fbpx
วิกิพีเดีย

สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นการอธิบายถึงความแตกแยกระหว่างกลุ่มการเมืองน้อยใหญ่ในอาณาจักรอยุธยาเดิม ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 2310 โดยในทัศนะของนิธิ เอียวศรีวงศ์ สภาวะดังกล่าวแทบจะทำให้รัฐไทยล่มสลายลงไปตามเจตนาของพม่าในการรุกรานอาณาจักรอยุธยาเลยทีเดียว สภาวะดังกล่าวยังคงดำเนินอยู่ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ก่อนที่บ้านเมืองอันเป็นปึกแผ่นอย่างแท้จริงจะถูกสถาปนาขึ้นอีกครั้งหลังจากการปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

เบื้องหลัง

ปลายราชวงศ์บ้านพลูหลวง อาณาจักรอยุธยาเผชิญกับสงครามครั้งใหญ่กับพม่าราวปี พ.ศ. 2308-2310 ผลของการสงครามครั้งนั้นได้ทำลายกรุงศรีอยุธยาจนไม่อาจตั้งกลับเป็นอาณาจักรของคนไทยได้อีก อีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจและความไม่ปลอดภัยจากภัยสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2310 ครั้นเมื่อพม่าเข้าประชิดกรุงศรีอยุธยา ได้ปรากฏข้าราชการและราษฎรจำนวนมากหลบหนีไป ซึ่งขณะนั้นได้มีชาวพระนครหลบหนีจากพระนครกว่า 8,000 คน ได้อพยพลี้ภัยไปทางทิศอีสานและทิศตะวันออกซึ่งชาวพระนครได้หลบหนีไปพึ่งเจ้าชุมนุมต่าง ๆ ที่กำลังก่อตัวเป็นอิสระขึ้นเช่น ชุมนุมเจ้าพระฝาง, ชุมนุมเจ้าพิมาย, ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก[ต้องการอ้างอิง] ซึ่งตามทัศนะของนิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้บรรยายถึงสภาพจลาจลจากการที่ชาวเมืองพระนครศรีอยุธยาจำนวนมากได้พากันหลบหนีออกจากพระนคร ซึ่งมีการรวมกลุ่มของประชาชนขึ้นภายใต้วัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน เช่น อาจเพื่อเอาชีวิตรอด อาจเพื่อแสวงหาการคุ้มครอง อาจเพื่อเลี้ยงชีพโดยการลักขโมยผู้อื่น แต่ไม่คิดจะรวมกลุ่มกันเพื่อฟื้นฟูอาณาจักรอยุธยาเลย

ชุมนุมใหญ่หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

นิธิ เอียวศรีวงศ์ ได้อธิบายว่า แนวคิดที่ว่าดินแดนสมัยอาณาจักรอยุธยาเดิมถูกแบ่งออกเป็น 5 ชุมนุม อาจเป็นแนวคิดจากพระวนรัตน์ แต่ชุมนุมที่ถูกนับนี้ เป็นชุมนุมที่มีขนาดใหญ่และมีอิทธิพลทางการเมืองอย่างมากเท่านั้น ซึ่งพระราชพงศาวดารก็ได้บันทึกตามนี้เช่นกัน

ชุมนุมพระยาตาก

เป็นชุมนุมของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ก่อนที่จะตั้งกรุงธนบุรี เมื่อพระยาตากพิจารณาเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาไม่มีทางรบชนะ จึงนำทหารจำนวนหนึ่งไปสร้างฐานกำลังตั้งตัวเป็นใหญ่ที่เมืองจันทบุรี มีอาณาเขตตั้งแต่ชายแดนกัมพูชา จนถึงเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกทั้งหมด

ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก

เจ้าพระยาพิษณุโลกตั้งตัวเป็นเจ้าเมืองพิษณุโลก มีอาณาเขตตั้งแต่เมืองพิชัยลงมาจนถึงเมืองนครสวรรค์ และ ปากน้ำโพ เจ้าพระยาพิษณุโลกมีนามเดิมว่า เรือง เคยเป็นข้าราชการผู้ใหญ่ในกรุงศรีอยุธยา และเป็นผู้ที่มีความสามารถในการสู้รบ จึงมีผู้นับถืออยู่มาก เมื่อตั้งตนเป็นเจ้าแล้ว ได้มีข้าราชการเก่ากรุงศรีอยุธยาขึ้นมาสวามิภักดิ์อยู่ด้วยหลายนาย

ในปี พ.ศ. 2311 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงยกทัพไปปราบชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก เจ้าพระยาพิษณุโลกได้ให้หลวงโกษา (ยัง) ยกกองทัพมาตั้งรับที่ตำบลเกยชัย เขตเมืองนครสวรรค์ พอกองทัพของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรียกขึ้นไปถึง ก็ได้ปะทะรบพุ่งกันอย่างสามารถ ข้าศึกได้ยิงปืนมาถูกพระชงฆ์ (หน้าแข้ง) ของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีบาดเจ็บ จึงต้องยกทัพกลับ เจ้าพระยาพิษณุโลกเห็นเป็นโอกาสเหมาะ จึงตั้งตนเป็นพระมหากษัตริย์ พอราชาภิเษกได้ 7 วัน ก็ได้ประชวร และถึงแก่พิราลัยในที่สุด พระอินทรอากร น้องชายของเจ้าพระยาพิษณุโลกจึงได้ขึ้นครองเมืองแทน แต่ก็ทำให้เมืองพิษณุโลกอ่อนแอตามลำดับ ด้วยเหตุนี้ เจ้าพระฝางเห็นเป็นโอกาสอันเหมาะ จึงยกทัพลงมาตีเมืองพิษณุโลก และผนวกรวมกับชุมนุมพระฝางไปในที่สุด

ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช

 
ภาพแสดงที่ตั้งชุมนุมต่าง ๆ หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง (พ.ศ. 2310)
1: ชุมนุมพระยาตาก (รวมกับชุมนุมสุกี้พระนายกอง)
2: ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก
3: ชุมนุมเจ้าพระฝาง
4: ชุมนุมเจ้าพิมาย
5: ชุมนุมเจ้าพระยานครศรีธรรมราช

พระปลัด (หนู) ผู้รั้งตำแหน่งเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ได้ตั้งตัวขึ้นเป็นเจ้าที่เมืองนครศรีธรรมราช ชาวบ้านเรียกว่า เจ้านคร มีอาณาเขตตั้งแต่เมืองชุมพรจนถึงหัวเมืองมลายู

เจ้าเมืองนี้มีชื่อเดิมว่า (หนู) เป็นเชื้อสายเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ได้เข้ามาถวายงานที่กรุงศรอยุธยา มีความชอบจนได้เป็น หลวงสิทธิ์นายเวร มหาดเล็ก แล้วไปเป็นปลัดเมืองนครศรีธรรมราชต่อมา เมื่อพระยาราชสุภาวดี เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชมีความผิด หลวงสิทธิ์นายเวรจึงไปเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชแทน

เมื่อปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกทัพไปปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช โดยมีเจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพ กองทัพเจ้านครฯ กับกองทัพกรุงธนบุรีได้สู้รบกันอย่างสามารถ แต่แม่ทัพกรุงธนบุรีที่ยกทัพไปกลับไม่ปรองดองกัน จึงไม่สามารถปราบชุมนุมเจ้านครฯ ได้สำเร็จ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงต้องทรงลงไปตีด้วยพระองค์เอง แล้วก็ทรงตีได้สำเร็จ เจ้านครศรีธรรมราช เจ้าหนู ต้องหนีละทิ้งเมืองไปอยู่ที่เมืองปัตตานี แต่เจ้าเมืองปัตตานีเกรงกลัวกองทัพสยาม จึงส่งตัวกลับมาให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่นั้นมาหัวเมืองปักษ์ใต้จึงมาอยู่ภายใต้อำนาจกรุงธนบุรี พระองค์ทรงไม่ประหารเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เพราะเนื่องจาก ในขณะนั้นกรุงศรีอยุธยาแตก ไม่มีเมืองที่ใหญ่กว่ามาปกครอง เมืองนครศรีธรรมราชจึงต้องตั้งตนเป็นอิสระ

ชุมนุมเจ้าพิมาย

ชุมนุมเจ้าพิมายนั้น มี กรมหมื่นเทพพิพิธ เป็นเจ้าเมือง กรมหมื่นเทพพิพิธ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ผนวชในรัชสมัยพระเจ้าเอกทัศ แต่ต่อมาได้มีความผิดฐานคิดกบฏ จึงถูกเนรเทศออกไปอยู่ที่ลังกา และ เมื่อพระเจ้ามังระส่งกองทัพมาตีไทย กรมหมื่นเทพพิพิธได้ทราบว่าเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า จึงได้เดินทางกลับไทย เกลี้ยกล่อมผู้คนในเมืองนครราชสีมาให้สมัครเป็นพรรคพวกของตน และในที่สุดก็ยึดเมืองนครราชสีมาได้

ต่อมา หลวงแพ่ง น้องพระยาราชสีมาได้ไปเกณฑ์พลจากเมืองพิมาย เพื่อไปตีเมืองนครราชสีมาเอาเมืองคืน ปรากฏว่ารบชนะ จึงจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้ หลวงแพ่งต้องการที่จะประหารชีวิตกรมหมื่นเสีย แต่เจ้าพิมายมีความสงสารจึงขอชีวิตไว้ และขอนำกรมหมื่นเทพพิพิธไปคุมไว้ที่เมืองพิมาย แต่เจ้าพิมายจงรักภักดีต่อเจ้ากรุงศรีอยุธยามาก จึงยกกรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเป็นเจ้าเมืองพิมาย ส่วนตนนั้นได้ถูกแต่งตั้งให้เป็น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ผู้สำเร็จราชการบ้านเมืองทั้งหมด หลังจากนั้น กรมหมื่นฯก็ได้กำจัดหลวงแพ่ง แล้วยึดเมืองนครราชสีมา และ หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงมารวมกับพิมายทั้งหมด

หลังจากการสถาปนากรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมีพระบัญชาให้ พระราชวริน (ทองด้วง) และพระมหามนตรี (บุญมา) ยกทัพไปตีชุมนุมพิมาย ภายหลังจากทรงหายจากการรบกับพิษณุโลก และ เป็นปีเดียวกันกับปีที่ยกทัพไปตีพิษณุโลก กองทัพพิมายมิสามารถต้านทานกองทัพกรุงธนบุรีได้จึงต้องแตกพ่ายไป ครั้นเมื่อกรมหมื่นเทพพิพิธทราบข่าว จึงรีบอพยพครอบครัวไปอยู่เวียงจันทน์ แต่ ขุนชนะ กรมการเมืองนครราชสีมาตามตัวไว้ได้ทัน จึงนำมาถวายสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์จึงจำต้องสำเร็จโทษกรมหมื่นเทพพิพิธ

ชุมนุมเจ้าพระฝาง

ดูบทความหลักที่: ชุมนุมเจ้าพระฝาง
 
อนุสาวรีย์คู่บารมีกู้แผ่นดิน ในจังหวัดอุตรดิตถ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงการสิ้นสุดสภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองและเหตุการณ์ต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2313

พระสังฆราชาในเมืองสวางคบุรี (ฝาง) ได้ตั้งตนเป็นเจ้า ทั้งที่ยังเป็นพระภิกษุอยู่ ชาวบ้านทั่วไปเรียก เจ้าพระฝาง หรือ พระเจ้าฝาง มีชื่อเดิมว่า เรือน เป็นชาวเมืองเหนือ ได้ศึกษาเล่าเรียนพระศาสนาจากราชสำนักกรุงศรีอยุธยา และได้รับการแต่งตั้งเป็น พระพากุลเถระ ราชาคณะฝ่ายอรัญวาสี อยู่ ณ วัดศรีอยุธยา และได้แต่งตั้งเป็นพระสังฆราชาเจ้าคณะเมืองสวางคบุรี กลับขึ้นไปจำวัดอยู่ที่วัดพระฝาง แล้วก็ตั้งตนเป็นเจ้าทั้งที่อยู่ในสมณเพศ แต่ผู้คนก็พานับถือ เนื่องจากชาวบ้านนับถือว่าเป็นผู้วิเศษ

หลังจากสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้ว สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงทราบข่าวเรื่องที่เจ้าพระฝางยกทัพชุมนุมพิษณุโลกได้ และถึงกับส่งกองทัพไปปล้นแย่งชิงข้าวปลาราษฎรลงมาถึงเมืองอุทัยธานี และชัยนาท พระองค์จึงทรงกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยกทัพไปปราบในปี พ.ศ. 2313 โดยมีพระยายมราช (บุญมา) เป็นแม่ทัพหน้า กองทัพหน้าของพระยายมราชได้เข้าโจมตีเมืองพิษณุโลกด่านหน้าของเจ้าพระฝาง ซึ่งมีหลวงโกษา (ยัง) คุมกำลังมาตั้งรับอยู่ภายในคืนเดียว แล้วจากนั้นกองทัพหลวงก็ยกไปตีเมืองสวางคบุรี เจ้าพระฝางสู้รบได้ 3 วัน เห็นศึกหน้าเหนือกำลังจึงพาพรรคพวกหลบหนีไปอยู่เมืองเชียงใหม่ ซึ่งในขณะนั้นพม่าปกครองอยู่ กองทัพหลวงจึงยึดเมืองสวางคบุรีได้ และยังได้ลูกช้างเผือกมาอีกด้วย

โดยชุมนุมเจ้าพระฝาง เป็นชุมนุมอิสระสุดท้ายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝางได้นั้น นับเป็นการพระราชสงครามสุดท้ายที่ ทำให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงบรรลุพระราชภารกิจสำคัญ ในการรวบรวมพระราชอาณาเขตให้เป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวดังเดิมหลังภาวะจลาจลเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310 และทำให้สิ้นสุดสภาพจลาจลการแยกชุมนุมอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง และนับเป็นการสถาปนากรุงธนบุรีได้อย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เมื่อสำเร็จศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝาง ในปี พ.ศ. 2313

อ้างอิง

  1. นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 3-5
  2. นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 506
  3. นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 32.
  4. นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 40.
  5. _________________. (ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช ๑๑๒๙-๑๑๓๐. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.). หน้า 49-51

แหล่งข้อมูลอื่น

  • หอมรดกไทย - งานกู้ชาติในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สภาพจลาจลหล, งการเส, ยกร, งศร, อย, ธยาคร, งท, สอง, เป, นการอธ, บายถ, งความแตกแยกระหว, างกล, มการเม, องน, อยใหญ, ในอาณาจ, กรอย, ธยาเด, ภายหล, งการเส, ยกร, งศร, อย, ธยาคร, งท, สอง, ในป, 2310, โดยในท, ศนะของน, เอ, ยวศร, วงศ, สภาวะด, งกล, าวแทบจะทำให, ฐไทยล, มสลาย. sphaphclaclhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng epnkarxthibaythungkhwamaetkaeykrahwangklumkaremuxngnxyihyinxanackrxyuthyaedim phayhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng inpi ph s 2310 odyinthsnakhxngnithi exiywsriwngs sphawadngklawaethbcathaihrthithylmslaylngiptamectnakhxngphmainkarrukranxanackrxyuthyaelythiediyw 1 sphawadngklawyngkhngdaeninxyuinrchsmykhxngsmedcphraecakrungthnburi kxnthibanemuxngxnepnpukaephnxyangaethcringcathuksthapnakhunxikkhrnghlngcakkarprabdaphieskkhxngphrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach 2 enuxha 1 ebuxnghlng 2 chumnumihyhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng 2 1 chumnumphrayatak 2 2 chumnumecaphrayaphisnuolk 2 3 chumnumecankhrsrithrrmrach 2 4 chumnumecaphimay 2 5 chumnumecaphrafang 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunebuxnghlng aekikhdubthkhwamhlkthi karesiykrungsrixyuthyakhrngthisxng playrachwngsbanphluhlwng xanackrxyuthyaephchiykbsngkhramkhrngihykbphmarawpi ph s 2308 2310 phlkhxngkarsngkhramkhrngnnidthalaykrungsrixyuthyacnimxactngklbepnxanackrkhxngkhnithyidxik xikthngyngkxihekidpyhathangesrsthkicaelakhwamimplxdphycakphysngkhram emux ph s 2310 khrnemuxphmaekhaprachidkrungsrixyuthya idpraktkharachkaraelarasdrcanwnmakhlbhniip sungkhnannidmichawphrankhrhlbhnicakphrankhrkwa 8 000 khn idxphyphliphyipthangthisxisanaelathistawnxxksungchawphrankhridhlbhniipphungecachumnumtang thikalngkxtwepnxisrakhunechn chumnumecaphrafang chumnumecaphimay chumnumecaphrayaphisnuolk txngkarxangxing sungtamthsnakhxngnithi exiywsriwngs idbrryaythungsphaphclaclcakkarthichawemuxngphrankhrsrixyuthyacanwnmakidphaknhlbhnixxkcakphrankhr sungmikarrwmklumkhxngprachachnkhunphayitwtthuprasngkhthiaetktangkn echn xacephuxexachiwitrxd xacephuxaeswnghakarkhumkhrxng xacephuxeliyngchiphodykarlkkhomyphuxun 3 aetimkhidcarwmklumknephuxfunfuxanackrxyuthyaelychumnumihyhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng aekikhnithi exiywsriwngs idxthibaywa aenwkhidthiwadinaednsmyxanackrxyuthyaedimthukaebngxxkepn 5 chumnum xacepnaenwkhidcakphrawnrtn aetchumnumthithuknbni epnchumnumthimikhnadihyaelamixiththiphlthangkaremuxngxyangmakethann sungphrarachphngsawdarkidbnthuktamniechnkn 4 chumnumphrayatak aekikh epnchumnumkhxngsmedcphraecakrungthnburi kxnthicatngkrungthnburi emuxphrayatakphicarnaehnwakrungsrixyuthyaimmithangrbchna cungnathharcanwnhnungipsrangthankalngtngtwepnihythiemuxngcnthburi mixanaekhttngaetchayaednkmphucha cnthungemuxngchayfngthaeltawnxxkthnghmd chumnumecaphrayaphisnuolk aekikh ecaphrayaphisnuolktngtwepnecaemuxngphisnuolk mixanaekhttngaetemuxngphichylngmacnthungemuxngnkhrswrrkh aela paknaoph ecaphrayaphisnuolkminamedimwa eruxng ekhyepnkharachkarphuihyinkrungsrixyuthya aelaepnphuthimikhwamsamarthinkarsurb cungmiphunbthuxxyumak emuxtngtnepnecaaelw idmikharachkarekakrungsrixyuthyakhunmaswamiphkdixyudwyhlaynayinpi ph s 2311 smedcphraecakrungthnburiidthrngykthphipprabchumnumecaphrayaphisnuolk ecaphrayaphisnuolkidihhlwngoksa yng ykkxngthphmatngrbthitablekychy ekhtemuxngnkhrswrrkh phxkxngthphkhxngsmedcphraecakrungthnburiykkhunipthung kidpatharbphungknxyangsamarth khasukidyingpunmathukphrachngkh hnaaekhng khxngsmedcphraecakrungthnburibadecb cungtxngykthphklb ecaphrayaphisnuolkehnepnoxkasehmaa cungtngtnepnphramhakstriy phxrachaphieskid 7 wn kidprachwr aelathungaekphiralyinthisud phraxinthrxakr nxngchaykhxngecaphrayaphisnuolkcungidkhunkhrxngemuxngaethn aetkthaihemuxngphisnuolkxxnaextamladb dwyehtuni ecaphrafangehnepnoxkasxnehmaa cungykthphlngmatiemuxngphisnuolk aelaphnwkrwmkbchumnumphrafangipinthisud chumnumecankhrsrithrrmrach aekikh phaphaesdngthitngchumnumtang hlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng ph s 2310 1 chumnumphrayatak rwmkbchumnumsukiphranaykxng 2 chumnumecaphrayaphisnuolk3 chumnumecaphrafang 4 chumnumecaphimay 5 chumnumecaphrayankhrsrithrrmrach phrapld hnu phurngtaaehnngecaemuxngnkhrsrithrrmrach idtngtwkhunepnecathiemuxngnkhrsrithrrmrach chawbaneriykwa ecankhr mixanaekhttngaetemuxngchumphrcnthunghwemuxngmlayuecaemuxngnimichuxedimwa hnu epnechuxsayecaemuxngnkhrsrithrrmrach idekhamathwaynganthikrungsrxyuthya mikhwamchxbcnidepn hlwngsiththinayewr mhadelk aelwipepnpldemuxngnkhrsrithrrmrachtxma emuxphrayarachsuphawdi ecaemuxngnkhrsrithrrmrachmikhwamphid hlwngsiththinayewrcungipepnecaemuxngnkhrsrithrrmrachaethnemuxpi ph s 2312 smedcphraecakrungthnburiidthrngphrakrunaoprdekla ihykthphipprabchumnumecankhrsrithrrmrach odymiecaphrayackriepnaemthph kxngthphecankhr kbkxngthphkrungthnburiidsurbknxyangsamarth aetaemthphkrungthnburithiykthphipklbimprxngdxngkn cungimsamarthprabchumnumecankhr idsaerc smedcphraecakrungthnburicungtxngthrnglngiptidwyphraxngkhexng aelwkthrngtiidsaerc ecankhrsrithrrmrach ecahnu txnghnilathingemuxngipxyuthiemuxngpttani aetecaemuxngpttaniekrngklwkxngthphsyam cungsngtwklbmaihsmedcphraecakrungthnburi tngaetnnmahwemuxngpksitcungmaxyuphayitxanackrungthnburi phraxngkhthrngimpraharecaemuxngnkhrsrithrrmrach ephraaenuxngcak inkhnannkrungsrixyuthyaaetk immiemuxngthiihykwamapkkhrxng emuxngnkhrsrithrrmrachcungtxngtngtnepnxisra chumnumecaphimay aekikh chumnumecaphimaynn mi krmhmunethphphiphith epnecaemuxng krmhmunethphphiphith phrarachoxrsinsmedcphraecaxyuhwbrmoks phnwchinrchsmyphraecaexkths aettxmaidmikhwamphidthankhidkbt cungthukenrethsxxkipxyuthilngka aela emuxphraecamngrasngkxngthphmatiithy krmhmunethphphiphithidthrabwaesiykrungsrixyuthyaihaekphma cungidedinthangklbithy ekliyklxmphukhninemuxngnkhrrachsimaihsmkhrepnphrrkhphwkkhxngtn aelainthisudkyudemuxngnkhrrachsimaidtxma hlwngaephng nxngphrayarachsimaidipeknthphlcakemuxngphimay ephuxiptiemuxngnkhrrachsimaexaemuxngkhun praktwarbchna cungcbkrmhmunethphphiphithid hlwngaephngtxngkarthicapraharchiwitkrmhmunesiy aetecaphimaymikhwamsngsarcungkhxchiwitiw aelakhxnakrmhmunethphphiphithipkhumiwthiemuxngphimay aetecaphimaycngrkphkditxecakrungsrixyuthyamak cungykkrmhmunethphphiphithkhunepnecaemuxngphimay swntnnnidthukaetngtngihepn ecaphrayasrisuriywngs phusaercrachkarbanemuxngthnghmd hlngcaknn krmhmunkidkacdhlwngaephng aelwyudemuxngnkhrrachsima aela hwemuxngnxyihythngpwngmarwmkbphimaythnghmdhlngcakkarsthapnakrungthnburismedcphraecakrungthnburimiphrabychaih phrarachwrin thxngdwng aelaphramhamntri buyma ykthphiptichumnumphimay phayhlngcakthrnghaycakkarrbkbphisnuolk aela epnpiediywknkbpithiykthphiptiphisnuolk kxngthphphimaymisamarthtanthankxngthphkrungthnburiidcungtxngaetkphayip khrnemuxkrmhmunethphphiphiththrabkhaw cungribxphyphkhrxbkhrwipxyuewiyngcnthn aet khunchna krmkaremuxngnkhrrachsimatamtwiwidthn cungnamathwaysmedcphraecakrungthnburi phraxngkhcungcatxngsaercothskrmhmunethphphiphith chumnumecaphrafang aekikh dubthkhwamhlkthi chumnumecaphrafang xnusawriykhubarmikuaephndin incnghwdxutrditth cdsrangkhunephuxralukthungkarsinsudsphaphclaclhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxngaelaehtukarntxenuxng inpi ph s 2313 phrasngkhrachainemuxngswangkhburi fang idtngtnepneca thngthiyngepnphraphiksuxyu chawbanthwiperiyk ecaphrafang hrux phraecafang michuxedimwa eruxn epnchawemuxngehnux idsuksaelaeriynphrasasnacakrachsankkrungsrixyuthya aelaidrbkaraetngtngepn phraphakulethra rachakhnafayxrywasi xyu n wdsrixyuthya aelaidaetngtngepnphrasngkhrachaecakhnaemuxngswangkhburi klbkhunipcawdxyuthiwdphrafang aelwktngtnepnecathngthixyuinsmnephs aetphukhnkphanbthux enuxngcakchawbannbthuxwaepnphuwiesshlngcaksthapnakrungthnburiepnrachthaniaelw smedcphraecakrungthnburi thrngthrabkhaweruxngthiecaphrafangykthphchumnumphisnuolkid aelathungkbsngkxngthphipplnaeyngchingkhawplarasdrlngmathungemuxngxuthythani aelachynath phraxngkhcungthrngkrunaoprdeklaihykthphipprabinpi ph s 2313 odymiphrayaymrach buyma epnaemthphhna kxngthphhnakhxngphrayaymrachidekhaocmtiemuxngphisnuolkdanhnakhxngecaphrafang sungmihlwngoksa yng khumkalngmatngrbxyuphayinkhunediyw aelwcaknnkxngthphhlwngkykiptiemuxngswangkhburi ecaphrafangsurbid 3 wn ehnsukhnaehnuxkalngcungphaphrrkhphwkhlbhniipxyuemuxngechiyngihm sunginkhnannphmapkkhrxngxyu kxngthphhlwngcungyudemuxngswangkhburiid aelayngidlukchangephuxkmaxikdwyodychumnumecaphrafang epnchumnumxisrasudthayhlngesiykrungsrixyuthyakhrngthi 2 odyechphaaxyangyingkarsukprabchumnumkkecaphrafangidnn nbepnkarphrarachsngkhramsudthaythi thaihsmedcphraecakrungthnburithrngbrrluphrarachpharkicsakhy inkarrwbrwmphrarachxanaekhtihepnpukaephnhnungediywdngedimhlngphawaclaclesiykrungsrixyuthyaaekphma inpi ph s 2310 aelathaihsinsudsphaphclaclkaraeykchumnumxisraphayhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng aelanbepnkarsthapnakrungthnburiidxyangebdesrcsmburn emuxsaercsukprabchumnumkkecaphrafang inpi ph s 2313 5 xangxing aekikh nithi exiywsriwngs 2550 karemuxngithysmyphraecakrungthnburi sankphimphmtichn hna 3 5 nithi exiywsriwngs 2550 karemuxngithysmyphraecakrungthnburi sankphimphmtichn hna 506 nithi exiywsriwngs 2550 karemuxngithysmyphraecakrungthnburi sankphimphmtichn hna 32 nithi exiywsriwngs 2550 karemuxngithysmyphraecakrungthnburi sankphimphmtichn hna 40 m p p phrarachphngsawdar chbbphrarachhtthelkha rahwangclacl culskrach 1129 1130 krungethph m p th hna 49 51aehlngkhxmulxun aekikhhxmrdkithy ngankuchatiinsmedcphraecataksinmharachekhathungcak https th wikipedia org w index php title sphaphclaclhlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng amp oldid 9402739 chumnumecankhrsrithrrmrach, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม