทยเป็นส่วนใหญ่ ศาสนาหมายถึงศาสนาพุทธ และพระมหากษัตริย์หมายถึงผู้สืบราชบัลลังก์และตัวแทนแห่งราชวงศ์จักรี ซึ่งอัตลักษณ์ดังกล่าวทำให้ชาวมลายูมุสลิมแถบสามจังหวัดชายแดนรู้สึกถูกคุกคามจากรัฐบาลไทย จึงพยายามแยกตัว เรียกร้องเอกราช และต่อต้านอำนาจรัฐไทย

ขณะที่ชาวซัมซัมในจังหวัดสตูลและสงขลาต่างไปจากสามจังหวัด เพราะพวกเขามีบรรพบุรุษเลือดผสมจากไทยและมลายู แม้จะนับถือศาสนาอิสลามแต่ยังรักษาวัฒนธรรมไทยได้ในหลายมิติ โดยเฉพาะภาษาที่ใช้ภาษาไทยเป็นพื้น และหลายคนพูดภาษามลายูไทรบุรีไม่ได้เลย ความอดทนอดกลั้นต่อนโยบายที่ไม่เหมาะสมของรัฐบาลไทยของชาวซัมซัมในสตูลและสงขลา ทำให้พวกเขาได้รับความไว้วางใจจากส่วนกลาง และกลายเป็นบทเรียนแก่รัฐบาลไทยในการทำเพื่อส่วนรวม

วัฒนธรรม

ภาษา

ชาวซัมซัมในจังหวัดสตูลและสงขลาส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยถิ่นใต้ และมีจำนวนน้อยมากที่ใช้ภาษามลายูไทรบุรี แต่จะพบคำมลายูหลงเหลือตามชื่อสถานที่ต่าง ๆ โดยชาวมุสลิมในจังหวัดสตูลและสงขลากว่าร้อยละ 90 ใช้ภาษาไทยถิ่นใต้เป็นภาษาแม่

นอกจากนี้ยังมีภาษาท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมที่เป็นลูกผสมกับชาวมลายู คือภาษาสะกอมในอำเภอจะนะและเทพา จังหวัดสงขลา และภาษาพิเทนในอำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

ขณะที่ชาวซัมซัมบนเกาะลังกาวีรุ่นใหม่เลิกพูดภาษาไทยแล้ว แต่ก็พอมีความรู้เกี่ยวกับคำไทยบ้าง

ศาสนา

ชาวซัมซัมส่วนหนึ่งที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวสยามแต่งงานกับชาวมลายูมุสลิมก็จะเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม แต่ก็มีชาวมลายูมุสลิมบางส่วนแต่งงานกับชาวไทยพุทธและเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธ

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Mahamed, Noriah (2559). "Hybrid Language and Identity among the Samsam, Baba Nyonya and Jawi Peranakan Communities in North Peninsular Malaysia" (PDF). Kemanusiaan Vol. 23 (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2561. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  2. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 182
  3. ตำนานมะโรงมหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี, หน้า 4-5
  4. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 183
  5. ตำนานมะโรงมหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี, หน้า 93-97
  6. บุญยงค์ เกศเกศ และนิพนธ์ ทิพย์ศรีนิมิต (มกราคม 2547). "กินเมืองคอน นอนเมืองไทร สำนึกไทยแผ่นดินเกิด". สารคดี (19:227), หน้า 70
  7. Thatsanawadi Kaeosanit (2016). (PDF). A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy (Communication Arts and Innovation). p. 354-355. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 24 October 2019. สืบค้นเมื่อ 24 October 2019 – โดยทาง Graduate School of Communication Arts and Management Innovation, National Institute of Development Administration, Thailand.
  8. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 181
  9. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 185-186
  10. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 187
  11. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 188
  12. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 192-193
  13. Arifin bin Chik (1 เมษายน 2550). "ปัญหา สตูล ปัตตานี กับวัฒนธรรมที่กำลังถูกทำลาย". มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2561. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  14. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 195
  15. ประพนธ์ เรืองณรงค์. "บทผนวกเกียรติยศ". รัฐปัตตานีใน "ศรีวิชัย" เก่าแก่กว่ารัฐสุโขทัยในประวัติศาสตร์, หน้า 356-357
  16. กอบเกื้อ สุวรรณทัต-เพียร. "อัตลักษณ์แห่งชาติ ซัม-ซัมในจังหวัดสตูลและชาวไทยมลายูมุสลิม". ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, หน้า 179
  17. ทวีพร จุลวรรณ (2559). "ระบบเสียงภาษาพิเทน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี" (PDF). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2561. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
บรรณานุกรม
  • มอนซาติโน, ไมเคิล เจ. ไทยใต้ มลายูเหนือ : ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย. นครศรีธรรมราช : ศูนย์หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2560. 416 หน้า. ISBN 978-974-7557-60-2
  • ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์. ตำนานมะโรงมหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี. กรุงเทพฯ : เดอะโนว์เลจเซ็นเตอร์, 2550. 317 หน้า. ISBN 978-974-13-3518-3
  • สุจิตต์ วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). รัฐปัตตานีใน "ศรีวิชัย" เก่าแก่กว่ารัฐสุโขทัยในประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : มติชน, 2547. 387 หน้า.

ชาวซ, มซ, มซ, มลาย, samsam, เป, นคำท, ใช, สำหร, บเร, ยกกล, มชนล, กผสมระหว, างชาวไทยสยามก, บชาวมลาย, หร, อชาวจ, นก, บสยาม, หร, อก, บชาวสยามก, บชนเผ, าพ, นเม, องอ, ในคาบสม, ทรมลาย, พบมากในร, ฐเกอดะฮ, และปะล, ประเทศมาเลเซ, และตามจ, งหว, ดภาคใต, ของประเทศไทย, เช, . smsm mlayu Samsam epnkhathiichsahrberiykklumchnlukphsmrahwangchawithysyamkbchawmlayu hruxchawcinkbsyam hruxkbchawsyamkbchnephaphunemuxngxun inkhabsmuthrmlayu 1 phbmakinrthekxdahaelapalis praethsmaelesiy aelatamcnghwdphakhitkhxngpraethsithy echn cnghwdtrng phngnga sngkhla aelastul 2 odyepnprachakrswnihykhxngchawmuslimcnghwdstulaelasngkhla 3 phwkekhamixtlksnthangwthnthrrmthiphsmphsanrahwangithyaelamlayu thioddednthisudkhuxkarichphasaithyaelanbthuxsasnaxislam 1 4 aetkmibangswnthiyngnbthuxhruxepliynipnbthuxsasnaphuthth 1 smsmprachakrthnghmdimthrabphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhy maelesiy rthekxdahaelapalis ithy cnghwdstulaelasngkhlaphasaphasaithy thinit thinsakxm thinphiethn phasamlayusasnaxislam phuththklumchatiphnthuthiekiywkhxngmaelesiyechuxsaysyam ithyechuxsaymlayu mlayu enuxha 1 sphthmulwithya 2 prawti 3 wthnthrrm 3 1 phasa 3 2 sasna 4 xangxingsphthmulwithya aekikhAchaimbault snnisthanwa smsm Samsam macakkhahkekiynwa tcham tcham aeplwa phsm hrux rwm 1 smedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaphthrngekhaphrathywa smsm ephiyncakkhawa xislamsyam 2 odychuxsmsmepnchuxthichawithyphuththaelachawmlayumuslimicheriykephuxihekidkhwamaetktang 2 aetkhnthxngthinbangswnimyxmrbephraamxngwaepnkhaehyiydhyn 3 inpraethsmaelesiyaebngsmsmxxkepnsxngklumkhuxsiymsmsm Siam Samsam khuxklumchawithythinbthuxsasnaphuthth aelamaelysmsm Malay Samsam khuxklumchawithythinbthuxsasnaxislam 1 thngnihakthamwaphwkekhaepnkhnechuxsayxair phwkekhacatxbwa ithy hrux mlayu xyangidxyanghnung 1 prawti aekikhchawithysyamidxphyphlngsukhabsmuthrmlayuaelatngthinthanxyumachanan in tananmaorngmhawngs xthibayiwwachawsyamepnchnphunemuxngthixasyxyumanan 3 aelaintananyngklawthungkhwamsmphnthrahwangithrburikbsyamxyangaennaefnwa phrayamaorngmhaophthistw kstriyaehngithrburi sngphrarachoxrsphraxngkhihychuxphrachisam Pra Chi Sam aelanangsuttman Nang Suttaman phrachaya ippkkhrxngpraethssyamlanchang Siam Lanchang 5 sunginrthekxdahhruxithrburikmihlkthankartngchumchnkhxngchawsyamdarngxyumananimtakwa 500 pi 6 odychawsmsmkhuxklumchnthiepnlukphsmrahwangchawithysyamkbchawmlayu hruxchawcinkbsyam hruxkbchawsyamkbchnephaphunemuxngxun inkhabsmuthrmlayu 1 Achaimbault snnisthanwachawsmsmmibrrphburusepnchawsyamsungepnchnphunemuxngthitngthinthaninlngkasuka Langkasuka aelalikxr Ligor maaetdngedim 1 swnxsmn wn cik Azman Wan Chik aelasaharah mahmud Zaharah Mahmud snnisthanbrrphburuskhxngchawsmsmkhuxchawmlayupttanicakemuxngcuxenaa Chenok ramn Raman tibx Tiba patani Patani aelaesxtul Setul 1 cxhn khrxwefird hruxyxn karafd ekhyekhiynthungchawsmsmemuxpi ph s 2369 iwwa smsmkhuxkhnechuxchatisyamthihnmarbsasnaphraomhahmdaelaphudphasasungphsmcakphasakhxngkhnsxngechuxchati 2 phwkekhaetibotmakbkhwamkhunekhyhruxkhwamekiywphnkbwthnthrrmxyangithyphuthth echn phasa nisythangwthnthrrm sngkhm odyechphaakaretnrahruxkaraesdnghnngtalung aelathukechuxmdwysasnaxislamcakkaraetngngan 4 cakkarsarwcsamaonkhrwprachakrinrthekxdahemux ph s 2454 phbwamiprachakrmakkwa 14 000 khn hruxkhidepnrxyla 7 5 khxngprachakrthngrth thukcdepnchawsmsm 7 inrchsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw phraxngkhmiphraraochbaysahrbkarrwmchatiihsyamepnpukaephnaelathnsmyphxthicatxtankarkhukkhamcakchatimhaxanac aelamiphrarachprasngkhihchawmlayuinpttanirusukthungxtlksnkhxngkhwamepnchati thrngklawwa aemwaepnchawmlayuaelamikhwamechuxthangsasnathitangkn aetkepnchawithyincitsanukaelathsnkhtiechnediywkbphlemuxngxun id 8 karniphraxngkhthrngtngsmedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaphepnrthmntrikrathrwngmhadithy sungsmedckrmphrayadarngrachanuphaphthrngtrahnkwasyammiidprakxbkhuncakchatiediyw hakaetprakxbdwyprachakrhlaychatiphnthuaelawthnthrrm dwyehtuniphraxngkhcungplukfngxtlksnphlemuxngithyinphraniphntheruxng lksnakarpkkhrxngpraethssyamaetobran rabulksnasamprakarkhxng khnithy khux khwamrkinxthipityaehngchati khwamyutithrrm aelakhwamsamarthinkarprasanphlpraoychnthitangknephuxkhwamecriykhxngchati 9 khrninrchsmyphrabathsmedcphramngkudeklaecaxyuhw thrngnalththichatiniymmaich odythrngichkhakhwywa chati sasna aelaphramhakstriy epnxtlksnihmkhxngkhnithy odychatihmaythungsyamthimikhnchatiithyepnswnihy sasnahmaythungsasnaphuthth aelaphramhakstriyhmaythungphusubrachbllngkaelatwaethnaehngrachwngsckri sungxtlksndngklawthaihchawmlayumuslimaethbsamcnghwdchayaednrusukthukkhukkhamcakrthbalithy 10 cungphyayamaeyktw eriykrxngexkrach 11 aelatxtanxanacrthithy 8 khnathichawsmsmincnghwdstulaelasngkhlatangipcaksamcnghwd ephraaphwkekhamibrrphburuseluxdphsmcakithyaelamlayu aemcanbthuxsasnaxislamaetyngrksawthnthrrmithyidinhlaymiti 12 odyechphaaphasathiichphasaithyepnphun aelahlaykhnphudphasamlayuithrburiimidely 13 khwamxdthnxdklntxnoybaythiimehmaasmkhxngrthbalithykhxngchawsmsminstulaelasngkhla thaihphwkekhaidrbkhwamiwwangiccakswnklang aelaklayepnbtheriynaekrthbalithyinkarthaephuxswnrwm 14 wthnthrrm aekikhphasa aekikh chawsmsmincnghwdstulaelasngkhlaswnihyichphasaithythinit aelamicanwnnxymakthiichphasamlayuithrburi 13 aetcaphbkhamlayuhlngehluxtamchuxsthanthitang 15 odychawmuslimincnghwdstulaelasngkhlakwarxyla 90 ichphasaithythinitepnphasaaem 16 nxkcakniyngmiphasathxngthinkhxngchawithymuslimthiepnlukphsmkbchawmlayu khuxphasasakxminxaephxcanaaelaethpha cnghwdsngkhla aelaphasaphiethninxaephxthungyangaedng cnghwdpttani 17 khnathichawsmsmbnekaalngkawirunihmelikphudphasaithyaelw aetkphxmikhwamruekiywkbkhaithybang 1 sasna aekikh chawsmsmswnhnungthimibrrphburusepnchawsyamaetngngankbchawmlayumuslimkcaepliynipnbthuxsasnaxislam aetkmichawmlayumuslimbangswnaetngngankbchawithyphuththaelaepliynipnbthuxsasnaphuthth 1 xangxing aekikhechingxrrth 1 00 1 01 1 02 1 03 1 04 1 05 1 06 1 07 1 08 1 09 1 10 Mahamed Noriah 2559 Hybrid Language and Identity among the Samsam Baba Nyonya and Jawi Peranakan Communities in North Peninsular Malaysia PDF Kemanusiaan Vol 23 phasaxngkvs subkhnemux 24 tulakhm 2561 Check date values in accessdate date help 2 0 2 1 2 2 2 3 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 182 3 0 3 1 3 2 tananmaorngmhawngs phngsawdaremuxngithrburi hna 4 5 4 0 4 1 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 183 tananmaorngmhawngs phngsawdaremuxngithrburi hna 93 97 buyyngkh ekseks aelaniphnth thiphysrinimit mkrakhm 2547 kinemuxngkhxn nxnemuxngithr sanukithyaephndinekid sarkhdi 19 227 hna 70 Thatsanawadi Kaeosanit 2016 Dynamic Construction of the Siamese Malaysians Ethnic Identity Malaysia PDF A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy Communication Arts and Innovation p 354 355 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 24 October 2019 subkhnemux 24 October 2019 odythang Graduate School of Communication Arts and Management Innovation National Institute of Development Administration Thailand 8 0 8 1 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 181 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 185 186 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 187 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 188 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 192 193 13 0 13 1 Arifin bin Chik 1 emsayn 2550 pyha stul pttani kbwthnthrrmthikalngthukthalay mulnithielk praiph wiriyaphnthu subkhnemux 24 tulakhm 2561 Check date values in accessdate date help kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 195 praphnth eruxngnrngkh bthphnwkekiyrtiys rthpttaniin sriwichy ekaaekkwarthsuokhthyinprawtisastr hna 356 357 kxbekux suwrrntht ephiyr xtlksnaehngchati sm smincnghwdstulaelachawithymlayumuslim ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay hna 179 thwiphr culwrrn 2559 rabbesiyngphasaphiethn tablphiethn xaephxthungyangaedng cnghwdpttani PDF bnthitwithyaly mhawithyalysilpakr subkhnemux 24 tulakhm 2561 Check date values in accessdate date help brrnanukrmmxnsation imekhil ec ithyit mlayuehnux ptismphnththangchatiphnthubnkhabsmuthraehngkhwamhlakhlay nkhrsrithrrmrach sunyhlksutrxaesiynsuksa sankwichasilpsastr mhawithyalywlylksn 2560 416 hna ISBN 978 974 7557 60 2 prathum chumephngphnthu tananmaorngmhawngs phngsawdaremuxngithrburi krungethph edxaonwelcesnetxr 2550 317 hna ISBN 978 974 13 3518 3 sucitt wngseths brrnathikar rthpttaniin sriwichy ekaaekkwarthsuokhthyinprawtisastr krungethph mtichn 2547 387 hna ekhathungcak https th wikipedia org w index php title chawsmsm amp oldid 9441526, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม