fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีหน้าต่างแตก

ทฤษฎีหน้าต่างแตก (อังกฤษ: Broken windows theory) คือ ทฤษฎีทางอาชญาวิทยาของการสร้างมาตรฐาน และที่ผลของการก่อกวนและความวุ่นวายในตัวเมืองส่งผลต่อการเพิ่มของอาชญากรรม และพฤติกรรมต่อต้านสังคม ทฤษฎีระบุว่าการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเมืองโดยการป้องกันอาชญากรรมเบาๆ เช่น การก่อกวน การดื่มในที่สาธารณะ และการไม่จ่ายค่าโดยสาร มีส่วนช่วยในการสร้างบรรยากาศของความถูกต้องทางกฎหมาย ดังนั้นจึงมีส่วนช่วยในการยับยั้งการเกิดขึ้นของอาชญากรรมที่ร้ายแรง

หน้าต่างที่แตกของตึกร้างในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ทฤษฎีถูกริเริ่มในปี พ.ศ. 2525 ในบทความที่เขียนโดยนักสังคมศาสตร์  เจมส์ คิว วิลสัน และ จอร์จ แอล เคลลิ่ง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาทฤษฏีนี้ก็ได้เป็นที่ถกเถียงทั้งภายในสังคมศาสตร์เองและในพื้นที่สาธารณะ ทฤษฎีนี้ถูกใช้เป็นแรงบันดาลใจสำหรับการปฏิรูปในนโยบายทางอาชญากรรมมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง รวมไปถึงการใช้อย่างกว้างขวางของ "หยุด ถาม ค้น" โดยกรมตำรวจนครนิวยอร์ก

บทความและการป้องกันอาชญากรรม

เจมส์ คิว วิลสัน และ จอร์จ แอล เคลลิ่ง ได้เริ่มใช้ทฤษฎีหน้าต่างแตกเป็นครั้งแรกในบทความชื่อว่า หน้าต่างแตก ในนิตยสาร เดอะ แอตแลนติก มันท์ลี่ ฉบับเดือนมีนาคม ปีพ.ศ. 2525  โดยชื่อหัวข้อมาจากตัวอย่างต่อไปนี้ 

ก่อนการเริ่มใช้ของทฤษฏีนี้โดยวิลสันและเคลลิ่ง ฟิลลิป ซิมบาร์โด นักนักจิตวิทยาจากสแตนฟอร์ด ทำการทดลองเพื่อทดสอทฤษฎีหน้าต่างแตกในปีพ.ศ. 2512 ซิมบาร์โดได้นำรถซึ่งไม่มีป้ายทะเบียนและเปิดฟากระโปรงไว้ไปจอดนิ่งๆไว้ใน ย่านบร็องซ์หนึ่งคัน และที่พาโล อัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย รถในย่านบร็องซ์นั้นถูกโจมตีในเวลาไม่กี่นาที ซิมบาร์โดได้บันทึกว่า "ผู้ทำลายทรัพย์สิน" กลุ่มแรกคือครอบครัวที่มีพ่อ แม่ และลูกชายวัยเยาว์ ซึ่งนำหม้อน้ำและแบตเตอรี่ออกมา ไม่ถึง 24 ชั่วโมงหลังจากนำไปจอด ของมีค่าทั้งหมดถูกถอดออกไปจากรถ จากนั้นกระจกได้ถูกตีจนแตก ชิ้นส่วนหลุดออก เบาะที่นั่งขาดวิ่น ส่วนเด็กๆนั้นใช้รถเป็นสนามเด็กเล่น ในขณะเดียวกัน รถแบบเดียวกันที่ถูกจอดที่พาโล อัลโต นั้นไม่มีใครแตะต้องเป็นเวลากว่าหนึ่งสัปดาห์จนกระทั่งซิมบาร์โดเองนำค้อนไปทุบรถคันนั้น จากนั้นไม่นานจึงมีคนมาร่วมทำลาย ซิมบาร์โดสังเกตว่าผู้ใหญ่ที่เป็น "ผู้ทำลายทรัพย์สิน" ส่วนใหญ่นั้นเป็นคนผิวขาวที่แต่งตัวดี ตัดผมเรียบร้อย และดูเหมือนคนที่ได้รับการเคารพในสังคม เชื่อกันว่าในย่านที่อยู่อาศัยเช่นบร็องซ์ ซึ่งมีประวัติของการทิ้งร้างทรัพย์สินสูงกว่าที่อื่นนั้น มีการทำลายทรัพย์สินเกิดขึ้นรวดเร็วกว่าที่อื่นด้วยความที่ชุมชนนั้นดูไม่แยแส เหตุการณ์คล้ายกันอาจเกิดขึ้นในชุมชนไหนก็ได้เมื่อสัมผัสของการเอาใจใส่และหน้าที่ของความเป็นพลเมืองดี ถูกทำให้ลดลงโดยการกระทำที่สื่อถึงการไม่แยแส บทความได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางและยังถูกใช้อ้างอิง

ผู้แต่งหนังสือได้กล่าวไว้ว่า แผนการที่ประสบความสำเร็จในการป้องกันการทำลายทรัพย์สิน คือการจัดการกับปัญหาเมื่อมันยังเล็กอยู่ ซ่อมหน้าต่างที่แตกในเวลาอันสั้น ภายในประมาณซักหนึ่งวันหรือหนึ่งสัปดาห์ แล้วแนวโน้มที่กระจกจะแตกเพิ่มขึ้นหรือทรัพย์สินจะถูกทำลายจะน้อยลงมาก ทำความสะอาดทางเท้าทุกวัน แล้วแนวโน้มของขยะสะสมจะน้อยลง (หรือการทิ้งขยะลงบนทางเท้าจะน้อยลงมาก) สิ่งเหล่านี้จะทำให้ปัญหามีโอกาสน้อยลงที่จะบานปลายและยังทำให้ผู้อยู่อาศัยที่ "น่านับถือ" ไม่ย้ายที่อยู่หนีไป

ดังนั้นทฤษฎีนี้อ้างว่าหากอาชญากรรมเล็กๆและพฤติกรรมต่อต้านสังคมเล็กๆน้อยๆถูกขัดขวาง จะทำให้อาชญากรรมส่วนใหญ่ไม่เกิดขึ้นด้วยเช่นกัน การวิจารณ์ทฤษฎีนี้นั้นมีแนวโน้มที่จะเน้นไปที่การอ้างผลของทฤษฏีที่อาจจะเกินจริง

แนวคิดของความกลัว

ระนาสิงห์กล่าวว่าแนวคิดของความกลัวเป็นส่วนประกอบสำคัญของทฤษฎีหน้าต่างแตกเพราะความกลัวนั้นเป็นพื้นฐานของทฤษฎีนี้ เธอยังกล่าวอีกว่าความวุ่นวายในสังคมนั้น "...เป็นปัญหาเพราะว่ามันเป็นแหล่งที่มาของความกลัว" ความกลัวจะเพิ่มขึ้นเมื่อความวุ่นวายนั้นถูกมองว่ามากขึ้น สร้างเป็นรูปแบบทางสังคมที่ทำให้ชุมชนแตกแยก และทำให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกสิ้นหวังและถูกตัดขาด

คำอธิบายเชิงทฤษฎี

เหตุผลที่สถานะสิ่งแวดล้อมเมืองอาจส่งผลต่ออาชญากรรมนั้นอาจมาจากสามปัจจัยหลัก ดังนี้

  • บรรทัดฐานทางสังคม และ การทำตามกัน
  • การมีอยู่หรือขาดไปของการเฝ้าดูอย่าสม่ำเสมอ รวมไปถึง
  • การให้สัญญาณทางสังคม และ อาชญากรรมส่งสัญญาณ

ในสภาพแวดล้อมแบบเมืองซึ่งมีคนอยู่น้อยหรือไม่มีเลยนั้นมีบรรทัดฐานและการเฝ้าดูทางสังคมที่ไม่มีใครรู้แน่ชัด ดังนั้นบุคคลจึงมองหาสัญญาณเกี่ยวกับบรรทัดฐานทางสังคมในสภาพแวดล้อม รวมถึงความเสี่ยงในการถูกจับขณะละเมิดบรรทัดฐานเหล่านั้น โดยหนึ่งในสัญญาณเหล่านั้นคือสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปของพื้นที่

ภายใต้ทฤษฎีหน้าต่างแตก สภาพแวดล้อมที่สะอาดเรียบร้อยซึ่งถูกดูแลเป็นอย่างดีส่งสัญญาณว่าพื้นที่นั้นถูกเฝ้าดูและจะไม่ยอมให้เกิดอาชญากรรมขึ้น ในทางตรงข้าม สิ่งแวดล้อมที่ไม่เป็นระเบียบซึ่งไม่ได้รับการดูแล (มีหน้าต่างแตก มีรอยวาดตามผนัง มีขยะตามทาง) ส่งสัญญาณว่าพื้นที่นี้ไม่ได้ถูกเฝ้าดูและมีโอกาสไม่มากที่จะถูกจับเมื่อกระทำผิด

ทฤษฎีนี้สันนิษฐานว่าภูมิทัศน์ "สื่อสาร" กับคน หน้าต่างที่แตกส่งสัญญาณให้กับอาชญากรว่าชุมชนนี้ไม่มีการควบคุมทางสังคม และไม่สามารถปกป้องตนเองจากการบุกรุกทางอาชญากรรมได้ หน้าต่างที่แตกนั้นไม่ได้มีความสำคัญมากมายอะไร ทว่าข้อความที่หน้าต่างแตกๆส่งไปให้ผู้คนนั้น เป็นสัญลักษณ์ของความอ่อนแอและไร้การป้องกันของชุมชน รวมทั้งยังแสดงให้เห็นถึงความแตกแยกของผู้คนในชุมชน ละแวกบ้านที่มีการทำงานร่วมกันซ่อมหน้าต่างที่แตกและแสดงความรับผิดชอบทางสังคมได้ให้สิทธิ์ในการควบคุมพื้นที่กับตัวพวกเขาเอง แม้ทฤษฎีจะเน้นไปทางสิ่งแวดล้อมที่ถูกสร้างขึ่น ก็ยังต้องคำนึงถึงพฤติกรรมมนุษย์เช่นกัน

อ้างอิง

  1. Wilson, James Q; Kelling, George L (Mar 1982), "Broken Windows: The police and neighborhood safety", The Atlantic, retrieved 2007-09-03).
  2. Kelling, George; Coles, Catherine, Fixing Broken Windows: Restoring Order and Reducing Crime in Our Communities,ISBN 0-684-83738-2.
  3. Ranasinghe, P (2012), "Jane Jacobs' framing of public disorder and its relation to the 'broken windows' theory", Theoretical Criminology 16 (1): 63–84, doi:10.1177/1362480611406947.
  4. Herbert, Steve; Brown, Elizabeth (September 2006), "Conceptions of Space and Crime in the Punitive Neoliberal City", Antipode 38 (4): 755–77, doi:10.1111/j.1467-8330.2006.00475.x.

ทฤษฎ, หน, าต, างแตก, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, งกฤษ, broken, windows, theory, ทฤษฎ, ทางอาชญาว, ทยาของการสร, างมาตรฐา. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudthvsdihnatangaetk xngkvs Broken windows theory khux thvsdithangxachyawithyakhxngkarsrangmatrthan aelathiphlkhxngkarkxkwnaelakhwamwunwayintwemuxngsngphltxkarephimkhxngxachyakrrm aelaphvtikrrmtxtansngkhm thvsdirabuwakarduaelrksasingaewdlxmemuxngodykarpxngknxachyakrrmeba echn karkxkwn karduminthisatharna aelakarimcaykhaodysar miswnchwyinkarsrangbrryakaskhxngkhwamthuktxngthangkdhmay dngnncungmiswnchwyinkarybyngkarekidkhunkhxngxachyakrrmthirayaernghnatangthiaetkkhxngtukranginesntpietxrsebirk thvsdithukrieriminpi ph s 2525 inbthkhwamthiekhiynodynksngkhmsastr ecms khiw wilsn aela cxrc aexl ekhlling 1 tngaetnnepntnmathvstinikidepnthithkethiyngthngphayinsngkhmsastrexngaelainphunthisatharna thvsdinithukichepnaerngbndalicsahrbkarptirupinnoybaythangxachyakrrmmaaelwhlaytxhlaykhrng rwmipthungkarichxyangkwangkhwangkhxng hyud tham khn odykrmtarwcnkhrniwyxrk enuxha 1 bthkhwamaelakarpxngknxachyakrrm 2 aenwkhidkhxngkhwamklw 3 khaxthibayechingthvsdi 4 xangxingbthkhwamaelakarpxngknxachyakrrm aekikhecms khiw wilsn aela cxrc aexl ekhlling iderimichthvsdihnatangaetkepnkhrngaerkinbthkhwamchuxwahnatangaetk innitysar edxa aextaelntik mnthli chbbeduxnminakhm piph s 2525 1 odychuxhwkhxmacaktwxyangtxipni kxnkarerimichkhxngthvstiniodywilsnaelaekhlling fillip simbarod nknkcitwithyacaksaetnfxrd thakarthdlxngephuxthdsxthvsdihnatangaetkinpiph s 2512 simbarodidnarthsungimmipaythaebiynaelaepidfakraoprngiwipcxdningiwin yanbrxngshnungkhn aelathiphaol xlot rthaekhlifxreniy rthinyanbrxngsnnthukocmtiinewlaimkinathi simbarodidbnthukwa phuthalaythrphysin klumaerkkhuxkhrxbkhrwthimiphx aem aelalukchaywyeyaw sungnahmxnaaelaaebtetxrixxkma imthung 24 chwomnghlngcaknaipcxd khxngmikhathnghmdthukthxdxxkipcakrth caknnkrackidthukticnaetk chinswnhludxxk ebaathinngkhadwin swnedknnichrthepnsnamedkeln inkhnaediywkn rthaebbediywknthithukcxdthiphaol xlot nnimmiikhraetatxngepnewlakwahnungspdahcnkrathngsimbarodexngnakhxnipthubrthkhnnn caknnimnancungmikhnmarwmthalay simbarodsngektwaphuihythiepn phuthalaythrphysin swnihynnepnkhnphiwkhawthiaetngtwdi tdphmeriybrxy aeladuehmuxnkhnthiidrbkarekharphinsngkhm echuxknwainyanthixyuxasyechnbrxngs sungmiprawtikhxngkarthingrangthrphysinsungkwathixunnn mikarthalaythrphysinekidkhunrwderwkwathixundwykhwamthichumchnnnduimaeyaes ehtukarnkhlayknxacekidkhuninchumchnihnkidemuxsmphskhxngkarexaicisaelahnathikhxngkhwamepnphlemuxngdi thukthaihldlngodykarkrathathisuxthungkarimaeyaes 1 bthkhwamidrbkhwamsnicxyangkwangkhwangaelayngthukichxangxing 2 phuaetnghnngsuxidklawiwwa aephnkarthiprasbkhwamsaercinkarpxngknkarthalaythrphysin khuxkarcdkarkbpyhaemuxmnyngelkxyu sxmhnatangthiaetkinewlaxnsn phayinpramanskhnungwnhruxhnungspdah aelwaenwonmthikrackcaaetkephimkhunhruxthrphysincathukthalaycanxylngmak thakhwamsaxadthangethathukwn aelwaenwonmkhxngkhyasasmcanxylng hruxkarthingkhyalngbnthangethacanxylngmak singehlanicathaihpyhamioxkasnxylngthicabanplayaelayngthaihphuxyuxasythi nanbthux imyaythixyuhniipdngnnthvsdinixangwahakxachyakrrmelkaelaphvtikrrmtxtansngkhmelknxythukkhdkhwang cathaihxachyakrrmswnihyimekidkhundwyechnkn karwicarnthvsdininnmiaenwonmthicaennipthikarxangphlkhxngthvstithixaccaekincringaenwkhidkhxngkhwamklw aekikhranasinghklawwaaenwkhidkhxngkhwamklwepnswnprakxbsakhykhxngthvsdihnatangaetkephraakhwamklwnnepnphunthankhxngthvsdini 3 ethxyngklawxikwakhwamwunwayinsngkhmnn epnpyhaephraawamnepnaehlngthimakhxngkhwamklw 1 khwamklwcaephimkhunemuxkhwamwunwaynnthukmxngwamakkhun srangepnrupaebbthangsngkhmthithaihchumchnaetkaeyk aelathaihphuxyuxasyrusuksinhwngaelathuktdkhadkhaxthibayechingthvsdi aekikhehtuphlthisthanasingaewdlxmemuxngxacsngphltxxachyakrrmnnxacmacaksampccyhlk dngni brrthdthanthangsngkhm aela karthatamkn karmixyuhruxkhadipkhxngkarefaduxyasmaesmx rwmipthung karihsyyanthangsngkhm aela xachyakrrmsngsyyaninsphaphaewdlxmaebbemuxngsungmikhnxyunxyhruximmielynnmibrrthdthanaelakarefaduthangsngkhmthiimmiikhrruaenchd dngnnbukhkhlcungmxnghasyyanekiywkbbrrthdthanthangsngkhminsphaphaewdlxm rwmthungkhwamesiynginkarthukcbkhnalaemidbrrthdthanehlann odyhnunginsyyanehlannkhuxsphaphaewdlxmodythwipkhxngphunthiphayitthvsdihnatangaetk sphaphaewdlxmthisaxaderiybrxysungthukduaelepnxyangdisngsyyanwaphunthinnthukefaduaelacaimyxmihekidxachyakrrmkhun inthangtrngkham singaewdlxmthiimepnraebiybsungimidrbkarduael mihnatangaetk mirxywadtamphnng mikhyatamthang sngsyyanwaphunthiniimidthukefaduaelamioxkasimmakthicathukcbemuxkrathaphidthvsdinisnnisthanwaphumithsn suxsar kbkhn hnatangthiaetksngsyyanihkbxachyakrwachumchnniimmikarkhwbkhumthangsngkhm aelaimsamarthpkpxngtnexngcakkarbukrukthangxachyakrrmid hnatangthiaetknnimidmikhwamsakhymakmayxair thwakhxkhwamthihnatangaetksngipihphukhnnn epnsylksnkhxngkhwamxxnaexaelairkarpxngknkhxngchumchn rwmthngyngaesdngihehnthungkhwamaetkaeykkhxngphukhninchumchn laaewkbanthimikarthanganrwmknsxmhnatangthiaetkaelaaesdngkhwamrbphidchxbthangsngkhmidihsiththiinkarkhwbkhumphunthikbtwphwkekhaexng aemthvsdicaennipthangsingaewdlxmthithuksrangkhun kyngtxngkhanungthungphvtikrrmmnusyechnkn 4 xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 Wilson James Q Kelling George L Mar 1982 Broken Windows The police and neighborhood safety The Atlantic retrieved 2007 09 03 Kelling George Coles Catherine Fixing Broken Windows Restoring Order and Reducing Crime in Our Communities ISBN 0 684 83738 2 Ranasinghe P 2012 Jane Jacobs framing of public disorder and its relation to the broken windows theory Theoretical Criminology 16 1 63 84 doi 10 1177 1362480611406947 Herbert Steve Brown Elizabeth September 2006 Conceptions of Space and Crime in the Punitive Neoliberal City Antipode 38 4 755 77 doi 10 1111 j 1467 8330 2006 00475 x ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdihnatangaetk amp oldid 7682384, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม