fbpx
วิกิพีเดีย

นันมาโตล

นันมาโตล (โปนเปย์: Nan Madol) เป็นแหล่งโบราณคดีบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกของเกาะโปนเปย์ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเขตมาโตเลนีม รัฐโปนเปย์ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก นันมาโตลเคยเป็นเมืองหลวงของราชวงศ์เซาเตเลวูร์จนถึง ค.ศ. 1628 นครแห่งนี้สร้างในพื้นที่ลากูนประกอบด้วยชุดของเกาะเทียมที่เชื่อมด้วยเครือข่ายของคลอง แกนกลางของแหล่งที่มีกำแพงหินล้อมรอบพื้นที่โดยประมาณยาว 1.5 กิโลเมตร และกว้าง 0.5 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีเกาะหินเทียมจำนวนเกือบ 100 เกาะ

นันมาโตล
แผนที่แสดงที่ตั้งของ นันมาโตล
พิกัดภูมิศาสตร์6°50′31″N 158°19′56″E / 6.8419°N 158.3322°E / 6.8419; 158.3322
ชื่อที่ขึ้นทะเบียนนันมาโตล : ศูนย์กลางพิธีการแห่งไมโครนีเซียตะวันออก
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์(i), (iii), (iv), (vi)
ขึ้นเมื่อ2016 คณะกรรมการสมัยที่ 40
เลขอ้างอิง1503
ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก
ขึ้นเมื่อ19 ธันวาคม 1974
เลขอ้างอิง74002226
ขึ้นเมื่อ16 กันยายน 1985
อ้างอิง
แผนที่นันมาโตล

นันมาโตลมีความหมายว่า "ภายในช่อง" ซึ่งอ้างถึงคลองที่ตัดสลับกันในพื้นที่ ในงานเขียน Pohnpei, An Island Argosy ของจีน แอชบี ระบุว่าแต่เดิมแล้วมีชื่อว่า โซวุนนันเล็ง (Soun Nan-leng - พืดหินแห่งสวรรค์) ซากนครเป็นส่วนหนึ่งของปริศนาที่ยิ่งใหญ่ทางโบราณคดีในปัจจุบัน บางครั้งนครแห่งนี้ถูกเรียกว่า "แอตแลนติส" "สิ่งหมัศจรรย์ของโลกแห่งที่แปด" และ "เวนิสแห่งแปซิฟิก"

ประวัติศาสตร์

นันมาโตลเป็นศูนย์กลางทางพิธีการและการเมืองของราชวงศ์เซาเตเลวูร์ ซึ่งมีส่วนในการรวมประชากรประมาณ 25,000 คน บนเกาะโปนเปย์ไว้ด้วยกัน จนถึง ค.ศ. 1628 ตั้งอยู่ระหว่างเกาะหลักโปนเปย์กับเกาะเจ็มเว็น พื้นที่แห่งนี้พบกิจกรรมของมนุษย์มาตั้งแต่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 หรือ 2 กระทั่งถึงประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 8 หรือ 9 การก่อสร้างเกาะเล็กได้เริ่มต้นขึ้นด้วยงานสถาปัตยกรรมหินขนาดใหญ่ช่วงระหว่าง ค.ศ. 1180–1200

การพิสูจน์การก่อสร้างหินขนาดใหญ่ทำได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ตามความเชื่อโปนเปย์อ้างว่าผู้สร้างแหล่งโบราณคดีเลลูบนเกาะโกชาเอ (ซึ่งใช้การก่อสร้างด้วยหินใหญ่เหมือนกัน) อพยพเข้ามาที่โปนเปย์ ซึ่งเขาใช้ทักษะและประสบการณ์ในการสร้างสิ่งที่น่าประทับใจยิ่งกว่าอย่างนันมาโตล ทว่าจากการหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีระบุได้ว่านันมาโตลเก่าแก่กว่าเลลู ทำให้นันมาโตลน่าจะเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างเลลู

ตามตำนานของโปนเปย์กล่าวว่าผู้วิเศษฝาแฝดชื่อว่าโอลิซีปาและโอโลโซปาจากกาเตาตะวันตกหรือกานัมไวโซ อันเป็นดินแดนในตำนาน พี่น้องคู่นี้เดินทางมาถึงด้วยเรือแคนูขนาดใหญ่เพื่อแสวงหาพื้นที่ในการสร้างแท่นบูชาเพื่อบูชาเทพนานีโซนซาป อันเป็นเทพแห่งเกษตรกรรม หลังจากการก่อสร้างที่ผิดพลาดหลายหลายครั้ง สองพี่น้องก็สามารถสร้างแท่นบูชาได้สำเร็จบริเวณห่างจากเกาะเจ็มเว็น ซึ่งพวกเข้าใช้ประกอบพิธีกรรม ตามตำนานพี่น้องยกหินขนาดใหญ่ให้ลอยด้วยความช่วยเหลือของมังกรบิน เมื่อโอลิซีปาเสียชีวิตด้วยโรคชรา โอโลโซปากลายเป็นผู้ปกครองเซาเตเลวูร์คนแรก โอโลโซปาได้แต่งงานกับหญิงท้องถิ่น และเป็นต้นตระกูลของอีก 12 รุ่นต่อมา นับเป็นผู้ปกครองเซาเตเลวูร์แห่งตระกูลติปวิลัป ("ยิ่งใหญ่")

ผู้สถาปนาราชวงศ์ปกครองอย่างมีเมตตา แต่ผู้สืบทอดรุ่นหลังเริ่มเรียกร้องความต้องการจากประชาราษฎร์มากยิ่งขึ้น การปกครองสิ้นสุดลงเมื่อเกิดการรุกรานของอิโซเกเลเก็ล ซึ่งเป็นผู้อาศัยในนันมาโตลเช่นกัน นำไปสู่การละทิ้งพื้นที่ในที่สุด John Stanislaw Kubary นักชาติพันธุ์วิทยาและนักสมุทรศาสตร์ชาวโปแลนด์เป็นบุคคลแรกที่ให้คำอธิบายโดยละเอียดของนันมาโตลใน ค.ศ. 1874

วัตถุประสงค์และลักษณะเฉพาะ

 
รายละเอียดชิ้นส่วนของเสาหินบะซอลต์

ศูนย์กลางที่ดีที่สุดเป็นพื้นที่พิเศษสำหรับการอยู่อาศัยของชนชั้นนำและกิจกรรมเกี่ยวกับความตายที่รับผิดชอบโดยนักบวช ประชากรในพื้นที่นี้มีอย่างมากที่สุดไม่เกิน 1,000 คนและอาจจะมีน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนนั้นก็เป็นได้ แม้ว่าประชากรจำนวนมากจะมีสถานะเป็นหัวหน้า (chief) ประชากรส่วนมากกลับเป็นสามัญชน นันมาโตลจึงเป็นพื้นที่ที่ผู้นำเซาเตเลวูร์ใช้สำหรับจัดการและควบคุมคู่แข่งที่มีศักยภาพ ด้วยการให้พวกเขาอาศัยในนครแทนที่พื้นที่ของพวกเขา ซึ่งยากแก่การสังเกตพฤติกรรมของพวกเขา

พื้นที่ความตาย "มาโตลโปเว" ประกอบด้วยเกาะเล็ก 58 เกาะ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของนันมาโตล เกาะเล็กส่วนมากถูกครอบครองโดยนักบวช เกาะเล็กบางแห่งมีไว้เพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ เช่น การเตรียมอาหาร การก่อสร้างแคนูที่ตาปาว (Dapahu) และการเตรียมน้ำมันมะพร้าวที่เปย์เนริง (Peinering) กำแพงสูงตั้งล้อมรอบที่เก็บศพตั้งอยู่ที่เปยินกิเจ็ล (Peinkitel) การิยัน (Karian) และเลเม็นโกว์ (Lemenkou) แต่พื้นที่โดดเด่นที่สุดคือที่เก็บพระศพหลวงบนเกาะเล็กนันเตาวัส ซึ่งมีกำแพงสูงประมาณ 5.5–7.5 เมตรล้อมรอบที่เก็บศพกลางภายในลานหลัก ซึ่งสร้างสำหรับเซาเตเลวูร์พระองค์แรก

นันมาโตลไม่มีน้ำจืดและอาหาร โดยต้องมีการเก็บกักน้ำและเพาะปลูกพืชบนพื้นแผ่นดิน ในช่วงการปกครองของเซาเตเลวูร์ ชาวโปนเปย์จะนำน้ำและอาหารเข้ามาโดยเรือ เซาเตเลวูร์จะรับการถวายอาหารที่เกาะเล็กที่เจาะจงไว้ ในระยะแรกที่เปย์นิโยตและต่อมาขยับเข้ามาใกล้ขึ้นที่อูเซ็นนัม

ประมาณ ค.ศ. 1628 เมื่ออิโซเกเลเก็ลโค่นล้มเซาเตเลวูร์และเริ่มสมัยนาน-มวาร์กิส (Nahnmwarkis) ชนชั้นนำนาน-มวาร์กิส เข้ามาอาศัยอยู่ในนันมาโตล แต่จำเป็นต้องรวบรวมน้ำและอาหารด้วยตัวพวกเขาเอง ทำให้อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่พวกเขาตัดสินใจละทิ้งนันมาโตลในที่สุด และกลับไปอาศัยในเขตของตน อย่างไรก็ตามยังมีคำอธิบายอื่นกล่าวถึงการละทิ้งพื้นที่ หนึ่งในนั้นคือการลดลงของประชากรอย่างรวดเร็ว

โบราณคดี

ปัจจุบันนันมาโตลเป็นเขตโบราณคดีครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 18 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงสถาปัตยกรรมหินที่สร้างขึ้นเหนือแนวปะการังตามชายฝั่งของเกาะเจ็มเว็น เกาะเล็กเทียมอื่น ๆ และบริเวณใกล้เคียงกับชายฝั่งเกาะหลักโปนเปย์ จากบริเวณแกนกลางนันมาโตลมีระยะทางโดยรอบ 1.5 × 0.5 กิโลเมตร อันประกอบด้วยเกาะเล็กเทียมเกือบ 100 เกาะและพื้นที่ยกสูง

การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสีระบุได้ว่าการก่อสร้างหินขนาดใหญ่ที่นันมาโตลเริมขึ้นประมาณ ค.ศ. 1180 เมื่อมีการนำหินบะซอลต์ขนาดใหญ่จากปลักภูเขาไฟที่ด้านตรงกันข้ามของโปนเปย์ การอยู่อาศัยในระยะแรกบนโปนเปย์น่าจะเริ่มประมาณ ค.ศ. 1 แม้ว่าการหาอายุจากคาร์บอนจะระบุว่ากิจกรรมของมนุษย์น่าจะเริ่มต้นขึ้นประมาณ ค.ศ. 80–200

เมื่อ ค.ศ. 1985 ซากปรักหักพังที่นันมาโตลได้รับการประกาศให้เป็นสิ่งสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งชาติ ขณะนีกำลังมีความพยายามครั้งใหญ่ในการอนุรักษ์นันมาโตล

ทฤษฎีทวีปที่สาบสูญ

บางคนตีความว่านันมาโตลเป็นส่วนหนึ่งของทวีปที่สาบสูญ เช่น ทวีปมูและทวีปเลมูเรีย นันมาโตลเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่เจมส์ เชิร์ชเวิร์ด ระบุว่าเป็นส่วนหนึ่งของทวีปที่สาบสูญมูในหนังสือ The Lost Continent of Mu Motherland of Man เมื่อ ค.ศ. 1926

บิล เอส. บอลลิงเกอร์ ผู้เขียนหนังสือ Lost City of Stones (ค.ศ. 1978) ตั้งทฤษฎีว่านครถูกสร้างโดยนักเดินเรือชาวกรีกเมื่อ 300 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนเดวิด แฮตเชอร์ ชิลเดส คาดว่านันมาโตลเป็นส่วนหนึ่งของทวีปที่สาบสูญเลมูเรีย ในหนังสือ The Coming Global Superstorm เมื่อ ค.ศ. 1999 เขียนโดยอาร์ต เบลล์และวิตลีย์ สตรีเบอร์ ซึ่งทำนายว่าภาวะโลกร้อนอาจสร้างผลกระทบทางภูมิอากาศที่ฉับพลันและหายนะ อ้างว่าการก่อสร้างนันมาโตลด้วยหินบะซอลต์ที่หนักและคงทน ซึ่งจำเป็นต้องใช้ความสามารถทางเทคโนโลยีระดับสูง เมื่อไม่มีหลักฐานสมัยใหม่ว่ามีสังคมเช่นนั้นอยู่ ดังนั้นสังคมแห่งนี้อาจถูกทำลายด้วยกระบวนการที่รวดเร็วก็ได้

วัฒนธรรมร่วมสมัย

วรรณกรรม

  • ซากปรักหักพังของนันมาโตลถูกใช้เป็นฉากสำหรับเผ่าที่สาบสูญในเรื่อง The Moon Pool (1918) แต่งเรื่องโดยเอ. เมอร์ริตต์ ซึ่งเกาะถูกเรียกว่า Nan-Tauach และซากปรักหักพังถูกเรียกว่า Nan-Matal
  • นันมาโตลและประวัติศาสตร์ของพื้นที่ถูกใช้เป็นพื้นฐานของนิยาย Deep Fathom (2001) เขียนโดยเจมส์ โรลลินส์
  • การ์ตูนเรื่อง Nameless โดยแกรนต์ มอร์ริสัน และคริส เบอร์นัม นครนันมาโตลเป็นที่ตั้งของกุญแจแห่งความฝันในตำนาน Nan Samwohl

เพลง

  • Nan Madol (1974) เป็นชื่ออัลบัมของเอ็ดเวิร์ด วาซาลา
  • Nan Ma Dol เป็นชื่อเพลงของวงเอ็นดูรา และปล่อยออกมาพร้อมกับอัลบัม Liber Leviathan (1996)
  • Ruins of Nan Madol (2014) เป็นเพลงของออดีโอมัคชีน

วีดีโอเกม

  • นันมาโตลปรากฏในฐานะนครรัฐวัฒนธรรมในเกมซิวิไลเซชัน VI โบนัสเฉพาะของนันมาโตลคือหากผู้เล่นมีอำนาจเหนือนันมาโตลจะได้รับค่าวัฒนธรรม +2 สำหรับเขตทั้งหมดที่ผู้เล่นสร้างบนหรือติดต่อกับชายฝั่ง หากผู้เล่นสามารถเกณฑ์ทหารของนันมาโตลได้ จะได้รับความสำเร็จ Army of Cthulhu

อ้างอิง

หมายเหตุ

  1. สมัยเซาเตเลวูร์กินเวลาประมาณ 500 ปี แต่ในตำนานมักกล่าวว่าล่มสลายในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1500 อย่างไรก็ตามนักโบราณคดีระบุอายุไว้ที่ประมาณ ค.ศ. 1628
  2. Hanlon (1988) จำนวนผู้ปกครองเซาเตเลวูร์มีประมาณแปดถึงสิบเจ็ดคน ทำให้ไม่สามารถรู้จำนวนที่แน่นอนได้:234

อ้างอิง

  1. "National Register Information System". National Register of Historic Places. National Park Service. 2007-01-23.
  2. . National Historic Landmark summary listing. National Park Service. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 11 May 2011. สืบค้นเมื่อ 28 June 2007.
  3. Nan Madol, Madolenihmw, Pohnpei 13 มิถุนายน 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน William Ayres, Department of Anthropology University Of Oregon, Accessed 26 September 2007
  4. Hanlon, David L (1988). Upon a Stone Altar: A History of the Island of Pohnpei to 1890. Pacific Islands Monograph. 5. University of Hawaii Press. pp. 13–25. ISBN 0-8248-1124-0. สืบค้นเมื่อ 1 January 2012.
  5. Cordy, Ross H (1993). The Lelu Stone Ruins (Kosrae, Micronesia): 1978-81 Historical and Archaeological Research. Asian and Pacific Archaeology. Social Science Research Institute, University of Hawaii at Manoa. pp. 14, 254, 258. ISBN 0-8248-1134-8. สืบค้นเมื่อ 31 December 2011.
  6. Morgan, William N (1988). Prehistoric Architecture in Micronesia. University of Texas Press. pp. 60, 63, 76, 85. ISBN 0-292-76506-1. สืบค้นเมื่อ 31 December 2011.
  7. Panholzer, Tom; Rufino, Mauricio (2003). Place Names of Pohnpei Island: Including And (Ant) and Pakin Atolls. Bess Press. pp. xiii, 21, 22, 25, 38, 48, 56, 63, 71. 72, 74, 104. ISBN 1-57306-166-2. สืบค้นเมื่อ 31 December 2011.
  8. Micronesica. University of Guam. 1990. pp. 92, 203, 277. สืบค้นเมื่อ 31 December 2011.
  9. https://www.nps.gov/places/nan-madol.htm
  10. Ashby, Gene; 'Pohnpei, An Island Argosy'; Publisher: Rainy Day Pr West; Revised edition (June 1987); ISBN 978-0-931742-14-9
  11. "Venice of the Pacific: The race to save the mysterious Micronesian ruins of Nan Madol". ABC News. June 17, 2018. สืบค้นเมื่อ October 5, 2020.
  12. McCoy, Mark D.; Alderson, Helen A.; Hemi, Richard; Cheng, Hai; Edwards, R. Lawrence (November 2016). "Earliest direct evidence of monument building at the archaeological site of Nan Madol (Pohnpei, Micronesia) identified using 230Th/U coral dating and geochemical sourcing of megalithic architectural stone" (PDF). Quaternary Research. 86 (3): 295–303. doi:10.1016/j.yqres.2016.08.002. สืบค้นเมื่อ 30 October 2017.
  13. Riesenberg, Saul H (1968). The Native Polity of Ponape. Contributions to Anthropology. 10. Smithsonian Institution Press. pp. 38, 51. สืบค้นเมื่อ 1 January 2012.
  14. Goodenough, Ward Hunt (2002). Under Heaven's Brow: Pre-Christian Religious Tradition in Chuuk. Memoirs of the American Philosophical Society. 246. American Philosophical Society. p. 293. ISBN 0-87169-246-5. สืบค้นเมื่อ 1 January 2012.
  15. Rainbird, Paul (2004). The Archaeology of Micronesia. Cambridge University Press. p. 21. ISBN 978-0521651882. สืบค้นเมื่อ 31 October 2017.
  16. Ballinger, Bill Sanborn (1978). Lost City of Stone: The Story of Nan Madol, the "Atlantis" of the Pacific. Simon and Schuster. pp. 45–8. ISBN 0-671-24030-7. สืบค้นเมื่อ 31 December 2011.
  17. Lost Cities of Ancient Lemuria & the Pacific, 1991, ISBN 0-932813-04-6

บรรณานุกรม

  • Ayres, William S. Nan Madol, Pohnpei. SAA Bulletin. Vol. 10, Nov. 1992. Society for American Archaeology.
  • Ayres, William S. Pohnpei's Position in Eastern Micronesian Prehistory, Micronesica, Supplement 2: Proceedings, Indo Pacific Prehistory Association, Guam, 1990, pp. 187–212.
  • Ayres, William S. Mystery Islets of Micronesia. Archaeology Jan-Feb 1990, pp. 58–63.
  • Ratzel, Prof. Friedrich The History of Mankind Book II, London 1896. Races of the Pacific and their migrations pp.  159-60. Includes a drawing entitled `Sepulchral monument in Ponapé, Caroline Islands. (From a photograph in the Godeffroy Album.)'

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ

นมาโตล, โปนเปย, madol, เป, นแหล, งโบราณคด, บร, เวณชายฝ, งด, านตะว, นออกของเกาะโปนเปย, จจ, นเป, นส, วนหน, งของเขตมาโตเลน, ฐโปนเปย, สหพ, นธร, ฐไมโครน, เซ, ในบร, เวณมหาสม, ทรแปซ, กตะว, นตก, เคยเป, นเม, องหลวงของราชวงศ, เซาเตเลว, จนถ, 1628, note, นครแห, งน, สร, าง. nnmaotl opnepy Nan Madol epnaehlngobrankhdibriewnchayfngdantawnxxkkhxngekaaopnepy pccubnepnswnhnungkhxngekhtmaotelnim rthopnepy shphnthrthimokhrniesiy inbriewnmhasmuthraepsifiktawntk nnmaotlekhyepnemuxnghlwngkhxngrachwngsesaetelwurcnthung kh s 1628 3 note 1 nkhraehngnisranginphunthilakunprakxbdwychudkhxngekaaethiymthiechuxmdwyekhruxkhaykhxngkhlxng 3 aeknklangkhxngaehlngthimikaaephnghinlxmrxbphunthiodypramanyaw 1 5 kiolemtr aelakwang 0 5 kiolemtr nxkcakniyngmiekaahinethiymcanwnekuxb 100 ekaannmaotlaephnthiaesdngthitngkhxng nnmaotlphikdphumisastr6 50 31 N 158 19 56 E 6 8419 N 158 3322 E 6 8419 158 3322mrdkolkodyyuensokchuxthikhunthaebiynnnmaotl sunyklangphithikaraehngimokhrniesiytawnxxkpraephthmrdkthangwthnthrrmeknth i iii iv vi khunemux2016 khnakrrmkarsmythi 40elkhxangxing1503phumiphakhexechiyaelaaepsifikU S National Register of Historic Placeskhunemux19 thnwakhm 1974elkhxangxing74002226 1 U S National Historic Landmark Districtkhunemux16 knyayn 1985 2 xangxingaephnthinnmaotl nnmaotlmikhwamhmaywa phayinchxng sungxangthungkhlxngthitdslbkninphunthi 9 innganekhiyn Pohnpei An Island Argosy khxngcin aexchbi rabuwaaetedimaelwmichuxwa oswunnnelng Soun Nan leng phudhinaehngswrrkh 10 saknkhrepnswnhnungkhxngprisnathiyingihythangobrankhdiinpccubn bangkhrngnkhraehngnithukeriykwa aextaelntis singhmscrrykhxngolkaehngthiaepd aela ewnisaehngaepsifik 11 enuxha 1 prawtisastr 2 wtthuprasngkhaelalksnaechphaa 3 obrankhdi 4 thvsdithwipthisabsuy 5 wthnthrrmrwmsmy 5 1 wrrnkrrm 5 2 ephlng 5 3 widioxekm 6 xangxing 6 1 hmayehtu 6 2 xangxing 6 3 brrnanukrm 7 aehlngkhxmulxunprawtisastr aekikhnnmaotlepnsunyklangthangphithikaraelakaremuxngkhxngrachwngsesaetelwur sungmiswninkarrwmprachakrpraman 25 000 khn bnekaaopnepyiwdwykn cnthung kh s 1628 3 tngxyurahwangekaahlkopnepykbekaaecmewn phunthiaehngniphbkickrrmkhxngmnusymatngaetchwngtnkhriststwrrsthi 1 hrux 2 krathngthungpramankhriststwrrsthi 8 hrux 9 karkxsrangekaaelkiderimtnkhundwyngansthaptykrrmhinkhnadihychwngrahwang kh s 1180 1200 12 karphisucnkarkxsranghinkhnadihythaidephiyngelknxyethann tamkhwamechuxopnepyxangwaphusrangaehlngobrankhdiellubnekaaokchaex sungichkarkxsrangdwyhinihyehmuxnkn xphyphekhamathiopnepy sungekhaichthksaaelaprasbkarninkarsrangsingthinaprathbicyingkwaxyangnnmaotl thwacakkarhaxayucakkharbxnkmmntrngsirabuidwannmaotlekaaekkwaellu thaihnnmaotlnacaepnaerngbndalicinkarsrangellu 12 tamtanankhxngopnepyklawwaphuwiessfaaefdchuxwaoxlisipaaelaoxolospacakkaetatawntkhruxkanmiwos xnepndinaednintanan phinxngkhuniedinthangmathungdwyeruxaekhnukhnadihyephuxaeswnghaphunthiinkarsrangaethnbuchaephuxbuchaethphnaniosnsap xnepnethphaehngekstrkrrm hlngcakkarkxsrangthiphidphladhlayhlaykhrng sxngphinxngksamarthsrangaethnbuchaidsaercbriewnhangcakekaaecmewn sungphwkekhaichprakxbphithikrrm tamtananphinxngykhinkhnadihyihlxydwykhwamchwyehluxkhxngmngkrbin emuxoxlisipaesiychiwitdwyorkhchra oxolospaklayepnphupkkhrxngesaetelwurkhnaerk oxolospaidaetngngankbhyingthxngthin aelaepntntrakulkhxngxik 12 runtxma nbepnphupkkhrxngesaetelwuraehngtrakultipwilp yingihy note 2 phusthapnarachwngspkkhrxngxyangmiemtta aetphusubthxdrunhlngerimeriykrxngkhwamtxngkarcakpracharasdrmakyingkhun karpkkhrxngsinsudlngemuxekidkarrukrankhxngxiosekelekl sungepnphuxasyinnnmaotlechnkn naipsukarlathingphunthiinthisud 7 13 14 John Stanislaw Kubary nkchatiphnthuwithyaaelanksmuthrsastrchawopaelndepnbukhkhlaerkthiihkhaxthibayodylaexiydkhxngnnmaotlin kh s 1874 15 wtthuprasngkhaelalksnaechphaa aekikh raylaexiydchinswnkhxngesahinbasxlt sunyklangthidithisudepnphunthiphiesssahrbkarxyuxasykhxngchnchnnaaelakickrrmekiywkbkhwamtaythirbphidchxbodynkbwch prachakrinphunthinimixyangmakthisudimekin 1 000 khnaelaxaccaminxykwakhrunghnungkhxngcanwnnnkepnid aemwaprachakrcanwnmakcamisthanaepnhwhna chief prachakrswnmakklbepnsamychn nnmaotlcungepnphunthithiphunaesaetelwurichsahrbcdkaraelakhwbkhumkhuaekhngthimiskyphaph dwykarihphwkekhaxasyinnkhraethnthiphunthikhxngphwkekha sungyakaekkarsngektphvtikrrmkhxngphwkekhaphunthikhwamtay maotlopew prakxbdwyekaaelk 58 ekaa thangtawnxxkechiyngehnuxkhxngnnmaotl ekaaelkswnmakthukkhrxbkhrxngodynkbwch ekaaelkbangaehngmiiwephuxwtthuprasngkhphiess echn karetriymxahar karkxsrangaekhnuthitapaw Dapahu aelakaretriymnamnmaphrawthiepyenring Peinering kaaephngsungtnglxmrxbthiekbsphtngxyuthiepyinkiecl Peinkitel kariyn Karian aelaelemnokw Lemenkou aetphunthioddednthisudkhuxthiekbphrasphhlwngbnekaaelknnetaws sungmikaaephngsungpraman 5 5 7 5 emtrlxmrxbthiekbsphklangphayinlanhlk sungsrangsahrbesaetelwurphraxngkhaerk 12 nnmaotlimminacudaelaxahar odytxngmikarekbkknaaelaephaaplukphuchbnphunaephndin inchwngkarpkkhrxngkhxngesaetelwur chawopnepycananaaelaxaharekhamaodyerux 4 6 16 esaetelwurcarbkarthwayxaharthiekaaelkthiecaacngiw inrayaaerkthiepynioytaelatxmakhybekhamaiklkhunthixuesnnm 6 7 praman kh s 1628 emuxxiosekeleklokhnlmesaetelwuraelaerimsmynan mwarkis Nahnmwarkis chnchnnanan mwarkis ekhamaxasyxyuinnnmaotl aetcaepntxngrwbrwmnaaelaxahardwytwphwkekhaexng thaihxacepnsaehtuhnungthiphwkekhatdsiniclathingnnmaotlinthisud aelaklbipxasyinekhtkhxngtn xyangirktamyngmikhaxthibayxunklawthungkarlathingphunthi hnunginnnkhuxkarldlngkhxngprachakrxyangrwderwobrankhdi aekikhpccubnnnmaotlepnekhtobrankhdikhrxbkhlumphunthimakkwa 18 tarangkiolemtr sungrwmthungsthaptykrrmhinthisrangkhunehnuxaenwpakarngtamchayfngkhxngekaaecmewn ekaaelkethiymxun aelabriewniklekhiyngkbchayfngekaahlkopnepy cakbriewnaeknklangnnmaotlmirayathangodyrxb 1 5 0 5 kiolemtr xnprakxbdwyekaaelkethiymekuxb 100 ekaaaelaphunthiyksungkarhaxayucakkharbxnkmmntrngsirabuidwakarkxsranghinkhnadihythinnmaotlerimkhunpraman kh s 1180 emuxmikarnahinbasxltkhnadihycakplkphuekhaifthidantrngknkhamkhxngopnepy karxyuxasyinrayaaerkbnopnepynacaerimpraman kh s 1 aemwakarhaxayucakkharbxncarabuwakickrrmkhxngmnusynacaerimtnkhunpraman kh s 80 200 12 emux kh s 1985 sakprkhkphngthinnmaotlidrbkarprakasihepnsingsakhythangprawtisastraehngchati khnanikalngmikhwamphyayamkhrngihyinkarxnurksnnmaotlthvsdithwipthisabsuy aekikhbangkhntikhwamwannmaotlepnswnhnungkhxngthwipthisabsuy echn thwipmuaelathwipelmueriy nnmaotlepnhnunginphunthithiecms echirchewird rabuwaepnswnhnungkhxngthwipthisabsuymuinhnngsux The Lost Continent of Mu Motherland of Man emux kh s 1926bil exs bxllingekxr phuekhiynhnngsux Lost City of Stones kh s 1978 tngthvsdiwankhrthuksrangodynkedineruxchawkrikemux 300 pikxnkhristkal swnedwid aehtechxr chileds khadwannmaotlepnswnhnungkhxngthwipthisabsuyelmueriy 17 inhnngsux The Coming Global Superstorm emux kh s 1999 ekhiynodyxart ebllaelawitliy striebxr sungthanaywaphawaolkrxnxacsrangphlkrathbthangphumixakasthichbphlnaelahayna xangwakarkxsrangnnmaotldwyhinbasxltthihnkaelakhngthn sungcaepntxngichkhwamsamarththangethkhonolyiradbsung emuximmihlkthansmyihmwamisngkhmechnnnxyu dngnnsngkhmaehngnixacthukthalaydwykrabwnkarthirwderwkidwthnthrrmrwmsmy aekikhwrrnkrrm aekikh sakprkhkphngkhxngnnmaotlthukichepnchaksahrbephathisabsuyineruxng The Moon Pool 1918 aetngeruxngodyex emxrritt sungekaathukeriykwa Nan Tauach aelasakprkhkphngthukeriykwa Nan Matal nnmaotlaelaprawtisastrkhxngphunthithukichepnphunthankhxngniyay Deep Fathom 2001 ekhiynodyecms orllins kartuneruxng Nameless odyaekrnt mxrrisn aelakhris ebxrnm nkhrnnmaotlepnthitngkhxngkuyaecaehngkhwamfnintanan Nan Samwohlephlng aekikh Nan Madol 1974 epnchuxxlbmkhxngexdewird wasala Nan Ma Dol epnchuxephlngkhxngwngexndura aelaplxyxxkmaphrxmkbxlbm Liber Leviathan 1996 Ruins of Nan Madol 2014 epnephlngkhxngxxdioxmkhchinwidioxekm aekikh nnmaotlpraktinthanankhrrthwthnthrrminekmsiwiileschn VI obnsechphaakhxngnnmaotlkhuxhakphuelnmixanacehnuxnnmaotlcaidrbkhawthnthrrm 2 sahrbekhtthnghmdthiphuelnsrangbnhruxtidtxkbchayfng hakphuelnsamartheknththharkhxngnnmaotlid caidrbkhwamsaerc Army of Cthulhuxangxing aekikhhmayehtu aekikh smyesaetelwurkinewlapraman 500 pi 4 aetintananmkklawwalmslayinchwngkhristthswrrs 1500 5 xyangirktamnkobrankhdirabuxayuiwthipraman kh s 1628 6 7 8 Hanlon 1988 canwnphupkkhrxngesaetelwurmipramanaepdthungsibecdkhn thaihimsamarthrucanwnthiaennxnid 4 234 xangxing aekikh National Register Information System National Register of Historic Places National Park Service 2007 01 23 Nan Madol National Historic Landmark summary listing National Park Service khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 11 May 2011 subkhnemux 28 June 2007 3 0 3 1 3 2 Nan Madol Madolenihmw Pohnpei Archived 13 mithunayn 2010 thi ewyaebkaemchchin William Ayres Department of Anthropology University Of Oregon Accessed 26 September 2007 4 0 4 1 4 2 Hanlon David L 1988 Upon a Stone Altar A History of the Island of Pohnpei to 1890 Pacific Islands Monograph 5 University of Hawaii Press pp 13 25 ISBN 0 8248 1124 0 subkhnemux 1 January 2012 Cordy Ross H 1993 The Lelu Stone Ruins Kosrae Micronesia 1978 81 Historical and Archaeological Research Asian and Pacific Archaeology Social Science Research Institute University of Hawaii at Manoa pp 14 254 258 ISBN 0 8248 1134 8 subkhnemux 31 December 2011 6 0 6 1 6 2 Morgan William N 1988 Prehistoric Architecture in Micronesia University of Texas Press pp 60 63 76 85 ISBN 0 292 76506 1 subkhnemux 31 December 2011 7 0 7 1 7 2 Panholzer Tom Rufino Mauricio 2003 Place Names of Pohnpei Island Including And Ant and Pakin Atolls Bess Press pp xiii 21 22 25 38 48 56 63 71 72 74 104 ISBN 1 57306 166 2 subkhnemux 31 December 2011 Micronesica University of Guam 1990 pp 92 203 277 subkhnemux 31 December 2011 https www nps gov places nan madol htm Ashby Gene Pohnpei An Island Argosy Publisher Rainy Day Pr West Revised edition June 1987 ISBN 978 0 931742 14 9 Venice of the Pacific The race to save the mysterious Micronesian ruins of Nan Madol ABC News June 17 2018 subkhnemux October 5 2020 12 0 12 1 12 2 12 3 McCoy Mark D Alderson Helen A Hemi Richard Cheng Hai Edwards R Lawrence November 2016 Earliest direct evidence of monument building at the archaeological site of Nan Madol Pohnpei Micronesia identified using 230Th U coral dating and geochemical sourcing of megalithic architectural stone PDF Quaternary Research 86 3 295 303 doi 10 1016 j yqres 2016 08 002 subkhnemux 30 October 2017 Riesenberg Saul H 1968 The Native Polity of Ponape Contributions to Anthropology 10 Smithsonian Institution Press pp 38 51 subkhnemux 1 January 2012 Goodenough Ward Hunt 2002 Under Heaven s Brow Pre Christian Religious Tradition in Chuuk Memoirs of the American Philosophical Society 246 American Philosophical Society p 293 ISBN 0 87169 246 5 subkhnemux 1 January 2012 Rainbird Paul 2004 The Archaeology of Micronesia Cambridge University Press p 21 ISBN 978 0521651882 subkhnemux 31 October 2017 Ballinger Bill Sanborn 1978 Lost City of Stone The Story of Nan Madol the Atlantis of the Pacific Simon and Schuster pp 45 8 ISBN 0 671 24030 7 subkhnemux 31 December 2011 Lost Cities of Ancient Lemuria amp the Pacific 1991 ISBN 0 932813 04 6 brrnanukrm aekikh Ayres William S Nan Madol Pohnpei SAA Bulletin Vol 10 Nov 1992 Society for American Archaeology Ayres William S Pohnpei s Position in Eastern Micronesian Prehistory Micronesica Supplement 2 Proceedings Indo Pacific Prehistory Association Guam 1990 pp 187 212 Ayres William S Mystery Islets of Micronesia Archaeology Jan Feb 1990 pp 58 63 Ratzel Prof Friedrich The History of Mankind Book II London 1896 Races of the Pacific and their migrations pp 159 60 Includes a drawing entitled Sepulchral monument in Ponape Caroline Islands From a photograph in the Godeffroy Album aehlngkhxmulxun aekikhewbistxyangepnthangkarkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb nnmaotlekhathungcak https th wikipedia org w index php title nnmaotl amp oldid 9257396, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม