fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีการเรียนรู้ (อังกฤษ: learning theory) การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ที่จะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้เช่น ความเป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน หรือความไม่มีระเบียบวินัย สิ่งเหล่านี้ผู้สอนจะเป็นผู้สร้างเงื่อนไข และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน.

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom (Bloom's Taxonomy)

Bloom ได้แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับ

  • ความรู้ที่เกิดจากความจำ (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
  • ความเข้าใจ (Comprehend)
  • การประยุกต์ (Application)
  • การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้
  • การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถนำส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่
  • การประเมินค่า (Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ (Mayor)

ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะห์ความจำเป็นเป็นสิ่งสำคัญ และตามด้วยจุดประสงค์ของการเรียน โดยแบ่งออกเป็นย่อยๆ 3 ส่วนด้วยกัน

  • พฤติกรรม ควรชี้ชัดและสังเกตได้
  • เงื่อนไข พฤติกรรมสำเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ
  • มาตรฐาน พฤติกรรมที่ได้นั้นสามารถอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์ (Bruner)

  • ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์
  • ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
  • ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
  • ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
  • ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
  • เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์ (Tylor)

  • ความต่อเนื่อง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ต้องเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆ และต่อเนื่องกัน
  • การจัดช่วงลำดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความง่าย ไปสู่สิ่งที่มีความยาก ดังนั้นการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ ให้มีการเรียงลำดับก่อนหลัง เพื่อให้ได้เรียนเนื้อหาที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
  • บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียน ได้เพิ่มพูนความคิดเห็นและได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้อหาที่เรียนเป็นการเพิ่มความสามารถทั้งหมด ของผู้เรียนที่จะได้ใช้ประสบการณ์ได้ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ประสบการณ์การเรียนรู้ จึงเป็นแบบแผนของปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างผู้เรียนกับสถานการณ์ที่แวดล้อม

ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่ (Gagne)

  • การจูงใจ (Motivation Phase) การคาดหวังของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้
  • การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase) ผู้เรียนจะรับรู้สิ่งที่สอดคล้องกับความตั้งใจ
  • การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ (Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจำระยะสั้นและระยะยาว
  • ความสามารถในการจำ (Retention Phase)
  • ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase )
  • การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase)
  • การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase)
  • การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase) ผู้เรียนได้รับทราบผลเร็วจะทำให้มีผลดีและประสิทธิภาพสูง

องค์ประกอบที่สำคัญที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ จากแนวคิดนักการศึกษา กาเย่ (Gagne)

  • ผู้เรียน (Learner) มีระบบสัมผัสและ ระบบประสาทในการรับรู้
  • สิ่งเร้า (Stimulus) คือ สถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นสิ่งเร้าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
  • การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้

การสอนด้วยสื่อตามแนวคิดของกาเย่ (Gagne)

  • เร้าความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เช่น ใช้ การ์ตูน หรือ กราฟิกที่ดึงดูดสายตา
  • ความอยากรู้อยากเห็นจะเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียน การตั้งคำถามก็เป็นอีกสิ่งหนึ่ง
  • บอกวัตถุประสงค์ ผู้เรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค์ ให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียนเพื่อให้ทราบว่าบทเรียนเกี่ยวกับอะไร
  • กระตุ้นความจำผู้เรียน สร้างความสัมพันธ์ในการโยงข้อมูลกับความรู้ที่มีอยู่ก่อน เพราะสิ่งนี้สามารถทำให้เกิดความทรงจำในระยะยาวได้เมื่อได้โยงถึงประสบการณ์ผู้เรียน โดยการตั้งคำถาม เกี่ยวกับแนวคิด หรือเนื้อหานั้นๆ
  • เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการอธิบายเนื้อหาให้กับผู้เรียน โดยใช้สื่อชนิดต่างๆ ในรูป กราฟิก หรือ เสียง วิดีโอ
  • การยกตัวอย่าง การยกตัวอย่างสามารถทำได้โดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ เพื่อให้เข้าใจได้ซาบซึ้ง
  • การฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะหรือพฤติกรรม เป็นการวัดความเข้าใจว่าผู้เรียนได้เรียนถูกต้อง เพื่อให้เกิดการอธิบายซ้ำเมื่อรับสิ่งที่ผิด
  • การให้คำแนะนำเพิ่มเติม เช่น การทำแบบฝึกหัด โดยมีคำแนะนำ
  • การสอบ เพื่อวัดระดับความเข้าใจจจ
  • การนำไปใช้กับงานที่ทำในการทำสื่อควรมี เนื้อหาเพิ่มเติม หรือหัวข้อต่างๆ ที่ควรจะรู้เพิ่มเติม

ทฤษฎ, การเร, ยนร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, บทความน, อาจต, องเข. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaenathvsdikareriynru xngkvs learning theory kareriynrukhuxkrabwnkarthithaihkhnepliynaeplngphvtikrrm khwamkhid khnsamartheriynidcakkaridyinkarsmphs karxan karichethkhonolyi kareriynrukhxngedkaelaphuihycatangkn edkcaeriynrudwykareriyninhxng karsktham phuihymkeriynrudwyprasbkarnthimixyu aetkareriynrucaekidkhuncakprasbkarnthiphusxnnaesnx odykarptismphnthrahwangphusxnaelaphueriyn phusxncaepnphuthisrangbrryakasthangcitwithyathiexuxxanwytxkareriynru thicaihekidkhunepnrupaebbidkidechn khwamepnknexng khwamekhmngwdkwdkhn hruxkhwamimmiraebiybwiny singehlaniphusxncaepnphusrangenguxnikh aelasthankarneriynruihkbphueriyn dngnn phusxncatxngphicarnaeluxkrupaebbkarsxn rwmthngkarsrangptismphnthkbphueriyn enuxha 1 kareriynrutamthvsdikhxng Bloom Bloom s Taxonomy 2 kareriynrutamthvsdikhxngemeyxr Mayor 3 kareriynrutamthvsdikhxngbruenxr Bruner 4 kareriynrutamthvsdikhxngithelxr Tylor 5 thvsdikareriynru 8 khn khxngkaey Gagne 6 xngkhprakxbthisakhythikxihekidkareriynru cakaenwkhidnkkarsuksa kaey Gagne kareriynrutamthvsdikhxng Bloom Bloom s Taxonomy aekikhBloom idaebngkareriynruepn 6 radb khwamruthiekidcakkhwamca knowledge sungepnradblangsud khwamekhaic Comprehend karprayukt Application karwiekhraah Analysis samarthaekpyha trwcsxbid karsngekhraah Synthesis samarthnaswntang maprakxbepnrupaebbihmidihaetktangcakrupedim ennokhrngsrangihm karpraeminkha Evaluation wdid aelatdsinidwaxairthukhruxphid prakxbkartdsinicbnphunthankhxngehtuphlaelaeknththiaenchdkareriynrutamthvsdikhxngemeyxr Mayor aekikhinkarxxkaebbsuxkareriynkarsxn karwiekhraahkhwamcaepnepnsingsakhy aelatamdwycudprasngkhkhxngkareriyn odyaebngxxkepnyxy 3 swndwykn phvtikrrm khwrchichdaelasngektid enguxnikh phvtikrrmsaercidkhwrmienguxnikhinkarchwyehlux matrthan phvtikrrmthiidnnsamarthxyuineknththikahndkareriynrutamthvsdikhxngbruenxr Bruner aekikhkhwamruthuksranghruxhlxhlxmodyprasbkarn phueriynmibthbathrbphidchxbinkareriyn phueriynepnphusrangkhwamhmaykhunmacakaengmumtang phueriynxyuinsphaphaewdlxmthiepncring phueriyneluxkenuxhaaelakickrrmexng enuxhakhwrthuksranginphaphrwmkareriynrutamthvsdikhxngithelxr Tylor aekikhkhwamtxenuxng continuity hmaythung inwichathksa txngepidoxkasihmikarfukthksainkickrrmaelaprasbkarnbxy aelatxenuxngkn karcdchwngladb sequence hmaythung hruxkarcdsingthimikhwamngay ipsusingthimikhwamyak dngnnkarcdkickrrmaelaprasbkarn ihmikareriyngladbkxnhlng ephuxihideriynenuxhathiluksungyingkhun burnakar integration hmaythung karcdprasbkarncungkhwrepninlksnathichwyihphueriyn idephimphunkhwamkhidehnaelaidaesdngphvtikrrmthisxdkhlxngkn enuxhathieriynepnkarephimkhwamsamarththnghmd khxngphueriynthicaidichprasbkarnidinsthankarntang kn prasbkarnkareriynru cungepnaebbaephnkhxngptismphnth interaction rahwangphueriynkbsthankarnthiaewdlxmthvsdikareriynru 8 khn khxngkaey Gagne aekikhkarcungic Motivation Phase karkhadhwngkhxngphueriynepnaerngcungicinkareriynru karrbrutamepahmaythitngiw Apprehending Phase phueriyncarbrusingthisxdkhlxngkbkhwamtngic karprungaetngsingthirbruiwepnkhwamca Acquisition Phase ephuxihekidkhwamcarayasnaelarayayaw khwamsamarthinkarca Retention Phase khwamsamarthinkarralukthungsingthiideriynruipaelw Recall Phase karnaipprayuktichkbsingthieriynruipaelw Generalization Phase karaesdngxxkphvtikrrmthieriynru Performance Phase karaesdngphlkareriynruklbipyngphueriyn Feedback Phase phueriynidrbthrabphlerwcathaihmiphldiaelaprasiththiphaphsungxngkhprakxbthisakhythikxihekidkareriynru cakaenwkhidnkkarsuksa kaey Gagne aekikhphueriyn Learner mirabbsmphsaela rabbprasathinkarrbru singera Stimulus khux sthankarntang thiepnsingeraihphueriynekidkareriynru kartxbsnxng Response khux phvtikrrmthiekidkhuncakkareriynrukarsxndwysuxtamaenwkhidkhxngkaey Gagne erakhwamsnic miopraekrmthikratunkhwamsnickhxngphueriyn echn ich kartun hrux krafikthidungdudsayta khwamxyakruxyakehncaepnaerngcungicihphueriynsnicinbtheriyn kartngkhathamkepnxiksinghnung bxkwtthuprasngkh phueriynkhwrthrabthungwtthuprasngkh ihphueriynsnicinbtheriynephuxihthrabwabtheriynekiywkbxair kratunkhwamcaphueriyn srangkhwamsmphnthinkaroyngkhxmulkbkhwamruthimixyukxn ephraasingnisamarththaihekidkhwamthrngcainrayayawidemuxidoyngthungprasbkarnphueriyn odykartngkhatham ekiywkbaenwkhid hruxenuxhann esnxenuxha khntxnnicaepnkarxthibayenuxhaihkbphueriyn odyichsuxchnidtang inrup krafik hrux esiyng widiox karyktwxyang karyktwxyangsamarththaidodyykkrnisuksa karepriybethiyb ephuxihekhaicidsabsung karfukptibti ephuxihekidthksahruxphvtikrrm epnkarwdkhwamekhaicwaphueriynideriynthuktxng ephuxihekidkarxthibaysaemuxrbsingthiphid karihkhaaenanaephimetim echn karthaaebbfukhd odymikhaaenana karsxb ephuxwdradbkhwamekhaiccc karnaipichkbnganthithainkarthasuxkhwrmi enuxhaephimetim hruxhwkhxtang thikhwrcaruephimetimekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdikareriynru amp oldid 8449510, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม