fbpx
วิกิพีเดีย

สมองใหญ่

เทเลนเซฟาลอน (Telencephalon) เป็นส่วนของสมองส่วนหน้า เป็นโครงสร้างที่ใหญ่ของสมองซึ่งทำหน้าที่หลากหลาย อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซีรีบรัม (Cerebrum) หรือ สมองใหญ่ ในทางเทคนิค เทเลนเซฟาลอนหมายถึงซีรีบรัล เฮมิสเฟียร์ (cerebral hemispheres) และโครงสร้างเล็กๆ อื่นๆ ภายในสมอง สมองส่วนนี้เป็นส่วนที่อยู่หน้าสุดในการแบ่งส่วนของสมองในเอ็มบริโอ เจริญมาจากโปรเซนเซฟาลอน

ซีรีบรัม
(Cerebrum)
แผนภาพแสดงการแบ่งส่วนของสมองในเอ็มบริโอสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง
รายละเอียด
หลอดเลือดแดงหลอดเลือดแดงแอนทีเรียร์ซีรีบรัล (anterior cerebral artery) , หลอดเลือดแดงมิดเดิลซีรีบรัล (middle cerebral artery) , หลอดเลือดแดงโพสทีเรียร์ซีรีบรัล (posterior cerebral artery)
หลอดเลือดดำหลอดเลือดดำซีรีบรัล (cerebral veins)
ตัวระบุ
MeSHD054022
นิวโรเล็กซ์ IDbirnlex_1042
TA98A14.1.03.008
A14.1.09.001
TA25416
THH3.11.03.6.00001
TETerminologia Embryologica {{{2}}}.html EE5.14.1.0.2.0.12 .{{{2}}}{{{3}}}
FMA62000
ศัพท์กายวิภาคศาสตร์ของประสาทกายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

โครงสร้าง

เทเลนเซฟาลอนประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

องค์ประกอบ

เทเลนเซฟาลอนประกอบด้วยส่วนที่คนทั่วไปเรียกว่า เนื้อสมอง โครงสร้างนี้อยู่บนก้านสมองและเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดและพัฒนามากที่สุดในบรรดาส่วนของสมองทั้ง 5 ส่วน ส่วนเทเลนเซฟาลอนเป็นส่วนที่เกิดขึ้นมาใหม่ที่สุดในช่วงวิวัฒนาการ ที่ซึ่งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีขนาดใหญ่ที่สุดและพัฒนามากที่สุดในบรรดาสัตว์ทุกสปีชีส์ เทเลนเซฟาลอนเจริญมาจากโปรเซนเซฟาลอน (prosencephalon) ซึ่งเป็นกระเปาะแรกในบรรดากระเปาะทั้งสามที่สร้างขึ้นมาจากนิวรัล ทูบ (neural tube) ในเอ็มบริโอ

ในการแบ่งส่วนของสมองในแบบดั้งเดิม เทเลนเซฟาลอนแบ่งออกเป็น 4 ส่วน แต่ในปัจจุบันมีงานวิจัยอธิบายการจัดแบ่งที่ย่อยลงไปอีก

ในมนุษย์ เทเลนเซฟาลอนอยู่ล้อมรอบสมองส่วนที่เก่าแก่กว่า ระบบลิมบิก, ระบบรับรู้กลิ่น, และระบบสั่งการส่งใยประสาทจากบริเวณซับคอร์ติคัล (ชั้นลึก) (subcortical areas) ของซีรีบรัมไปยังส่วนของก้านสมอง ระบบความนึกคิด (cognitive system) และระบบความตั้งใจ (volitive system) ส่งใยประสาทจากบริเวณคอร์ติคัล (cortical area) ของซีรีบรัมไปยังทาลามัสและไปยังบริเวณอื่นๆ ของก้านสมอง เครือข่ายทางประสาทของเทเลนเซฟาลอนช่วยในพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ซับซ้อน เช่น ภาษา ระบบดังกล่าวประกอบด้วยเนื้อขาว (white matter) และ เนื้อเทา (grey matter) ส่วนเนื้อเทามีการพับทบอย่างมากซึ่งน่าจะช่วยในการบรรจุกลุ่มเซลล์จำนวนมากในปริมาตรสมอง โดยการเพิ่มพื้นที่ผิว เทเลนเซฟาลอนยังประกอบด้วยบริเวณที่มีต้นกำเนิดจาก archipallium, paleopallium และ neopallium การเจริญของ neopallium ซึ่งประกอบด้วยส่วนซีรีบรัล คอร์เท็กซ์ เป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์และไพรเมต

หน้าที่

 
ซีรีบรัม

ภาษาและการสื่อสาร

ดูบทความหลักที่: ภาษา

ส่วนของซีรีบรัม คอร์เท็กซ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทเลนเซฟาลอน ทำหน้าที่ในการพูดและภาษา ส่วนที่สั่งการเกี่ยวกับภาษาได้แก่บริเวณโบรคา (Broca's area) ภายในสมองกลีบหน้าของสมอง การเข้าใจคำพูดเกี่ยวข้องกับบริเวณเวอร์นิเก (Wernicke's area) ซึ่งอยู่บริเวณรอยต่อของสมองสมองกลีบขมับและสมองกลีบข้าง บริเวณทั้งสองเชื่อมต่อกันด้วยลำเส้นใยประสาทขนาดใหญ่เรียกว่า อาร์คูเอท ฟาสซิคูลัส (arcuate fasciculus) การเสื่อมของบริเวณโบรคาจะทำให้เกิดภาวะเสียการสื่อความชนิด expressive aphasia (non-fluent aphasia) ในขณะที่การเสื่อมในบริเวณเวอร์นิเกส่งผลให้เกิดภาวะเสียการสื่อความชนิด receptive aphasia (fluent aphasia)

การเคลื่อนไหว

เทเลนเซฟาลอนทำหน้าที่เกี่ยวกับการสั่งการในร่างกายมนุษย์ หน้าที่ดังกล่าวเริ่มต้นภายในไพรมารี มอเตอร์ คอร์เท็กซ์ (primary motor cortex) และบริเวณอื่นๆ ในบริเวณสั่งการของกลีบสมองด้านหน้า เมื่อสมองส่วนนี้เสียไป สมองจะไม่สามารถส่งสัญญาณผ่านเส้นประสาทไปยังเส้นประสาทสั่งการของกล้ามเนื้อ และทำให้เกิดโรคที่เรียกว่า Motor Neurone Disease การเสื่อมของสมองประเภทนี้ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง และขาดความแม่นยำ มากกว่าทำให้เกิดอัมพาตทั้งตัว

การดมกลิ่น

ออลแฟคทอรี บัลบ์เป็นส่วนที่อยู่ด้านล่างของสมองส่วนที่อยู่หน้าสุด ส่วนนี้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิดจะมีขนาดใหญ่มาก แต่ในมนุษย์สมองส่วนนี้มีขนาดเล็ก การเสื่อมของออลแฟคทอรีบัลบ์ทำให้สูญเสียการรับรู้กลิ่น

ความจำ

หน้าที่เกี่ยวกับความจำของสมองเกี่ยวข้องกับส่วนฮิปโปแคมปัส (hippocampus) ความเกี่ยวข้องนี้ได้ถูกอธิบายขึ้นในผู้ป่วยที่ชื่อ HM ผู้ซึ่งถูกผ่าตัดเอาสมองส่วนฮิปโปแคมปัสทั้ง 2 ข้างออกเพื่อรักษาอาการลมชัก หลังการผ่าตัด HM มีอาการ anterograde amnesia หรือภาวะที่ไม่สามารถสร้างความทรงจำใหม่ได้ ปัญหานี้ได้บรรจุในภาพยนตร์เรื่อง Memento ที่ซึ่งตัวเอกของเรื่องต้องถ่ายภาพผู้คนที่เขาเคยพบเพื่อที่จะสามารถจำได้ว่าเคยทำอะไรในวันหลังจากที่เขาประสบอุบัติเหตุ

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Cerebrum Medical Notes on rahulgladwin.com

สมองใหญ, เทเลนเซฟาลอน, telencephalon, เป, นส, วนของสมองส, วนหน, เป, นโครงสร, างท, ใหญ, ของสมองซ, งทำหน, าท, หลากหลาย, อาจเร, ยกอ, กช, อหน, งว, บร, cerebrum, หร, ในทางเทคน, เทเลนเซฟาลอนหมายถ, งซ, บร, เฮม, สเฟ, ยร, cerebral, hemispheres, และโครงสร, างเล, กๆ, นๆ,. ethelnesfalxn Telencephalon epnswnkhxngsmxngswnhna epnokhrngsrangthiihykhxngsmxngsungthahnathihlakhlay xaceriykxikchuxhnungwa siribrm Cerebrum hrux smxngihy inthangethkhnikh ethelnesfalxnhmaythungsiribrl ehmisefiyr cerebral hemispheres aelaokhrngsrangelk xun phayinsmxng smxngswnniepnswnthixyuhnasudinkaraebngswnkhxngsmxnginexmbriox ecriymacakopresnesfalxnsiribrm Cerebrum aephnphaphaesdngkaraebngswnkhxngsmxnginexmbrioxstwthimikraduksnhlngraylaexiydhlxdeluxdaednghlxdeluxdaedngaexnthieriyrsiribrl anterior cerebral artery hlxdeluxdaedngmidedilsiribrl middle cerebral artery hlxdeluxdaedngophsthieriyrsiribrl posterior cerebral artery hlxdeluxddahlxdeluxddasiribrl cerebral veins twrabuMeSHD054022niworelks IDbirnlex 1042TA98A14 1 03 008 A14 1 09 001TA25416THH3 11 03 6 00001TETerminologia Embryologica 2 html EE5 14 1 0 2 0 12 2 3 FMA62000sphthkaywiphakhsastrkhxngprasathkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths enuxha 1 okhrngsrang 2 xngkhprakxb 3 hnathi 3 1 phasaaelakarsuxsar 3 2 karekhluxnihw 3 3 kardmklin 3 4 khwamca 4 aehlngkhxmulxunokhrngsrang aekikhethelnesfalxnprakxbdwyswntang dngni rabblimbik Limbic system siribrl khxrethks Cerebral cortex ebsl aekngekliy Basal ganglia xxlaefkhthxri blb Olfactory bulb xngkhprakxb aekikhethelnesfalxnprakxbdwyswnthikhnthwiperiykwa enuxsmxng okhrngsrangnixyubnkansmxngaelaepnswnthiihythisudaelaphthnamakthisudinbrrdaswnkhxngsmxngthng 5 swn swnethelnesfalxnepnswnthiekidkhunmaihmthisudinchwngwiwthnakar thisungstweliynglukdwynmmikhnadihythisudaelaphthnamakthisudinbrrdastwthukspichis ethelnesfalxnecriymacakopresnesfalxn prosencephalon sungepnkraepaaaerkinbrrdakraepaathngsamthisrangkhunmacakniwrl thub neural tube inexmbrioxinkaraebngswnkhxngsmxnginaebbdngedim ethelnesfalxnaebngxxkepn 4 swn aetinpccubnminganwicyxthibaykarcdaebngthiyxylngipxikinmnusy ethelnesfalxnxyulxmrxbsmxngswnthiekaaekkwa rabblimbik rabbrbruklin aelarabbsngkarsngiyprasathcakbriewnsbkhxrtikhl chnluk subcortical areas khxngsiribrmipyngswnkhxngkansmxng rabbkhwamnukkhid cognitive system aelarabbkhwamtngic volitive system sngiyprasathcakbriewnkhxrtikhl cortical area khxngsiribrmipyngthalamsaelaipyngbriewnxun khxngkansmxng ekhruxkhaythangprasathkhxngethelnesfalxnchwyinphvtikrrmkareriynruthisbsxn echn phasa rabbdngklawprakxbdwyenuxkhaw white matter aela enuxetha grey matter swnenuxethamikarphbthbxyangmaksungnacachwyinkarbrrcuklumesllcanwnmakinprimatrsmxng odykarephimphunthiphiw ethelnesfalxnyngprakxbdwybriewnthimitnkaenidcak archipallium paleopallium aela neopallium karecriykhxng neopallium sungprakxbdwyswnsiribrl khxrethks epnlksnaechphaakhxngmnusyaelaiphremthnathi aekikh siribrm phasaaelakarsuxsar aekikh dubthkhwamhlkthi phasa swnkhxngsiribrm khxrethks sungepnswnhnungkhxngethelnesfalxn thahnathiinkarphudaelaphasa swnthisngkarekiywkbphasaidaekbriewnobrkha Broca s area phayinsmxngklibhnakhxngsmxng karekhaickhaphudekiywkhxngkbbriewnewxrniek Wernicke s area sungxyubriewnrxytxkhxngsmxngsmxngklibkhmbaelasmxngklibkhang briewnthngsxngechuxmtxkndwylaesniyprasathkhnadihyeriykwa xarkhuexth fassikhuls arcuate fasciculus karesuxmkhxngbriewnobrkhacathaihekidphawaesiykarsuxkhwamchnid expressive aphasia non fluent aphasia inkhnathikaresuxminbriewnewxrnieksngphlihekidphawaesiykarsuxkhwamchnid receptive aphasia fluent aphasia karekhluxnihw aekikh ethelnesfalxnthahnathiekiywkbkarsngkarinrangkaymnusy hnathidngklawerimtnphayiniphrmari mxetxr khxrethks primary motor cortex aelabriewnxun inbriewnsngkarkhxngklibsmxngdanhna emuxsmxngswnniesiyip smxngcaimsamarthsngsyyanphanesnprasathipyngesnprasathsngkarkhxngklamenux aelathaihekidorkhthieriykwa Motor Neurone Disease karesuxmkhxngsmxngpraephthnithaihekidklamenuxxxnaerng aelakhadkhwamaemnya makkwathaihekidxmphatthngtw kardmklin aekikh xxlaefkhthxri blbepnswnthixyudanlangkhxngsmxngswnthixyuhnasud swnniinstweliynglukdwynmbangchnidcamikhnadihymak aetinmnusysmxngswnnimikhnadelk karesuxmkhxngxxlaefkhthxriblbthaihsuyesiykarrbruklin khwamca aekikh hnathiekiywkbkhwamcakhxngsmxngekiywkhxngkbswnhipopaekhmps hippocampus khwamekiywkhxngniidthukxthibaykhuninphupwythichux HM phusungthukphatdexasmxngswnhipopaekhmpsthng 2 khangxxkephuxrksaxakarlmchk hlngkarphatd HM mixakar anterograde amnesia hruxphawathiimsamarthsrangkhwamthrngcaihmid pyhaniidbrrcuinphaphyntreruxng Memento thisungtwexkkhxngeruxngtxngthayphaphphukhnthiekhaekhyphbephuxthicasamarthcaidwaekhythaxairinwnhlngcakthiekhaprasbxubtiehtuaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb smxngihyCerebrum Medical Notes on rahulgladwin com bthkhwamekiywkbkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi okhrngkarwikikaywiphakhsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title smxngihy amp oldid 9486307, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม