fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีแนววิพากษ์

ทฤษฎีแนววิพากษ์ (อังกฤษ: critical theory) เป็นสำนักคิดที่เน้นย้ำการประเมินสะท้อนและการวิพากษ์สังคมและวัฒนธรรมโดยการประยุกต์ความรู้จากสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คำว่า "ทฤษฎีแนววิพากษ์" มีสองความหมาย ที่มีจุดกำเนิดและประวัติศาสตร์ต่างกัน คำแรกกำเนิดในวิชาสังคมวิทยา และอีกคำหนึ่งกำเนิดในวิชาวรรณคดีวิจารณ์ โดยที่มีการใช้และประยุกต์เป็นคำรวม ๆ ที่สามารถอธิบายทฤษฎีที่ตั้งอยู่บนการวิพากษ์ ฉะนั้น นักทฤษฎี มักซ์ ฮอร์คไฮเมอร์ (Max Horkheimer) อธิบายว่าทฤษฎีหนึ่งเป็นแนววิพากษ์ตราบเท่าที่ทฤษฎีนั้นมุ่ง "ปลดปล่อยมนุษย์จากพฤติการณ์ท่ทำให้เป็นทาส"

ในวิชาสังคมวิทยาและปรัชญาการเมือง คำว่า "ทฤษฎีแนววิพากษ์" อธิบายปรัชญาลัทธิมากซ์ใหม่ของสำนักแฟรงก์เฟิร์ต ซึ่งมีการพัฒนาในประเทศเยอรมนีในคริสต์ทศวรรษ 1930 การใช้คำนี้ในภาษาอังกฤษจะต้องใช้ตัวใหญ่เป็นวิสามานายาม (Critical Theory) ส่วนทฤษฎีแนววิพากษ์ (a critical theory) อาจมีส่วนประกอบของความคิดคล้ายกัน แต่ไม่เน้นการสืบทางปัญญาโดยเฉพาะจากสำนักแฟรงก์เฟิร์ต นักทฤษฎีสำนักแฟรงก์เฟิร์ตนำวิธีการวิพากษ์จากคาร์ล มากซ์ และซิกมุนด์ ฟรอยด์ ทฤษฎีแนววิพากษ์ยืนยันว่าอุดมการณ์เป็นอุปสรรคหลักของการปลดปล่อยมนุษย์ นักทฤษฎีสำนักแฟรงก์เฟิร์ต เฮอร์เบิร์ต มาร์คูเซอ (Herbert Marcuse), ทีโอดอร์ อะดอร์โน (Theodor Adorno), วัลเทอร์ เบนจามิน (Walter Benjamin), และอีริช ฟรอมม์ (Erich Fromm) เป็นบุคคลหลักในการตั้งทฤษฎีแนววิพากษ์เป็นสำนักคิด ทฤษฎีแนววิพากษ์สมัยใหม่ได้รับอิทธิพลเพิ่มเติมจากจอร์จี ลูกัช (György Lukács) และอันโตนีโอ กรัมชี ตลอดจนนักวิชาการสำนักแฟรงก์เฟิร์ตรุ่นที่สอง คนสำคัญคือ เยือร์เกิน ฮาเบอร์มัส (Jürgen Habermas) ในงานของฮาเบอร์มัส ทฤษฎีแนววิพากษ์ดีกว่าเหง้าทฤษฎีของมันในจิตนิยมเยอรมันและก้าวหน้าใกล้เคียงกับปฏิบัตินิยมอเมริกัน ความกังวลสำหรับ "ฐานและโครงสร้างส่วนบน (superstructure)" ทางสังคมเป็นมโนทัศน์ปรัชญาลัทธิมากซ์ที่ยังเหลืออยู่อันหนึ่งในทฤษฎีแนววิพากษ์ร่วมสมัยจำนวนมาก

แม้นักทฤษฎีแนววิพากษ์มักนิยามบ่อยครั้งเป็นปัญญาชนลัทธิมากซ์ แต่แนวโน้มของพวกเขาในการประณามมโนทัศน์บางอย่างของลัทธิมากซ์ และการผสมการวิเคราะห์แบบมากซ์กับขนบธรรมเนียมทางสังคมวิทยาและปรัชญาอย่างอื่นทำให้นักลัทธิมากซ์คลาสสิก ทรรศนะดั้งเดิมและวิเคราะห์ ตลอดจนนักปรัชญาลัทธิมากซ์–เลนินกล่าวหาว่าเป็นลัทธิแก้ มาร์ติน เจย์แถลงว่า ทฤษฎีแนววิพากษ์รุ่นแรกเข้าใจกันดีว่าไม่เป็นการสนับสนุนวาระปรัชญาหรืออุดมการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เป็น "เหลือบของระบบอื่น"

อ้างอิง

  1. (Horkheimer 1982, 244)
  2. [Geuss, R. The Idea of a Critical Theory, Cambridge, Cambridge University Press]
  3. Outhwaite, William. 1988. Habermas: Key Contemporary Thinkers 2nd Edition (2009), pp. 5-8 (ISBN 978-0-7456-4328-1)
  4. Jay, Martin (1996) The Dialectical Imagination: A History of the Frankfurt School and the Institute of Social Research, 1923–1950. University of California Press, ISBN 978-0-520-20423-2, p. 41

ทฤษฎ, แนวว, พากษ, งกฤษ, critical, theory, เป, นสำน, กค, ดท, เน, นย, ำการประเม, นสะท, อนและการว, พากษ, งคมและว, ฒนธรรมโดยการประย, กต, ความร, จากส, งคมศาสตร, และมน, ษยศาสตร, คำว, สองความหมาย, ดกำเน, ดและประว, ศาสตร, างก, คำแรกกำเน, ดในว, ชาส, งคมว, ทยา, และอ, กค. thvsdiaenwwiphaks xngkvs critical theory epnsankkhidthiennyakarpraeminsathxnaelakarwiphakssngkhmaelawthnthrrmodykarprayuktkhwamrucaksngkhmsastraelamnusysastr khawa thvsdiaenwwiphaks misxngkhwamhmay thimicudkaenidaelaprawtisastrtangkn khaaerkkaenidinwichasngkhmwithya aelaxikkhahnungkaenidinwichawrrnkhdiwicarn odythimikarichaelaprayuktepnkharwm thisamarthxthibaythvsdithitngxyubnkarwiphaks chann nkthvsdi mks hxrkhihemxr Max Horkheimer xthibaywathvsdihnungepnaenwwiphakstrabethathithvsdinnmung pldplxymnusycakphvtikarnththaihepnthas 1 inwichasngkhmwithyaaelaprchyakaremuxng khawa thvsdiaenwwiphaks xthibayprchyalththimaksihmkhxngsankaefrngkefirt sungmikarphthnainpraethseyxrmniinkhristthswrrs 1930 karichkhaniinphasaxngkvscatxngichtwihyepnwisamanayam Critical Theory swnthvsdiaenwwiphaks a critical theory xacmiswnprakxbkhxngkhwamkhidkhlaykn aetimennkarsubthangpyyaodyechphaacaksankaefrngkefirt nkthvsdisankaefrngkefirtnawithikarwiphakscakkharl maks aelasikmund frxyd thvsdiaenwwiphaksyunynwaxudmkarnepnxupsrrkhhlkkhxngkarpldplxymnusy 2 nkthvsdisankaefrngkefirt ehxrebirt markhuesx Herbert Marcuse thioxdxr xadxron Theodor Adorno wlethxr ebncamin Walter Benjamin aelaxirich frxmm Erich Fromm epnbukhkhlhlkinkartngthvsdiaenwwiphaksepnsankkhid thvsdiaenwwiphakssmyihmidrbxiththiphlephimetimcakcxrci lukch Gyorgy Lukacs aelaxnotniox krmchi tlxdcnnkwichakarsankaefrngkefirtrunthisxng khnsakhykhux eyuxrekin haebxrms Jurgen Habermas inngankhxnghaebxrms thvsdiaenwwiphaksdikwaehngathvsdikhxngmnincitniymeyxrmnaelakawhnaiklekhiyngkbptibtiniymxemrikn khwamkngwlsahrb thanaelaokhrngsrangswnbn superstructure thangsngkhmepnmonthsnprchyalththimaksthiyngehluxxyuxnhnunginthvsdiaenwwiphaksrwmsmycanwnmak 3 aemnkthvsdiaenwwiphaksmkniyambxykhrngepnpyyachnlththimaks aetaenwonmkhxngphwkekhainkarpranammonthsnbangxyangkhxnglththimaks aelakarphsmkarwiekhraahaebbmakskbkhnbthrrmeniymthangsngkhmwithyaaelaprchyaxyangxunthaihnklththimakskhlassik thrrsnadngedimaelawiekhraah tlxdcnnkprchyalththimaks elninklawhawaepnlththiaek martin ecyaethlngwa thvsdiaenwwiphaksrunaerkekhaickndiwaimepnkarsnbsnunwaraprchyahruxxudmkarnxyangidxyanghnung aetepn ehluxbkhxngrabbxun 4 xangxing aekikh Horkheimer 1982 244 Geuss R The Idea of a Critical Theory Cambridge Cambridge University Press Outhwaite William 1988 Habermas Key Contemporary Thinkers 2nd Edition 2009 pp 5 8 ISBN 978 0 7456 4328 1 Jay Martin 1996 The Dialectical Imagination A History of the Frankfurt School and the Institute of Social Research 1923 1950 University of California Press ISBN 978 0 520 20423 2 p 41ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdiaenwwiphaks amp oldid 8857107, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม