fbpx
วิกิพีเดีย

ปรัชญาวัฒนธรรม

ปรัชญาวัฒนธรรม เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งที่ตรวจสอบสาระสำคัญและความหมายของวัฒนธรรม

วาทกรรมสมัยใหม่ตอนต้น

จินตนิยมแบบเยอรมัน

 
โยฮัน แฮร์เดอร์ ให้ความสนใจกับวัฒนธรรมประจำชาติ

อิมมานูเอล คานท์ ( Immanuel Kant ) นักปรัชญาชาวเยอรมัน (1724–1804) ได้กำหนดนิยามแบบปัจเจกนิยมของ "การสว่างวาบทางปัญญา" ซึ่งคล้ายกับแนวคิดของ bildung : "การสว่างวาบทางปัญญาคือการอุบัติความไม่สมบูรณ์ขึ้นในตัวมนุษย์เอง" เขาโต้แย้งว่าความไม่สมบูรณ์นี้ไม่ได้มาจากการขาดความเข้าใจ แต่มาจากการขาดความกล้าที่จะคิดอย่างเสรี เพื่อต่อต้านความขี้ขลาดทางปัญญา ค้านท์กระตุ้นโดยกล่าวว่า : Sapere aude "กล้าที่จะฉลาด!" ปฏิกิริยาที่มีต่อค้านท์ อย่างนักวิชาการชาวเยอรมัน อย่างเช่น โยฮัน ก็อทฟริท แฮร์เดอร์ (Johann Gottfried Herder) (1744–1803) แย้งว่าความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งจำเป็นต้องใช้รูปแบบที่คาดเดาไม่ได้และมีรูปแบบที่หลากหลายกว่ามีความสำคัญพอ ๆ กับความมีเหตุผลของมนุษย์ ยิ่งไปกว่านั้นแฮร์เดอร์ได้เสนอรูปแบบสะสมจาก bildung : "สำหรับแฮร์เดอร์แล้ว Bildung คือประสบการณ์ทั้งหมดที่มอบอัตลักษณ์ที่สอดคล้องกันและความรู้สึกถึงการมีโชคชะตาร่วมกันให้กับผู้คน"

 
อดอล์ฟ บาสเตียน พัฒนารูปแบบวัฒนธรรมสากล

ในปี ค.ศ. 1795 วิลเฮล์ม ฟอน ฮุมโบลด์ นักภาษาศาสตร์และนักปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ (1767 - 1835) เรียกร้องให้มีมานุษยวิทยาที่จะสังเคราะห์ความสนใจของคานท์และเฮอร์เดอร์เข้าไว้ด้วยกัน ในช่วงยุคโรแมนติก นักวิชาการในเยอรมนี โดยเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการชาตินิยม - เช่นการต่อสู้ของชาตินิยมเพื่อสร้าง "เยอรมนี" เกิดขึ้นจากความแตกต่างหลากหลายและการต่อสู้ของกลุ่มชาตินิยมโดยชนกลุ่มน้อยที่ต่อต้านจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี พัฒนาให้ครอบคลุมมากขึ้นความคิดของวัฒนธรรมในฐานะ " โลกทัศน์ " ( Weltanschauung ) ตามความคิดแนวนี้ กลุ่มชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มมีโลกทัศน์ที่แตกต่างกันซึ่งไม่สามารถเทียบได้กับโลกทัศน์ของกลุ่มอื่น ๆ แม้ว่าจะมีมุมมองที่ครอบคลุมมากกว่ามุมมองก่อนหน้านี้ แต่แนวทางวัฒนธรรมนี้ยังคงทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม "อารยะ" และวัฒนธรรม "ดั้งเดิม" หรือ วัฒนธรม "ชนเผ่า"

ในปีพ. ศ. 2403 อดอล์ฟ บาสเตียน (1826–1905) ได้โต้แย้งเรื่อง "ความเป็นหนึ่งเดียวทางจิตวิทยาของมนุษยชาติ" เขาได้เสนอว่าการเปรียบเทียบทางวิทยาศาสตร์ของสังคมมนุษย์ทั้งหมดจะแสดงให้เห็นว่าโลกทัศน์ที่แตกต่างกันนั้นประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐานที่เหมือนกัน ตามแนวคิดของบาสเตียนนั้น สังคมมนุษย์ทั้งหมดร่วมกันแบ่งปันชุด "ความคิดพื้นฐาน" ( Elementargedanken ); วัฒนธรรมที่แตกต่างกันหรือ "ความคิดพื้นเมือง" ที่แตกต่างกัน ( Völkergedanken ) เป็นการปรับเปลี่ยนความคิดพื้นฐานในท้องถิ่น มุมมองนี้ปูทางไปสู่ความเข้าใจวัฒนธรรมสมัยใหม่ Franz Boas (1858-1942) ได้รับการปลูกฝังในประเพณีนี้ และเขาได้นำออกมาใช้ด้วยเมื่อเขาออกจากเยอรมนีไปยังสหรัฐอเมริกา

จินตนิยมแบบอังกฤษ

 
แมทธิว อาร์โนลด์ กวีและนักวิจารณ์ชาวอังกฤษมองว่า "วัฒนธรรม" เป็นการปลูกฝังแนวคิดอุดมคติแบบมนุษยนิยม

ในศตวรรษที่ 19 Matthew Arnold (1822–1888) เป็นเป็นนักปรัชญามนุษยนิยม นักเขียนเรียงความและกวีชาวอังกฤษ เขาใช้คำศัพท์ "วัฒนธรรม" เพื่ออ้างถึงอุดมคติของการขัดเกลาของมนุษย์แต่ละคน แนวคิดของวัฒนธรรมนี้ก็เปรียบได้กับแนวคิด Bildung ของเยอรมัน เขากล่าวว่า " ... วัฒนธรรมเป็นการแสวงหาความสมบูรณ์แบบของสรรพสิ่งโดยให้ความหมายในการรับรู้ในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเรามากที่สุด และเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ได้เกิดจากความคิดและคำพูดที่อยู่ในโลกของเรา"

ในทางปฏิบัติ วัฒนธรรม อ้างถึงอุดมคติแบบ élite ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ศิลปะ ดนตรีคลาสสิก และ อาหารชั้นสูง เนื่องจากรูปแบบเหล่านี้เกี่ยวข้องกับชีวิตในเมือง คำว่า "วัฒนธรรม" จึงถูกสร้างขึ้นจาก "อารยธรรม" (มีที่มาจากคำว่า lat. civitas, city) อีกแง่หนึ่งของขบวนการลัทธิจินตนิยม คือ ความสนใจในคติชนวิทยา ซึ่งนำไปสู่การนิยามคำศัพท์ "วัฒนธรรม" ในกลุ่มชนที่ไม่ใช่ชนชั้นสูง มีลักษณะที่แตกต่างกันระหว่างวัฒนธรรมชั้นสูง กล่าวคือ กลุ่มสังคมของชนชั้นปกครอง และ วัฒนธรรมชั้นต่ำ กล่าวอีกนัยหนึ่ง แนวคิดเรื่อง "วัฒนธรรม" ที่พัฒนาขึ้นในยุโรปในระหว่างยุคศตวรรษที่ 18 และยุคศตวรรษที่ 19 ตอนต้นสะท้อนให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันภายในสังคมยุโรป

 
Edward Tylor นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษ เป็นหนึ่งในนักวิชาการที่พูดภาษาอังกฤษคนแรกที่ใช้คำศัพท์ "วัฒนธรรม" ในความหมายที่ครอบคลุมและเป็นสากล

แมทธิว อาร์โนลด์ เห็นแย้งกับ "วัฒนธรรม" ด้วยแนวคิดอนาธิปไตย ; ชาวยุโรปคนอื่น ๆ รวมถึงนักปรัชญาอย่าง โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) และ ช็อง-ชาค รุสโซ (Jean-Jacques Rousseau) ก็เห็นแย้งกับ "วัฒนธรรม" จาก "สภาพตามธรรมชาติ" ตามแนวคิดของฮอบส์และรุสโซ ชาวอเมริกันพื้นเมืองที่ถูกยึดครองโดยชาวยุโรปตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 อาศัยอยู่ในสภาพตามธรรมชาติ ความขัดแย้งนี้แสดงออกผ่านความแตกต่างระหว่าง "ความมีอารยะ" และ "ความไร้อารยะ" ตาแนวคิดนี้เราสามารถจำแนกลำดับชั้นของประเทศและชาติที่มีอารยธรรมมากกว่าประเทศอื่น อีกทั้งประชาชนบางกลุ่มก็มีวัฒนธรรมสูงกว่าประชาชนกลุ่มอื่น ความแตกต่างทางวัฒนธรรมนี้นำไปสู่การสร้างทฤษฏีดาร์วินทางสังคมของ Herbert Spencer และทฤษฎีวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของ Lewis Henry Morgan เช่นเดียวกับที่นักวิจารณ์บางคนโต้แย้งว่าความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมชั้นสูงและระดับต่ำเป็นการแสดงออกของความขัดแย้งระหว่างชนชั้นสูงชาวยุโรปและชนชั้นล่างในยุโรป นักวิจารณ์บางคนแย้งว่าความแตกต่างระหว่างประชาชนที่มีอารยะและประชาชนไร้อารยะนั้นเป็นการแสดงออกถึงความขัดแย้งระหว่างอำนาจของลัทธิอาณานิคมของชาวยุโรปและการล่าอาณานิคมของพวกเขา

นักวิจารณ์ในศตวรรษที่ 19 คนอื่นที่ได้รับอิทธิพลจาก รุสโซ (Rousseau) ยอมรับความแตกต่างนี้ระหว่างวัฒนธรรมชั้นสูงและวัฒนธรรมระดับต่ำ แต่ได้เห็นความละเอียดอ่อนและความซับซ้อนของวัฒนธรรมชั้นสูงว่าเป็นพัฒนาการที่เสียหายและผิดธรรมชาติซึ่งบดบังและบิดเบือนธรรมชาติที่สำคัญของประชาชน นักวิจารณ์เหล่านี้มองว่าดนตรีพื้นเมือง (สร้างสรรค์โดย "ชาวบ้าน" คือ ชาวชนบท ชาวนา ผู้ที่ไม่รู้หนังสือ) เพื่อแสดงวิถีชีวิตตามธรรมชาติอย่างตรงไปตรงมา ในขณะที่ดนตรีคลาสสิกดูผิวเผินและเสื่อมโทรม มุมมองนี้มักแสดงให้เห็นถึงชนพื้นเมืองในฐานะ "คนเถื่อนที่มีคุณธรรม" ซึ่งใช้ชีวิตตามอัตภาพและไม่มีความด่างพร่อย ไม่ซับซ้อนและไม่ถูกทำลายโดยระบบทุนนิยมของตะวันตกแบ่งชั้นของ

ในปี 1870 Edward Tylor (1832-1917) นักมานุษยวิทยา ได้ใช้แนวคิดของวัฒนธรรมชั้นสูงกับวัฒนธรรมชั้นต่ำเพื่อเสนอทฤษฎีวิวัฒนาการของศาสนา ตามทฤษฎีนี้ศาสนามีวิวัฒนาการจากรูปแบบที่หลากหลายจนนำไปสู่รูปแบบเดียวมากขึ้น ในกระบวนการนี้ เขาได้นิยามวัฒนธรรมใหม่ว่าเป็นชุดกิจกรรมที่หลากหลายของสังคมมนุษย์ทั้งหมด มุมมองนี้ปูทางไปสู่ความเข้าใจวัฒนธรรมสมัยใหม่

ดูเพิ่มเติม

  • Cultura

อ้างอิง

  1. Immanuel Kant 1784 "Answering the Question: What is Enlightenment?" (German: "Beantwortung der Frage: Was ist Aufklärung?") Berlinische Monatsschrift, December (Berlin Monthly)
  2. "Adolf Bastian", Today in Science History; "Adolf Bastian", Encyclopædia Britannica
  3. Arnold, Matthew. 1869. Culture and Anarchy.
  4. Williams (1983), p.90. Cited in Shuker, Roy (1994). Understanding Popular Music, p.5. ISBN 0-415-10723-7. argues that contemporary definitions of culture fall into three possibilities or mixture of the following three:
  5. Bakhtin 1981, p.4
  6. McClenon, pp.528-529

แหล่งที่มา

  • A Philosophy of Culture: The Scope of Holistic Pragmatism by Morton White

ปร, ชญาว, ฒนธรรม, เป, นปร, ชญาสาขาหน, งท, ตรวจสอบสาระสำค, ญและความหมายของว, ฒนธรรม, เน, อหา, วาทกรรมสม, ยใหม, ตอนต, นตน, ยมแบบเยอรม, นตน, ยมแบบอ, งกฤษ, เพ, มเต, างอ, แหล, งท, มาวาทกรรมสม, ยใหม, ตอนต, แก, ไขจ, นตน, ยมแบบเยอรม, แก, ไข, โยฮ, แฮร, เดอร, ให, ความสน. prchyawthnthrrm epnprchyasakhahnungthitrwcsxbsarasakhyaelakhwamhmaykhxngwthnthrrm enuxha 1 wathkrrmsmyihmtxntn 1 1 cintniymaebbeyxrmn 1 2 cintniymaebbxngkvs 2 duephimetim 3 xangxing 4 aehlngthimawathkrrmsmyihmtxntn aekikhcintniymaebbeyxrmn aekikh oyhn aehredxr ihkhwamsnickbwthnthrrmpracachati ximmanuexl khanth Immanuel Kant nkprchyachaweyxrmn 1724 1804 idkahndniyamaebbpceckniymkhxng karswangwabthangpyya sungkhlaykbaenwkhidkhxng bildung karswangwabthangpyyakhuxkarxubtikhwamimsmburnkhunintwmnusyexng 1 ekhaotaeyngwakhwamimsmburnniimidmacakkarkhadkhwamekhaic aetmacakkarkhadkhwamklathicakhidxyangesri ephuxtxtankhwamkhikhladthangpyya khanthkratunodyklawwa Sapere aude klathicachlad ptikiriyathimitxkhanth xyangnkwichakarchaweyxrmn xyangechn oyhn kxthfrith aehredxr Johann Gottfried Herder 1744 1803 aeyngwakhwamkhidsrangsrrkhkhxngmnusysungcaepntxngichrupaebbthikhadedaimidaelamirupaebbthihlakhlaykwamikhwamsakhyphx kbkhwammiehtuphlkhxngmnusy yingipkwannaehredxridesnxrupaebbsasmcak bildung sahrbaehredxraelw Bildung khuxprasbkarnthnghmdthimxbxtlksnthisxdkhlxngknaelakhwamrusukthungkarmiochkhchatarwmknihkbphukhn xdxlf basetiyn phthnarupaebbwthnthrrmsakl inpi kh s 1795 wilehlm fxn humobld nkphasasastraelankprchyaphuyingihy 1767 1835 eriykrxngihmimanusywithyathicasngekhraahkhwamsnickhxngkhanthaelaehxredxrekhaiwdwykn inchwngyukhoraemntik nkwichakarineyxrmni odyechphaaphuthiekiywkhxngkbkhbwnkarchatiniym echnkartxsukhxngchatiniymephuxsrang eyxrmni ekidkhuncakkhwamaetktanghlakhlayaelakartxsukhxngklumchatiniymodychnklumnxythitxtanckrwrrdixxsetriy hngkari phthnaihkhrxbkhlummakkhunkhwamkhidkhxngwthnthrrminthana olkthsn Weltanschauung tamkhwamkhidaenwni klumchatiphnthuaetlaklummiolkthsnthiaetktangknsungimsamarthethiybidkbolkthsnkhxngklumxun aemwacamimummxngthikhrxbkhlummakkwamummxngkxnhnani aetaenwthangwthnthrrmniyngkhngthaihekidkhwamaetktangrahwangwthnthrrm xarya aelawthnthrrm dngedim hrux wthnthrm chnepha inpiph s 2403 xdxlf basetiyn 1826 1905 idotaeyngeruxng khwamepnhnungediywthangcitwithyakhxngmnusychati ekhaidesnxwakarepriybethiybthangwithyasastrkhxngsngkhmmnusythnghmdcaaesdngihehnwaolkthsnthiaetktangknnnprakxbdwyxngkhprakxbphunthanthiehmuxnkn tamaenwkhidkhxngbasetiynnn sngkhmmnusythnghmdrwmknaebngpnchud khwamkhidphunthan Elementargedanken wthnthrrmthiaetktangknhrux khwamkhidphunemuxng thiaetktangkn Volkergedanken epnkarprbepliynkhwamkhidphunthaninthxngthin 2 mummxngniputhangipsukhwamekhaicwthnthrrmsmyihm Franz Boas 1858 1942 idrbkarplukfnginpraephnini aelaekhaidnaxxkmaichdwyemuxekhaxxkcakeyxrmniipyngshrthxemrika cintniymaebbxngkvs aekikh aemththiw xaronld kwiaelankwicarnchawxngkvsmxngwa wthnthrrm epnkarplukfngaenwkhidxudmkhtiaebbmnusyniym instwrrsthi 19 Matthew Arnold 1822 1888 epnepnnkprchyamnusyniym nkekhiyneriyngkhwamaelakwichawxngkvs ekhaichkhasphth wthnthrrm ephuxxangthungxudmkhtikhxngkarkhdeklakhxngmnusyaetlakhn 3 aenwkhidkhxngwthnthrrmnikepriybidkbaenwkhid Bildung khxngeyxrmn ekhaklawwa wthnthrrmepnkaraeswnghakhwamsmburnaebbkhxngsrrphsingodyihkhwamhmayinkarrbruinthukeruxngthiekiywkhxngkberamakthisud aelaepnsingthidithisudthiidekidcakkhwamkhidaelakhaphudthixyuinolkkhxngera inthangptibti wthnthrrm xangthungxudmkhtiaebb elite thiekiywkhxngkbkickrrmtang echn silpa dntrikhlassik aela xaharchnsung 4 enuxngcakrupaebbehlaniekiywkhxngkbchiwitinemuxng khawa wthnthrrm cungthuksrangkhuncak xarythrrm mithimacakkhawa lat civitas city xikaenghnungkhxngkhbwnkarlththicintniym khux khwamsnicinkhtichnwithya sungnaipsukarniyamkhasphth wthnthrrm inklumchnthiimichchnchnsung milksnathiaetktangknrahwangwthnthrrmchnsung klawkhux klumsngkhmkhxngchnchnpkkhrxng aela wthnthrrmchnta klawxiknyhnung aenwkhideruxng wthnthrrm thiphthnakhuninyuorpinrahwangyukhstwrrsthi 18 aelayukhstwrrsthi 19 txntnsathxnihehnthungkhwamimethaethiymknphayinsngkhmyuorp 5 Edward Tylor nkmanusywithyachawxngkvs epnhnunginnkwichakarthiphudphasaxngkvskhnaerkthiichkhasphth wthnthrrm inkhwamhmaythikhrxbkhlumaelaepnsakl aemththiw xaronld ehnaeyngkb wthnthrrm dwyaenwkhidxnathipity chawyuorpkhnxun rwmthungnkprchyaxyang othms hxbs Thomas Hobbes aela chxng chakh rusos Jean Jacques Rousseau kehnaeyngkb wthnthrrm cak sphaphtamthrrmchati tamaenwkhidkhxnghxbsaelarusos chawxemriknphunemuxngthithukyudkhrxngodychawyuorptngaetstwrrsthi 16 xasyxyuinsphaphtamthrrmchati khwamkhdaeyngniaesdngxxkphankhwamaetktangrahwang khwammixarya aela khwamirxarya taaenwkhidnierasamarthcaaenkladbchnkhxngpraethsaelachatithimixarythrrmmakkwapraethsxun xikthngprachachnbangklumkmiwthnthrrmsungkwaprachachnklumxun khwamaetktangthangwthnthrrmninaipsukarsrangthvstidarwinthangsngkhmkhxng Herbert Spencer aelathvsdiwiwthnakarthangwthnthrrmkhxng Lewis Henry Morgan echnediywkbthinkwicarnbangkhnotaeyngwakhwamaetktangrahwangwthnthrrmchnsungaelaradbtaepnkaraesdngxxkkhxngkhwamkhdaeyngrahwangchnchnsungchawyuorpaelachnchnlanginyuorp nkwicarnbangkhnaeyngwakhwamaetktangrahwangprachachnthimixaryaaelaprachachnirxaryannepnkaraesdngxxkthungkhwamkhdaeyngrahwangxanackhxnglththixananikhmkhxngchawyuorpaelakarlaxananikhmkhxngphwkekhankwicarninstwrrsthi 19 khnxunthiidrbxiththiphlcak rusos Rousseau yxmrbkhwamaetktangnirahwangwthnthrrmchnsungaelawthnthrrmradbta aetidehnkhwamlaexiydxxnaelakhwamsbsxnkhxngwthnthrrmchnsungwaepnphthnakarthiesiyhayaelaphidthrrmchatisungbdbngaelabidebuxnthrrmchatithisakhykhxngprachachn nkwicarnehlanimxngwadntriphunemuxng srangsrrkhody chawban khux chawchnbth chawna phuthiimruhnngsux ephuxaesdngwithichiwittamthrrmchatixyangtrngiptrngma inkhnathidntrikhlassikduphiwephinaelaesuxmothrm mummxngnimkaesdngihehnthungchnphunemuxnginthana khnethuxnthimikhunthrrm sungichchiwittamxtphaphaelaimmikhwamdangphrxy imsbsxnaelaimthukthalayodyrabbthunniymkhxngtawntkaebngchnkhxnginpi 1870 Edward Tylor 1832 1917 nkmanusywithya idichaenwkhidkhxngwthnthrrmchnsungkbwthnthrrmchntaephuxesnxthvsdiwiwthnakarkhxngsasna tamthvsdinisasnamiwiwthnakarcakrupaebbthihlakhlaycnnaipsurupaebbediywmakkhun 6 inkrabwnkarni ekhaidniyamwthnthrrmihmwaepnchudkickrrmthihlakhlaykhxngsngkhmmnusythnghmd mummxngniputhangipsukhwamekhaicwthnthrrmsmyihmduephimetim aekikhCulturaxangxing aekikh Immanuel Kant 1784 Answering the Question What is Enlightenment German Beantwortung der Frage Was ist Aufklarung Berlinische Monatsschrift December Berlin Monthly Adolf Bastian Today in Science History Adolf Bastian Encyclopaedia Britannica Arnold Matthew 1869 Culture and Anarchy Williams 1983 p 90 Cited in Shuker Roy 1994 Understanding Popular Music p 5 ISBN 0 415 10723 7 argues that contemporary definitions of culture fall into three possibilities or mixture of the following three Bakhtin 1981 p 4 McClenon pp 528 529aehlngthima aekikhA Philosophy of Culture The Scope of Holistic Pragmatism by Morton Whiteekhathungcak https th wikipedia org w index php title prchyawthnthrrm amp oldid 9157633, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม