fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีการเมือง

ทฤษฎีการเมือง (อังกฤษ: Political Theory) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของการเรียนการสอนวิชารัฐศาสตร์ ทฤษฏีการเมืองเป็นสาขาวิชาที่เกิดมาพร้อมๆกับวิชารัฐศาสตร์ คือราว ทศวรรษที่ 1960 ซึ่งเป็นช่วงที่วิธีวิทยา แบบวิทยาศาสตร์เข้ามีอิทธิพลอย่างสูงในวิชารัฐศาสตร์ อย่างไรก็ตามแม้ทฤษฎีการเมืองจะเป็นวิชาของการศึกษาการเมืองในยุควิทยาศาสตร์ ทว่าก็มีทฤษฎีการเมืองจำนวนไม่น้อยที่ได้รับอิทธิพลมาจากนักปรัชญาการเมือง

ความหมาย

ดูเพิ่มเติมที่: ทฤษฎี

ทฤษฎีการเมืองเกี่ยวพันอยู่กับการมองและการเข้าใจในสิ่งต่างๆ ซึ่งการมอง และการเข้าใจนั้นๆเป็นเพียงแง่มุมที่แปรผันไปตามผู้มอง ทฤษฎีการเมืองจึงไม่ใช่ความจริงทางการเมือง แต่เป็นเพียงเศษเสี้ยวของความจริงทางการเมืองที่ถูกรับรู้ในกาละ-เทศที่ต่างกันเท่านั้น นอกจากนี้จากการที่ปรัชญาการเมืองเป็นเรื่องของการคิดและจินตนาการความเป็นไปได้ที่ดีที่สุดในทางการเมือง มากกว่าที่จะเป็นเรื่องของความรู้ที่ได้มาในเชิงประจักษ์หรือสภาวการณ์ของการเมืองที่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นสิ่งที่ทฤษฎีการเมืองพยายามอธิบาย หรือนิยามของทฤษฎีการเมืองก็คือ "มุมมองในทางการเมือง" นั่นเอง

ประวัติศาสตร์

ยุคพฤติกรรมศาสตร์

หลังจากที่การศึกษาการเมืองได้เข้าสู่กระบวนการของความเป็นศาสตร์ (science) ในช่วงทศวรรษ ที่ 1900 - 1950 วิชารัฐศาสตร์ได้กลายเป็นกระบวนวิชาในมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกาที่เริ่มมีการเปิดการเรียนการสอนเป็นคณะ และสาขาวิชาอย่างจริงจังราว ค.ศ. 1857 ซึ่งเป็นเวลาไม่กี่ปีหลังสงครามกลางเมืองอเมริกัน (ค.ศ. 1861 - 1865) ใน ค.ศ. 1903 ได้มีการจัดตั้งสมาคมรัฐศาสตร์อเมริกา (American Political Science Association) ขึ้น จึงกล่าวได้ว่าวงวิชาการในสหรัฐอเมริกาทำให้การเรียนการสอนวิชาการเมืองในยุควิทยาศาสตร์ยุคแรกนี้เติบโตอย่างสูงผ่านการยกระดับจากการศึกษาการเมืองแบบกระบวนวิชา (discipline) ให้กลายเป็นการศึกษาการเมืองแบบสถาบัน (institutionalized discipline)

ช่วงทศวรรษที่ 1920 ชาร์ลส์ เมอร์เรียม (Charles Edward Merriam) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก ได้เริ่มเอาวิธีวิทยาแบบวิทยาศาสตร์เข้ามาศึกษาปรากฏการณ์ในทางรัฐศาสตร์ โดยได้รับอิทธิพลจากวงการจิตวิทยาอเมริกัน เมอร์เรียมเรียกวิธีการนี้ว่าการศึกษา “พฤติกรรมทางการเมือง (political behavior)” ต่อมาช่วงทศวรรษ 1950 – 1960 กระแสวิชาการรัฐศาสตร์ได้เริ่มมีการผนวกเอาแนวคิดของสาขาวิชาต่างๆเข้ามาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมวิทยา (sociology), เศรษฐศาสตร์ (economics), ประวัติศาสตร์ (history), มานุษยวิทยา (anthropology), จิตวิทยา (psychology) และ สถิติ (statistics) เข้ามาประยุกต์ในวิชารัฐศาสตร์ โดยมุ่งเน้นการศึกษาผ่านระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (scientific method) เป็นหลัก กล่าวคือ มีการ สร้างสมมติฐาน, เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ, มีการพิสูจน์ และตรวจสอบสมมติฐาน ซึ่งการศึกษาจำนวนมากนั้นมีเป้าประสงค์ที่จะแก้ปัญหาในทางสังคม และปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นในอเมริกา ที่เป็นผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 - 1945) เนื่องด้วย ในช่วงสงครามโลกทั้งสองครั้ง ก่อให้เกิดระบอบการปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ(Totalitarian Regimes) ในการเมืองระดับโลก ส่งผลต่อวงวิชาการรัฐศาสตร์อเมริกันเป็นอันมาก เนื่องด้วยบรรดาวิชาต่างๆที่สอนในคณะรัฐศาสตร์ อาทิ รัฐธรรมนูญ, ปรัชญาการเมือง, กฎหมายปกครอง, และวิชาที่เน้นหนักเฉพาะความรู้ทางการเมืองในระบบสหรัฐไม่สามารถให้คำตอบได้ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง นักรัฐศาสตร์อเมริกัน จึงได้เริ่มปรับเปลี่ยนวิธีการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ด้วยวิธวิทยาแบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งโดยมากก็ได้รับอิทธิพลทางความคิดจากเมอร์เรียม แม้กระบวนการดังกล่าวก็ถูกกล่าวถึงว่าเป็นการนำเอาระเบียบวิธีวิจัยแบบวิทยาศาสตร์เข้ามาใช้ในทางสังคมศาสตร์แบบไม่ตั้งคำถามว่าเหมาะสมหรือไม่? อย่างไร? ทว่า อย่างไรก็ตามกระแสความคิดดังกล่าวก็ถูกยอมรับโดยนักรัฐศาสตร์ทั้งในอเมริกาและนอกอเมริกา จนมีการเรียกขานกันเป็นสกุลทางการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ว่าสำนักพฤติกรรมศาสตร์ (behaviroralism) เนื่องด้วยเป็นการศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมในเรื่องการเมืองผ่านการสำรวจ (observation) และวัดค่า (measure) พฤติกรรมต่างๆของมนุษย์ อาทิ ทัศนคติ (attitude), ความพึงพอใจ (motivation) และปัจจัย (factor) เป็นต้น

ภาพสะท้อนของการศึกษาการเมืองในยุควิทยาศาสตร์เห็นได้จากที่เดวิด อีสตัน (David Easton) ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ชาวแคนาดา นิยามลักษณะพิเศษของพฤติกรรมศาสตร์ไว้ว่า

  • มีความทั่วไป, ต้องสามารถอธิบายอย่างเป็นการทั่วไปได้ (regularities)
  • สามารถพิสูจน์ซ้ำได้ (commitment to verifications)
  • เป็นกระบวนการศึกษาอย่างมีเทคนิค (techniques)
  • สามารถอธิบายสิ่งที่ศึกษาด้วยตัวเลขได้อย่างทรงพลัง (quantification)
  • ปราศจากค่านิยม (value – free)
  • มีการดำเนินการวิจัยอย่างเป็นระบบ (systemization)
  • มีลักษณะเป็นศาสตร์บริสุทธิ์ (pure science) มากกว่าศาสตร์ประยุกต์ (applied science)
  • บูรณาการ ผสมผสานสังคม และค่านิยมเข้าไว้ด้วยกัน (integrating social and value)

การนิยามของอีสตันก่อให้เกิดอิทธิพลต่อกระบวนวิธีการทำงานของนักรัฐศาสตร์ตระกูลพฤติกรรมเป็นอย่างมาก การวิจัยทางสังคม และการเมืองที่พยายามเน้นสถานะของความเป็นศาสตร์ที่ตรวจสอบได้, พิสูจน์ได้, ปราศจากค่านิยม, มีความเป็นระบบ, มีความเป็นทั่วไปดังที่อีสตันเสนอมีอิทธิพลอย่างสูงต่อการสร้างนโยบายพัฒนาประเทศของสหรัฐอเมริกา และประเทศที่รับเอาแนวคิดพฤติกรรมศาสตร์ไปปรับใช้เป็นอย่างมาก จนมีการกล่าวว่า “พฤติกรรมศาสตร์นั้นจะถูกเข้าใจว่าเป็นเพียงจารีตของการวิจัย แต่พฤติกรรมศาสตร์คือการเคลื่อนไหวทางสังคมที่มุ่งสร้างนิยามทางพฤติกรรมศาสตร์ที่จะเปิดโลกด้วยสิ่งที่นักพฤติกรรมศาสตร์ต้องการ ” ซึ่งสิ่งสำคัญคือกระบวนการทั้งหมดต้องกระทำอย่างปลอดคติ (value - free)

นักรัฐศาสตร์ที่นิยมศึกษาตามแนวคิดของอีสตันจะเรียกตนเองว่านักทฤษฎีการเมือง (political theorist) ที่โดยพื้นฐานมองว่าทฤษฎี คือเครื่องมือในการทำความเข้าในสภาพการเมืองโดยรวม ซึ่งผลิตผลของการศึกษาทำความเข้าใจดังกล่าวจะได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์สร้างตัวแบบ (model) เพื่ออธิบายความจริง (fact) ที่เกิดขึ้น นิยามของสตีฟ แทนซีย์ (Stephen D. Tansey) นักรัฐศาสตร์ชาวอเมริกัน ว่าตัวแบบทางการเมือง (political model) คือ การทำให้ความเป็นจริงทางสังคมและทางการเมืองง่ายลง (a simplification of reality) ทำให้ผู้ศึกษา/เป็นเครื่องมือของผู้ศึกษา ในการหาความสัมพันธ์ต่างๆในข้อมูลที่ถูกเก็บมาศึกษา ในอีกภาษาหนึ่งตัวแบบทางการเมืองคือ “ภาพตัวแทนความจริงทางการเมืองที่ผู้ศึกษา “สร้างขึ้น หรือนำไปใช้” เพื่อหาความสัมพันธ์ของสิ่งที่ศึกษา”

ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์

ในช่วงที่สำนักพฤติกรรมศาสตร์ครอบงำวงวิชาการและองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์อเมริกันอยู่นั้น นักรัฐศาสตร์เชื่อมั่นในวิธีหาความรู้ที่พันผูกอยู่กับวิธีวิทยาแบบวิทยาศาสตร์, การทำสถิติ และการสร้างตัวแบบทางการเมือง และเชื่อว่าองค์ความรู้ที่ได้ดังกล่าวนั้นสามารถอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม และทางการเมืองได้อย่างแท้จริง เพราะเป็นการศึกษาที่นักรัฐศาสตร์เชื่อว่าเป็นกลางและปลอดอคติ ทว่ากลับกลายเป็นวงการรัฐศาสตร์อเมริกันในเวลานั้นลุ่มหลงอยู่กับการใช้ตัวเลข และสถิติขั้นสูงแต่กลับไม่ได้สร้างความเข้าใจสภาพสังคมการเมืองที่เป็นจริง ทำให้ใน ค.ศ. 1969 เดวิด อีสตันได้กล่าวในฐานะขององค์ปาฐกของการประชุมว่า วงการรัฐศาสตร์อเมริกันกำลังมาถึงจุดเปลี่ยน ซึ่งจุดเปลี่ยนดังกล่าวอีสตันเรียกว่า “การปฏิวัติหลังพฤติกรรมศาสตร์ (the revolution of post-behavioralism)” และ ปี 1971 อีสตันได้นำเสนอสาระสำคัญของวิชารัฐศาสตร์ช่วงหลังทศวรรษ 1970 หรือยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ โดยอีสตันเรียกว่า สาระสำคัญของรัฐศาสตร์หลังพฤติกรรมศาสตร์ หรือ “บัญญัติแห่งประเด็นสัมพันธ์ (Credo of Relevance)” ที่มีทั้งหมด 7 ข้อ ได้แก่

  • เนื้อหาสาระ (substance) ของรัฐศาสตร์จะต้องอยู่เหนือกว่าหรือสำคัญกว่า เทคนิคในการวิจัย
  • รัฐศาสตร์ต้องให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมไม่ใช่การรักษาสถานภาพเดิมของผู้มีอำนาจในสังคมไว้
  • นักรัฐศาสตร์ต้องทำให้สังคมได้รับทราบคำตอบและทางเลือกที่ดีกว่าในการแก้ปัญหาสังคม ไม่ใช่การแสดงให้เห็นด้วย ตัวเลขที่ไม่มีความหมายใดๆ
  • นักรัฐศาสตร์ต้องมีค่านิยมในการแสวงหาสังคมการเมืองที่ดี ที่เหมาะควร
  • นักรัฐศาสตร์ต้อง ปกป้อง ค่านิยมด้าน ความมีอารยธรรมของมนุษย์ มนุษย์ต่างจากสัตว์อื่นๆ ตรงที่ สามารถแยกแยะว่า อะไรดี, อะไรชั่ว, อะไรถูก, อะไรผิด
  • นักรัฐศาสตร์ที่เข้าใจปัญหาสังคม จะหนีปัญหาสังคมไปไม่ได้
  • นักรัฐศาสตร์จึงต้องเน้นเรื่องของการมีส่วนร่วมในทางเมือง หรือ การเมืองที่ปฏิบัติจริง (political praxis) ให้มากขึ้น

การศึกษาทฤษฎีทางการเมืองในยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ จึงเริ่มหันไปเน้นไปที่การศึกษา “มโนทัศน์ (concept)” ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองของนักปรัชญาคนต่างๆ และในขณะเดียวกันการที่มนุษย์รับรู้สรรพสิ่งต่างๆในโลกผ่านการคิด, การเขียน และการพูดในเชิงสัญลักษณ์ที่เรียกกันว่าภาษา พูดในอีกทางหนึ่งการศึกษาทฤษฎีการเมืองจึงเป็นเรื่องของการศึกษาตัวภาษา และสิ่งที่เกี่ยวข้องกับภาษาที่นักปรัชญาการเมืองใช้ในการอธิบายสรรพสิ่ง การนำภาษามาใช้ในทางการเมือง จะเกี่ยวพันอยู่กับปัจจัยทางการเมือง 3 สิ่งนั่นคือ อุดมการณ์, มโนทัศน์ และค่านิยม ซึ่ง ค่านิยมทางการเมืองเป็นสิ่งที่นักปรัชญาการเมืองประเมินคุณค่าของปัจจัยทางการเมือง ค่านิยมเป็นฐานทางศีลธรรม หรือความคิด ทางการเมืองของนักปรัชญาที่แสดงให้รู้ได้ว่านักปรัชญาการเมืองเห็นว่าสิ่งใดควร (should), สิ่งใดสมควร (ought) และสิ่งใดจำเป็น (might) ที่จะต้องเกิด ส่วนอุดมการณ์นั้นคือรูปแบบของความคิดทางการเมือง โดยอุดมการณ์คือผลของการเชื่อมโยงเอาทฤษฎีกับการกระทำเข้าไว้ด้วยกัน และที่สำคัญคืออุดมการณ์หนึ่งๆ มักจะทำให้เกิดความขัดแย้งกับอุดมการณ์อื่นๆ และมักถูกใช้เป็นอาวุธในทางการเมืองเสมอ

ปัจจุบันวิชาทฤษฎีการเมืองได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากลัทธิหลังสมัยใหม่

มโนทํศน์ทางการเมือง

มโนทัศน์ในทางการเมือง (political concepts) นั้นคือความคิดทางการเมืองที่มีความเป็นนามธรรมสูง อาทิ ความยุติธรรม (justice), สิทธิอำนาจ (authority), สิทธิ์ (right), ความเท่าเทียม (equality) และ เสรีภาพ (freedom) เป็นต้น ซึ่งโดยทั่วไปแล้วการถกเถียงในมโนทัศน์ทางการเมืองนั้นมักเกิดจากรากฐานในทางประวัติศาสตร์ ซึ่งรวมไปถึงปรัชญา, ศาสนา, อุดมการณ์, ทฤษฎี ฯลฯ ของผู้ที่ใคร่ครวญถึงมโนทัศน์ในทางการเมืองนั้นด้วย มโนทัศน์เป็นสิ่งที่สำคัญอันดับต้นๆในการศึกษาการเมือง อาจกล่าวได้ด้วยว่ารากฐานของการศึกษาการเมืองนั้นก็คือการศึกษาอำนาจต่างๆที่พยายามเข้ามาสร้างนิยามให้กับมโนทัศน์ต่างๆ ลักษณะพิเศษของมโนทัศน์ทางการเมืองมี 2 แบบคือ เป็นปทัศฐาน (normative) คือเป็นมโนทัศน์ที่นักรัฐศาสตร์ใช้สร้างความเข้าในเรื่องต่างๆ ให้แตกต่างจากเรื่องอื่น เช่นสร้างความเข้าใจว่า “รัฐประหาร” แตกต่างจาก “การปฏิวัติ” อย่างไร เป็นต้น และเป็นการพรรณนา (descriptive) คือเป็นมโนทัศน์ที่นักรัฐศาสตร์ใช้อธิบายความคิดในเรื่องนั้นๆ เช่น ในทัศนะของนักรัฐศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องการรัฐประหารนั้น การศึกษาดังกล่าวทำให้นักรัฐศาสตร์คนนั้นเข้าใจการรัฐประหารอย่างไร

มโนทัศน์ทางการเมืองจึงไม่มีความเป็นกลางทว่าได้ถูกแฝงได้ด้วยค่านิยมและอุดมการณ์ไว้แล้ว ดังนั้นนอกจากมโนทัศน์ทางการเมืองจะใช้อธิบายโลกที่นักรัฐศาสตร์เห็น แต่มโนทัศน์ทางการเมืองยังทำให้นักรัฐศาสตร์ไม่สามารถคิดออกจากกรอบของค่านิยม และอุดมการณ์ที่มีผลต่อมโนทัศน์ทางการเมืองด้วยในเวลาเดียวกัน เมื่อเป็นเช่นนี้นักรัฐศาสตร์จึงต้องระลึกเสมอว่ามโนทัศน์ในทางการเมืองนั้นมีลักษณะสัมพัทธ์ (relatively) การที่นักรัฐศาสตร์จะศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม และการเมืองใดๆ ด้วยมโนทัศน์ใดๆ นักรัฐศาสตร์ก็ต้องระลึกถึงข้อจำกัด และความเป็นการเมืองของมโนทัศน์ทางการเมืองต่างๆไว้ด้วย มโนทัศน์ทางการเมืองจึงมีลักษณะที่สำคัญที่สุดคือเป็น "มโนทัศน์ที่ต้องถกเถียง" (contested concept) ไม่มีความตายตัว มีลักษณะสัมพัทธ (relative) ซึ่งการนำข้อเสนอในการถกเถียงนั้นก็ขึ้นอยู่กับพื้นฐานทางทฤษฎีของนักีฐศาสตร์แต่ละตระกูล ว่ามีมุมมองความเชื่อ, อุดมการณ์ และค่านิยมอย่างไร

ความเข้าใจที่สับสนระหว่างปรัชญาการเมือง และทฤษฎีการเมือง

ดู ความเข้าใจที่สับสนระหว่างปรัชญาการเมือง และทฤษฎีการเมือง

อ้างอิง

  1. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ทฤษฎีการเมืองกับการศึกษารัฐศาสตร์. มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552.
  2. http://www.apsanet.org/
  3. Andrew Heywood. Political Theory. (3rd edition). New York : Palgrave Macmillan, 2004, p. 14-15.
  4. David Easton, “Introduction: The Current Meaning of ‘Behavioralism’ in Political Science,” in James S. Charlesworth (ed.). The Limits of Behavioralism in Political Science. Philadelphia : The American Academy of Political and Social Science, 1962, pp. 7 – 8.
  5. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ทฤษฎีการเมืองกับการศึกษารัฐศาสตร์. มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552.
  6. Stephen D. Tansey. Politics : the basic. (3rd Edition) London : Routledge, 2004, p.17.
  7. David Easton. The Political System : An Inquiry into the State of Political Science (2nd edition) (New York: Alfred A. Knopf, 1971), pp. 325 – 327 อ้างใน เชิญ ชวิณณ์ ศรีสุวรรณ, “แนวพินิจทางรัฐศาสตร์ : ภาวะวิทยา ญาณวิทยา และ วิธีวิทยา,” (๒๕๕๑), น. 23. Cited by http://www.buriram.ru.ac.th/00phpweb/down_load/fill/0907111104235YRYX.doc
  8. Andrew Heywood. Political Ideologies. (2nd edition) (New York : Macmillan, 1998), pp. 4 – 6.
  9. Stephen D. Tansey. Politics : the basic.(3rd Edition) (London : Routledge, 2004), p.47.
  10. Michael Freedman, “What Makes a Political Concept Political?” (paper prepared for delivery at the 2005 Annual Meeting of the American Political Science Association, September 1-4, 2005) : p. 24

ดูเพิ่ม

ทฤษฎ, การเม, อง, งกฤษ, political, theory, เป, นสาขาว, ชาหน, งของการเร, ยนการสอนว, ชาร, ฐศาสตร, ทฤษฏ, การเม, องเป, นสาขาว, ชาท, เก, ดมาพร, อมๆก, บว, ชาร, ฐศาสตร, อราว, ทศวรรษท, 1960, งเป, นช, วงท, ทยา, แบบว, ทยาศาสตร, เข, าม, ทธ, พลอย, างส, งในว, ชาร, ฐศาสตร, อ. thvsdikaremuxng xngkvs Political Theory epnsakhawichahnungkhxngkareriynkarsxnwicharthsastr thvstikaremuxngepnsakhawichathiekidmaphrxmkbwicharthsastr khuxraw thswrrsthi 1960 sungepnchwngthiwithiwithya aebbwithyasastrekhamixiththiphlxyangsunginwicharthsastr xyangirktamaemthvsdikaremuxngcaepnwichakhxngkarsuksakaremuxnginyukhwithyasastr thwakmithvsdikaremuxngcanwnimnxythiidrbxiththiphlmacaknkprchyakaremuxng enuxha 1 khwamhmay 2 prawtisastr 2 1 yukhphvtikrrmsastr 2 2 yukhhlngphvtikrrmsastr 3 monthsnthangkaremuxng 4 khwamekhaicthisbsnrahwangprchyakaremuxng aelathvsdikaremuxng 5 xangxing 6 duephimkhwamhmay aekikhduephimetimthi thvsdi thvsdikaremuxngekiywphnxyukbkarmxngaelakarekhaicinsingtang sungkarmxng aelakarekhaicnnepnephiyngaengmumthiaeprphniptamphumxng thvsdikaremuxngcungimichkhwamcringthangkaremuxng aetepnephiyngessesiywkhxngkhwamcringthangkaremuxngthithukrbruinkala ethsthitangknethann nxkcaknicakkarthiprchyakaremuxngepneruxngkhxngkarkhidaelacintnakarkhwamepnipidthidithisudinthangkaremuxng makkwathicaepneruxngkhxngkhwamruthiidmainechingprackshruxsphawkarnkhxngkaremuxngthiekidkhuncringsungepnsingthithvsdikaremuxngphyayamxthibay hruxniyamkhxngthvsdikaremuxngkkhux mummxnginthangkaremuxng nnexng 1 prawtisastr aekikhyukhphvtikrrmsastr aekikh hlngcakthikarsuksakaremuxngidekhasukrabwnkarkhxngkhwamepnsastr science inchwngthswrrs thi 1900 1950 wicharthsastridklayepnkrabwnwichainmhawithyaly odyechphaaxyangyinginshrthxemrikathierimmikarepidkareriynkarsxnepnkhna aelasakhawichaxyangcringcngraw kh s 1857 sungepnewlaimkipihlngsngkhramklangemuxngxemrikn kh s 1861 1865 in kh s 1903 idmikarcdtngsmakhmrthsastrxemrika American Political Science Association khun cungklawidwawngwichakarinshrthxemrikathaihkareriynkarsxnwichakaremuxnginyukhwithyasastryukhaerknietibotxyangsungphankarykradbcakkarsuksakaremuxngaebbkrabwnwicha discipline ihklayepnkarsuksakaremuxngaebbsthabn institutionalized discipline 2 chwngthswrrsthi 1920 charls emxreriym Charles Edward Merriam sastracarydanrthsastraehngmhawithyalychikhaok iderimexawithiwithyaaebbwithyasastrekhamasuksapraktkarninthangrthsastr odyidrbxiththiphlcakwngkarcitwithyaxemrikn emxreriymeriykwithikarniwakarsuksa phvtikrrmthangkaremuxng political behavior txmachwngthswrrs 1950 1960 kraaeswichakarrthsastriderimmikarphnwkexaaenwkhidkhxngsakhawichatangekhamaodyechphaaxyangyingsngkhmwithya sociology esrsthsastr economics prawtisastr history manusywithya anthropology citwithya psychology aela sthiti statistics ekhamaprayuktinwicharthsastr odymungennkarsuksaphanraebiybwithithangwithyasastr scientific method epnhlk klawkhux mikar srangsmmtithan ekbkhxmulxyangepnrabb mikarphisucn aelatrwcsxbsmmtithan sungkarsuksacanwnmaknnmiepaprasngkhthicaaekpyhainthangsngkhm aelapyhathangkaremuxngthiekidkhuninxemrika thiepnphlkrathbcaksngkhramolkkhrngthi 2 kh s 1939 1945 enuxngdwy inchwngsngkhramolkthngsxngkhrng kxihekidrabxbkarpkkhrxngaebbephdckarebdesrc Totalitarian Regimes inkaremuxngradbolk sngphltxwngwichakarrthsastrxemriknepnxnmak enuxngdwybrrdawichatangthisxninkhnarthsastr xathi rththrrmnuy prchyakaremuxng kdhmaypkkhrxng aelawichathiennhnkechphaakhwamruthangkaremuxnginrabbshrthimsamarthihkhatxbid hlngcaksngkhramolkkhrngthi 2 yutilng nkrthsastrxemrikn cungiderimprbepliynwithikarsuksawicharthsastrdwywithwithyaaebbwithyasastr sungodymakkidrbxiththiphlthangkhwamkhidcakemxreriym aemkrabwnkardngklawkthukklawthungwaepnkarnaexaraebiybwithiwicyaebbwithyasastrekhamaichinthangsngkhmsastraebbimtngkhathamwaehmaasmhruxim xyangir thwa xyangirktamkraaeskhwamkhiddngklawkthukyxmrbodynkrthsastrthnginxemrikaaelanxkxemrika cnmikareriykkhanknepnskulthangkarsuksawicharthsastrwasankphvtikrrmsastr behaviroralism enuxngdwyepnkarsuksapraktkarnthangsngkhmineruxngkaremuxngphankarsarwc observation aelawdkha measure phvtikrrmtangkhxngmnusy xathi thsnkhti attitude khwamphungphxic motivation aelapccy factor epntn 3 phaphsathxnkhxngkarsuksakaremuxnginyukhwithyasastrehnidcakthiedwid xistn David Easton sastracarydanrthsastrchawaekhnada niyamlksnaphiesskhxngphvtikrrmsastriwwa 4 mikhwamthwip txngsamarthxthibayxyangepnkarthwipid regularities samarthphisucnsaid commitment to verifications epnkrabwnkarsuksaxyangmiethkhnikh techniques samarthxthibaysingthisuksadwytwelkhidxyangthrngphlng quantification prascakkhaniym value free mikardaeninkarwicyxyangepnrabb systemization milksnaepnsastrbrisuththi pure science makkwasastrprayukt applied science burnakar phsmphsansngkhm aelakhaniymekhaiwdwykn integrating social and value karniyamkhxngxistnkxihekidxiththiphltxkrabwnwithikarthangankhxngnkrthsastrtrakulphvtikrrmepnxyangmak karwicythangsngkhm aelakaremuxngthiphyayamennsthanakhxngkhwamepnsastrthitrwcsxbid phisucnid prascakkhaniym mikhwamepnrabb mikhwamepnthwipdngthixistnesnxmixiththiphlxyangsungtxkarsrangnoybayphthnapraethskhxngshrthxemrika aelapraethsthirbexaaenwkhidphvtikrrmsastripprbichepnxyangmak cnmikarklawwa phvtikrrmsastrnncathukekhaicwaepnephiyngcaritkhxngkarwicy aetphvtikrrmsastrkhuxkarekhluxnihwthangsngkhmthimungsrangniyamthangphvtikrrmsastrthicaepidolkdwysingthinkphvtikrrmsastrtxngkar sungsingsakhykhuxkrabwnkarthnghmdtxngkrathaxyangplxdkhti value free 5 nkrthsastrthiniymsuksatamaenwkhidkhxngxistncaeriyktnexngwankthvsdikaremuxng political theorist thiodyphunthanmxngwathvsdi khuxekhruxngmuxinkarthakhwamekhainsphaphkaremuxngodyrwm sungphlitphlkhxngkarsuksathakhwamekhaicdngklawcaidmasungxngkhkhwamruthisamarthnamaprayuktsrangtwaebb model ephuxxthibaykhwamcring fact thiekidkhun niyamkhxngstif aethnsiy Stephen D Tansey nkrthsastrchawxemrikn watwaebbthangkaremuxng political model khux karthaihkhwamepncringthangsngkhmaelathangkaremuxngngaylng a simplification of reality thaihphusuksa epnekhruxngmuxkhxngphusuksa inkarhakhwamsmphnthtanginkhxmulthithukekbmasuksa 6 inxikphasahnungtwaebbthangkaremuxngkhux phaphtwaethnkhwamcringthangkaremuxngthiphusuksa srangkhun hruxnaipich ephuxhakhwamsmphnthkhxngsingthisuksa 5 yukhhlngphvtikrrmsastr aekikh inchwngthisankphvtikrrmsastrkhrxbngawngwichakaraelaxngkhkhwamrudanrthsastrxemriknxyunn nkrthsastrechuxmninwithihakhwamruthiphnphukxyukbwithiwithyaaebbwithyasastr karthasthiti aelakarsrangtwaebbthangkaremuxng aelaechuxwaxngkhkhwamruthiiddngklawnnsamarthxthibaypraktkarnthangsngkhm aelathangkaremuxngidxyangaethcring ephraaepnkarsuksathinkrthsastrechuxwaepnklangaelaplxdxkhti thwaklbklayepnwngkarrthsastrxemrikninewlannlumhlngxyukbkarichtwelkh aelasthitikhnsungaetklbimidsrangkhwamekhaicsphaphsngkhmkaremuxngthiepncring thaihin kh s 1969 edwid xistnidklawinthanakhxngxngkhpathkkhxngkarprachumwa wngkarrthsastrxemriknkalngmathungcudepliyn sungcudepliyndngklawxistneriykwa karptiwtihlngphvtikrrmsastr the revolution of post behavioralism aela pi 1971 xistnidnaesnxsarasakhykhxngwicharthsastrchwnghlngthswrrs 1970 hruxyukhhlngphvtikrrmsastr odyxistneriykwa sarasakhykhxngrthsastrhlngphvtikrrmsastr hrux byytiaehngpraednsmphnth Credo of Relevance thimithnghmd 7 7 khx idaek enuxhasara substance khxngrthsastrcatxngxyuehnuxkwahruxsakhykwa ethkhnikhinkarwicy rthsastrtxngihkhwamsakhykbkarepliynaeplnginsngkhmimichkarrksasthanphaphedimkhxngphumixanacinsngkhmiw nkrthsastrtxngthaihsngkhmidrbthrabkhatxbaelathangeluxkthidikwainkaraekpyhasngkhm imichkaraesdngihehndwy twelkhthiimmikhwamhmayid nkrthsastrtxngmikhaniyminkaraeswnghasngkhmkaremuxngthidi thiehmaakhwr nkrthsastrtxng pkpxng khaniymdan khwammixarythrrmkhxngmnusy mnusytangcakstwxun trngthi samarthaeykaeyawa xairdi xairchw xairthuk xairphid nkrthsastrthiekhaicpyhasngkhm cahnipyhasngkhmipimid nkrthsastrcungtxngenneruxngkhxngkarmiswnrwminthangemuxng hrux karemuxngthiptibticring political praxis ihmakkhunkarsuksathvsdithangkaremuxnginyukhhlngphvtikrrmsastr cungerimhnipennipthikarsuksa monthsn concept thiekiywkhxngkbkaremuxngkhxngnkprchyakhntang aelainkhnaediywknkarthimnusyrbrusrrphsingtanginolkphankarkhid karekhiyn aelakarphudinechingsylksnthieriykknwaphasa phudinxikthanghnungkarsuksathvsdikaremuxngcungepneruxngkhxngkarsuksatwphasa aelasingthiekiywkhxngkbphasathinkprchyakaremuxngichinkarxthibaysrrphsing karnaphasamaichinthangkaremuxng caekiywphnxyukbpccythangkaremuxng 3 singnnkhux xudmkarn monthsn aelakhaniym sung khaniymthangkaremuxngepnsingthinkprchyakaremuxngpraeminkhunkhakhxngpccythangkaremuxng khaniymepnthanthangsilthrrm hruxkhwamkhid thangkaremuxngkhxngnkprchyathiaesdngihruidwankprchyakaremuxngehnwasingidkhwr should singidsmkhwr ought aelasingidcaepn might thicatxngekid swnxudmkarnnnkhuxrupaebbkhxngkhwamkhidthangkaremuxng odyxudmkarnkhuxphlkhxngkarechuxmoyngexathvsdikbkarkrathaekhaiwdwykn aelathisakhykhuxxudmkarnhnung mkcathaihekidkhwamkhdaeyngkbxudmkarnxun aelamkthukichepnxawuthinthangkaremuxngesmx 8 pccubnwichathvsdikaremuxngidrbxiththiphlxyangsungcaklththihlngsmyihmmonthsnthangkaremuxng aekikhmonthsninthangkaremuxng political concepts nnkhuxkhwamkhidthangkaremuxngthimikhwamepnnamthrrmsung xathi khwamyutithrrm justice siththixanac authority siththi right khwamethaethiym equality aela esriphaph freedom epntn sungodythwipaelwkarthkethiynginmonthsnthangkaremuxngnnmkekidcakrakthaninthangprawtisastr sungrwmipthungprchya sasna xudmkarn thvsdi l khxngphuthiikhrkhrwythungmonthsninthangkaremuxngnndwy monthsnepnsingthisakhyxndbtninkarsuksakaremuxng xacklawiddwywarakthankhxngkarsuksakaremuxngnnkkhuxkarsuksaxanactangthiphyayamekhamasrangniyamihkbmonthsntang lksnaphiesskhxngmonthsnthangkaremuxngmi 2 aebbkhux 9 epnpthsthan normative khuxepnmonthsnthinkrthsastrichsrangkhwamekhaineruxngtang ihaetktangcakeruxngxun echnsrangkhwamekhaicwa rthprahar aetktangcak karptiwti xyangir epntn aelaepnkarphrrnna descriptive khuxepnmonthsnthinkrthsastrichxthibaykhwamkhidineruxngnn echn inthsnakhxngnkrthsastrthisuksaeruxngkarrthpraharnn karsuksadngklawthaihnkrthsastrkhnnnekhaickarrthpraharxyangirmonthsnthangkaremuxngcungimmikhwamepnklangthwaidthukaefngiddwykhaniymaelaxudmkarniwaelw dngnnnxkcakmonthsnthangkaremuxngcaichxthibayolkthinkrthsastrehn aetmonthsnthangkaremuxngyngthaihnkrthsastrimsamarthkhidxxkcakkrxbkhxngkhaniym aelaxudmkarnthimiphltxmonthsnthangkaremuxngdwyinewlaediywkn emuxepnechnninkrthsastrcungtxngralukesmxwamonthsninthangkaremuxngnnmilksnasmphthth relatively karthinkrthsastrcasuksapraktkarnthangsngkhm aelakaremuxngid dwymonthsnid nkrthsastrktxngralukthungkhxcakd aelakhwamepnkaremuxngkhxngmonthsnthangkaremuxngtangiwdwy 10 monthsnthangkaremuxngcungmilksnathisakhythisudkhuxepn monthsnthitxngthkethiyng contested concept immikhwamtaytw milksnasmphthth relative sungkarnakhxesnxinkarthkethiyngnnkkhunxyukbphunthanthangthvsdikhxngnkithsastraetlatrakul wamimummxngkhwamechux xudmkarn aelakhaniymxyangir 5 khwamekhaicthisbsnrahwangprchyakaremuxng aelathvsdikaremuxng aekikhdu khwamekhaicthisbsnrahwangprchyakaremuxng aelathvsdikaremuxngxangxing aekikh phisisthikul aekwngam thvsdikaremuxngkbkarsuksarthsastr mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 http www apsanet org Andrew Heywood Political Theory 3rd edition New York Palgrave Macmillan 2004 p 14 15 David Easton Introduction The Current Meaning of Behavioralism in Political Science in James S Charlesworth ed The Limits of Behavioralism in Political Science Philadelphia The American Academy of Political and Social Science 1962 pp 7 8 5 0 5 1 5 2 phisisthikul aekwngam thvsdikaremuxngkbkarsuksarthsastr mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 p 17 David Easton The Political System An Inquiry into the State of Political Science 2nd edition New York Alfred A Knopf 1971 pp 325 327 xangin echiy chwinn srisuwrrn aenwphinicthangrthsastr phawawithya yanwithya aela withiwithya 2551 n 23 Cited by http www buriram ru ac th 00phpweb down load fill 0907111104235YRYX doc Andrew Heywood Political Ideologies 2nd edition New York Macmillan 1998 pp 4 6 Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 p 47 Michael Freedman What Makes a Political Concept Political paper prepared for delivery at the 2005 Annual Meeting of the American Political Science Association September 1 4 2005 p 24duephim aekikhrthsastr prchyakaremuxng bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdikaremuxng amp oldid 8787628, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม