fbpx
วิกิพีเดีย

โยคาจาร

นิกายโยคาจารตั้งขึ้นโดยเมตตรัยนาคซึ่งเกิดหลังนาคารชุนราว 100 ปี ชื่ออื่นๆของนิกายนี้คือ นิกายวิญญาณวาท หรือนิกายวิชญาณวาท สานุศิษย์ที่สืบต่อนิกายนี้คือ พระอสังคะ และพระวสุพันธุ พระทินนาคะ และพระธรรมปาละ เป็นต้น

คัมภีร์

คัมภีร์ที่สำคัญของนิกายนี้มี 5 คัมภีร์ คือ อวตังสกสูตร สันธินิรโมจนสูตร ลังกาวตารสูตร คันธวยูหสูตร และอภิธรรมสูตร นอกจากนี้ยังมีปกรณ์สำคัญเช่นโยคาจารภูมิศาสตร์ และคัมภีร์ปการณารวาจาศาสตร์

คัมภีร์ปการณารวาจาศาสตร์ (Prakaranaryavaca-sastra หรือ 顯揚聖敎論) แปลว่าการประกาศอันสอนคือปกรณ์แห่งพุทธศาสนา รจนาขึ้นโดยพระโพธิสัตว์อสังคะ เป็นตำราคำสอนสำคัญของนิกายโยคาจาร หรือนิกายธรรมลักษณ์ ขยายความคัมภีร์โยคาจารภูมิศาสตร์ อันเป็นตำราสำคัญของนิกายนี้ คัมภีร์ปการณารวาจาศาสตร์มีจำนวนทั้งสิ้น 20 ผูก แปลจากสันสกฤตเป็นภาษาจีนโดยพระเสวียนจั้ง หรือพระถังซำจั๋ง สมัยราชวงศ์ถัง

หนึ่งในคำสอนสำคัญของตำรานี้คือ การกล่าวว่า อาลัยวิญญาณเป็นภาวะเดียวกับตถาคตครรภ์ เมื่อเข้าใจอาลัยวิญญาณจะเข้าใจตถาคตครรภ์

อาลัยวิญญาณ หรือมูลวิญญาณ เป็นที่เก็บ พีชะ (เมล็ดพันธุ์แห่งการนำไปให้เกิด) อันเป็นมูลให้เกิดนามและรูป คือร่างกายและจิตใจสรรพชีวิตทั้งหลาย

หลักธรรม

นิกายนี้ถือว่าเฉพาะจิตเท่านั้นที่เป็นจริง ทุกอย่างคือจิตหรือมาจากจิต สิ่งอื่นนอกจากจิตไม่เป็นจริง เป็นแต่มายาของจิต มีอยู่ เป็นอยู่เพราะการคิดของจิต ทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรมเกิดมาจากจิต จิตเรียกอีกอย่างว่าอาลยวิญญาณ หรือธาตุรู้ ซึ่งเป็นบ่อเกิดและมูลฐานของทุกสรรพสิ่ง มีหน้าที่ 3 ประการคือ

  • รู้เก็บ หมายถึงรวบรวมพลังต่างๆของกรรมไว้ในอาลยวิญญาณ สิ่งที่ถูกเก็บไว้เรียกว่าพีชะ ซึ่งมี 3 อย่างคือ กุศลพีชะ อกุศลพีชะ และ อัพยากตพีชะ
  • รู้ก่อ หมายถึงการสร้างอารมณ์ต่างๆของจิต หรือการกำหนดอารมณ์อื่นๆที่จิตรับรู้
  • รู้ปรุง หมายถึง การปรุงอารมณ์ที่ก่อขึ้นให้วิจิตรพิสดารไป

วิญญาณนี้มีพีชะอาศัยอยู่ อาลยวิญญาณจะเก็บพีชะไว้ แล้วนำมาก่อและปรุงแต่งจนกลายเป็นวิบากของพีชะ พีชะจะเกิดดับอยู่ตลอดเวลาเป็นสันตติ นิกายนี้ถือว่ามีความจริงตามธรรมชาติอยู่ 3 อย่างคือ ปริกัลปิตลักษณะ ความจริงที่ไม่มีอยู่เลย เช่น หนวดเต่า เขากระต่าย ปรตันตสภาวะ คือความจริงแบบสมติสัจจะ และปริณิษปันนสภาวะคือความจริงแท้หรือปรมุตถสัจจะ วิปัสสนาญาณเป็นวิธีเดียวที่จะเข้าถึงปรมัตถสัจจะได้ เหตุผลทางตรรกศาสตร์ไม่อาจเข้าถึงมหายานได้ นิกายนี้แบ่งบุคคลตามพีชะที่ฝังอยู่ในอาลยวิญญาณได้ 5 ระดับ เรียกว่าปัญจโคตร คือ

  • พุทธพีชบุคคล คือผู้สร้างบารมีสู่พุทธภูมิ
  • ปัจเจกโพธิพีชบุคคล คือผู้สร้างบารมีเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
  • สาวกพีชบุคคล คือผู้สร้างบารมีเป็นพระอรหันต์
  • อนิยตพีชบุคคล ผู้มีคติไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับการอบรม
  • กิจฉันติกพีชบุคคล คือผู้ที่โปรดไม่ได้ในชาตินี้ แต่อาจบรรลุได้ หากปรับปรุงตัวในชาติต่อๆไป

นิกายนี้ได้ติเตียนนิกายมาธยมิกหรือฝ่ายศูนยวาทินอย่างรุนแรงว่าเป็นมิจฉาทิฐิ เป็นอุจเฉทวาทะ และนัตถิกวาทะ ส่วนฝ่ายศูนยวาทินโจมตีนิกายนี้ว่าเป็นสัสสตทิฐิคือเห็นว่าเที่ยง

นิกายโยคาจารในจีน

นิกายโยคาจารในจีนมีชื่อเรียกว่านิกายฝ่าเซียงหรือนิกายเว่ยซื่อ พระถังซัมจั๋งหรือสฉวนจั้ง เป็นผู้นำมาสู่ประเทศจีน ศิษย์คนสำคัญของท่านคือ ข่วยชิเป็นผู้สืบทอดต่อมา คัมภีร์สำคัญคือ มหายานสังคหะ

นิกายโยคาจารในญี่ปุ่น

นิกายโยคาจารในญี่ปุ่นเรียกว่านิกายฮอสโส ท่านโคโซเป็นคนนำนิกายนี้จากจีนมาเผยแพร่ในญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 1192

อ้างอิง

  1. Hsing Yun หน้า80
  2. Tamaki หน้า380 - 381
  3. ดูEight Consciousnesses
  4. ฟื้น ดอกบัว.ปวงปรัชญาอินเดีย. กทม. ศยาม. 2555 หน้า 389 - 399
  • ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุ่น. กทม. สุขภาพใจ. 2545
  • ประยงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม.โอเดียนสโตร์. 2548
  • Hsing Yun, (2009). Infinite Compassion, Endless Wisdom: The Practice of the Bodhisattva Path. Buddha's Light Publshing, U.S.A
  • Koshiro Tamaki, The Development of the Thought of Tathagatagarbha from India to China. in Journal of Indian and Buddhist Studies Volume 9 (1961) Issue 1 Pages 386-378

แหล่งข้อมูลอื่น

  • "Early Yogaacaara and Its Relationship with the Madhyamaka School", Richard King, Philosophy East & West, vol. 44 no. 4, October 1994, pp. 659-683
  • "Vijnaptimatrata and the Abhidharma context of early Yogacara", Richard King, Asian Philosophy, vol. 8 no. 1, March 1998, pp. 5-18
  • "The mind-only teaching of Ching-ying Hui-Yuan" (subtitle) "An early interpretation of Yogaacaara thought in China", Ming-Wood Liu, Philosophy East & West, vol. 35 no. 4, October 1985, pp. 351-375
  • Yogacara Buddhism Research Association; articles, bibliographies, and links to other relevant sites.

โยคาจาร, กายต, งข, นโดยเมตตร, ยนาคซ, งเก, ดหล, งนาคารช, นราว, ออ, นๆของน, กายน, กายว, ญญาณวาท, หร, อน, กายว, ชญาณวาท, สาน, ษย, บต, อน, กายน, พระอส, งคะ, และพระวส, นธ, พระท, นนาคะ, และพระธรรมปาละ, เป, นต, เน, อหา, มภ, หล, กธรรม, กายในจ, กายในญ, างอ, แหล, งข, อม. nikayoykhacartngkhunodyemttrynakhsungekidhlngnakharchunraw 100 pi chuxxunkhxngnikaynikhux nikaywiyyanwath hruxnikaywichyanwath sanusisythisubtxnikaynikhux phraxsngkha aelaphrawsuphnthu phrathinnakha aelaphrathrrmpala epntn enuxha 1 khmphir 2 hlkthrrm 3 nikayoykhacarincin 4 nikayoykhacarinyipun 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunkhmphir aekikhkhmphirthisakhykhxngnikaynimi 5 khmphir khux xwtngsksutr snthiniromcnsutr lngkawtarsutr khnthwyuhsutr aelaxphithrrmsutr nxkcakniyngmipkrnsakhyechnoykhacarphumisastr aelakhmphirpkarnarwacasastrkhmphirpkarnarwacasastr Prakaranaryavaca sastra hrux 顯揚聖敎論 aeplwakarprakasxnsxnkhuxpkrnaehngphuththsasna rcnakhunodyphraophthistwxsngkha epntarakhasxnsakhykhxngnikayoykhacar hruxnikaythrrmlksn khyaykhwamkhmphiroykhacarphumisastr xnepntarasakhykhxngnikayni 1 khmphirpkarnarwacasastrmicanwnthngsin 20 phuk aeplcaksnskvtepnphasacinodyphraeswiyncng hruxphrathngsacng smyrachwngsthnghnunginkhasxnsakhykhxngtaranikhux karklawwa xalywiyyanepnphawaediywkbtthakhtkhrrph emuxekhaicxalywiyyancaekhaictthakhtkhrrph 2 xalywiyyan hruxmulwiyyan epnthiekb phicha emldphnthuaehngkarnaipihekid xnepnmulihekidnamaelarup khuxrangkayaelaciticsrrphchiwitthnghlay 3 hlkthrrm aekikhnikaynithuxwaechphaacitethannthiepncring thukxyangkhuxcithruxmacakcit singxunnxkcakcitimepncring epnaetmayakhxngcit mixyu epnxyuephraakarkhidkhxngcit thngsngkhtthrrmaelaxsngkhtthrrmekidmacakcit citeriykxikxyangwaxalywiyyan hruxthaturu sungepnbxekidaelamulthankhxngthuksrrphsing mihnathi 3 prakarkhux ruekb hmaythungrwbrwmphlngtangkhxngkrrmiwinxalywiyyan singthithukekbiweriykwaphicha sungmi 3 xyangkhux kuslphicha xkuslphicha aela xphyaktphicha rukx hmaythungkarsrangxarmntangkhxngcit hruxkarkahndxarmnxunthicitrbru ruprung hmaythung karprungxarmnthikxkhunihwicitrphisdaripwiyyannimiphichaxasyxyu xalywiyyancaekbphichaiw aelwnamakxaelaprungaetngcnklayepnwibakkhxngphicha phichacaekiddbxyutlxdewlaepnsntti nikaynithuxwamikhwamcringtamthrrmchatixyu 3 xyangkhux priklpitlksna khwamcringthiimmixyuely echn hnwdeta ekhakratay prtntsphawa khuxkhwamcringaebbsmtiscca aelaprinispnnsphawakhuxkhwamcringaethhruxprmutthscca wipssnayanepnwithiediywthicaekhathungprmtthsccaid ehtuphlthangtrrksastrimxacekhathungmhayanid nikayniaebngbukhkhltamphichathifngxyuinxalywiyyanid 5 radb eriykwapycokhtr khux phuththphichbukhkhl khuxphusrangbarmisuphuththphumi pceckophthiphichbukhkhl khuxphusrangbarmiepnphrapceckphuththeca sawkphichbukhkhl khuxphusrangbarmiepnphraxrhnt xniytphichbukhkhl phumikhtiimaennxn khunxyukbkarxbrm kicchntikphichbukhkhl khuxphuthioprdimidinchatini aetxacbrrluid hakprbprungtwinchatitxipnikayniidtietiynnikaymathymikhruxfaysunywathinxyangrunaerngwaepnmicchathithi epnxucechthwatha aelantthikwatha swnfaysunywathinocmtinikayniwaepnssstthithikhuxehnwaethiyng 4 nikayoykhacarincin aekikhnikayoykhacarincinmichuxeriykwanikayfaesiynghruxnikayewysux phrathngsmcnghruxschwncng epnphunamasupraethscin sisykhnsakhykhxngthankhux khwychiepnphusubthxdtxma khmphirsakhykhux mhayansngkhhanikayoykhacarinyipun aekikhnikayoykhacarinyipuneriykwanikayhxsos thanokhosepnkhnnanikaynicakcinmaephyaephrinyipunemux ph s 1192xangxing aekikh Hsing Yun hna80 Tamaki hna380 381 duEight Consciousnesses fun dxkbw pwngprchyaxinediy kthm syam 2555 hna 389 399 thwiwthn punthrikwiwthn sasnaaelaprchyaincin thiebt aelayipun kthm sukhphaphic 2545 prayngkh aesnburan phraphuththsasnamhayan kthm oxediynsotr 2548 Hsing Yun 2009 Infinite Compassion Endless Wisdom The Practice of the Bodhisattva Path Buddha s Light Publshing U S A Koshiro Tamaki The Development of the Thought of Tathagatagarbha from India to China in Journal of Indian and Buddhist Studies Volume 9 1961 Issue 1 Pages 386 378aehlngkhxmulxun aekikh Early Yogaacaara and Its Relationship with the Madhyamaka School Richard King Philosophy East amp West vol 44 no 4 October 1994 pp 659 683 Vijnaptimatrata and the Abhidharma context of early Yogacara Richard King Asian Philosophy vol 8 no 1 March 1998 pp 5 18 The mind only teaching of Ching ying Hui Yuan subtitle An early interpretation of Yogaacaara thought in China Ming Wood Liu Philosophy East amp West vol 35 no 4 October 1985 pp 351 375 Yogacara Buddhism Research Association articles bibliographies and links to other relevant sites ekhathungcak https th wikipedia org w index php title oykhacar amp oldid 9167521, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม