fbpx
วิกิพีเดีย

ดนตรีคลาสสิก

ระวังสับสนกับ ดนตรียุคคลาสสิก

ดนตรีคลาสสิก (อังกฤษ: Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก

วงซิมโฟนีออเคสตรา

การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 5 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) กลุ่มที่ห้า คือ เครื่องลิ่มนิ้ว เช่น เปียโน ฮาร์ปซิคอร์ด เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง

ประวัติและเวลา

ดนตรีคลาสสิกแบ่งออกเป็นยุค ดังนี้

1. ดนตรีกรีก ประวัติของดนตรีกรีกโบราณตั้งแต่เริ่มต้นถึง 330 ปี ก่อนคริสตกาล(330 B.C;) เมื่อ วัฒนธรรมของกรีกแยกเป็น 2 สาย กล่าวคือ สายที่ 1 ทางตะวันออก (Alexander the Great) และสายที่ 2 ทางตะวันตก (ตามชาวโรมัน) เครื่องดนตรีได้แก่พิณไลร่า

2. ดนตรีโรมัน หลังจากกรีกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมัน ใน 146 ปี ก่อนคริสต์ศักราช อาณาจักรโรมันรับเอาวัฒนธรรมการดนตรีของกรีกไปทั้งหมด โดยมิได้มีการพัฒนารูปแบบของดนตรีไปสักเท่าไรนักยังคงใช้รูปแบบการร้องเสียงเดียว (Monophony) ซึ่งเรียกว่า เพลนซอง (Plain Song) หรือแชนท์(Chant) โดยมากแล้วแต่ละแห่งจะคำนึงถึงผลของการปฏิบัติมากกว่าที่จะยึดติดกับรูปแบบที่รับมาตายตัว

3. ยุคกลาง (Medieval or Middle Age) พ.ศ. 1019 - พ.ศ. 1943 ดนตรีคลาสสิกยุโรปยุคกลาง หรือ ดนตรียุคกลาง ถือว่าเป็นจุดกำเนิดของดนตรีคลาสสิก เริ่มต้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1019 (ค.ศ. 476) ซึ่งเป็นปีล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน ดนตรีในยุคนี้มีจุดประสงค์หลักเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนา คาดกันว่ามีต้นกำเนิดมาจากดนตรีในยุคกรีกโบราณ รูปแบบเพลงในยุคนี้เน้นที่การร้อง โดยเฉพาะเพลงสวด (Chant) ในตอนปลายของยุคกลางเริ่มมีการร้องเพลงแบบสอดทำนองประสานด้วย

4. ยุคเรเนสซองส์ (Renaissance) พ.ศ. 1943 - พ.ศ. 2143 เริ่มเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1943 (ค.ศ. 1400) เมื่อเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงศิลปะและฟื้นฟูศิลปะโบราณยุคโรมันและกรีก แต่ดนตรียังคงเน้นหนักไปทางศาสนา เพียงแต่เริ่มมีการใช้เครื่องดนตรีที่หลากหลายขึ้น ลักษณะของดนตรีในสมัยนี้ยังคงมีรูปแบบคล้ายยุคกลางในสมัยศิลป์ใหม่ เพลงร้องยังคงนิยมกัน แต่เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น

ดูเพิ่มที่ ยุคเรเนสซองส์

5. ยุคบาโรค (Baroque) พ.ศ. 2143 - พ.ศ. 2272 ยุคนี้เริ่มขึ้นเมื่อมีการกำเนิดอุปรากรในประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2143 (ค.ศ. 1600) และสิ้นสุดลงเมื่อ โยฮันน์ เซบาสเทียน บาค เสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) แต่บางครั้งก็นับกันว่าสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2273 (ค.ศ. 1730) เริ่มมีการเล่นดนตรีเพื่อการฟังมากขึ้นในหมู่ชนชั้นสูง นิยมการเล่นเครื่องดนตรีประเภทออร์แกนมากขึ้น แต่ก็ยังคงเน้นหนักไปทางศาสนา นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ เช่น บาค วีวัลดี เป็นต้น

ดูเพิ่มที่ ศิลปะบาโรค

6. ยุคโรโกโก (Rococo) พ.ศ. 2273 - พ.ศ. 2293 ดนตรีแบบกาล็องต์ (Galante Style) ระหว่างสมัยบาโรกและคลาสสิก ถือกันว่าเป็นดนตรีโรโกโก ดนตรีโรโกโกพัฒนามาจากดนตรีบาโรกโดยเฉพาะที่ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอาจจะกล่าวได้ว่าเป็นดนตรีที่ไม่ไปทางนาฏกรรมแต่จะนุ่มนวล อย่างงานของ ฌ็อง ฟิลิป ราโม (Jean Philippe Rameau) ลุย โกลด ดาแกง (Louis-Claude Daquin) และ François Couperin อยู่ในตอนปลายของยุคบาโรก

ดูเพิ่มที่ โรโกโก

7. ยุคคลาสสิก (Classical) พ.ศ. 2293 - พ.ศ. 2363 เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด มีกฎเกณฑ์ แบบแผน รูปแบบและหลักในการเล่นดนตรีอย่างชัดเจน ศูนย์กลางของดนตรียุคนี้คือประเทศออสเตรีย โดยเฉพาะที่กรุงเวียนนา และเมืองมานไฮม์ (Mannheim) เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่แน่นอน คือ วงเชมเบอร์มิวสิกและวงออร์เคสตรา ซึ่งในยุคนี้มีการใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท และยังถือเป็นแบบแผนของวงออร์เคสตราในปัจจุบัน นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ เช่น โมซาร์ท เป็นต้น

8. ยุคโรแมนติก (Romantic) พ.ศ. 2363 - พ.ศ. 2443 เป็นยุคที่มีเริ่มมีการแทรกของอารมณ์ในเพลง มีการเปลี่ยนอารมณ์ การใช้ความดังความค่อยที่ชัดเจน ทำนอง จังหวะ ลีลาที่เน้นไปยังอารมณ์ความรู้สึก ซึ่งต่างจากยุคก่อน ๆ ที่ยังไม่มีการใส่อารมณ์ในทำนอง นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ เช่น เบทโฮเฟิน ชูเบิร์ต โชแปง วากเนอร์ บราห์มส์ ไชคอฟสกี้ เป็นต้น

9. ดนตรียุคอิมเพรสชันนิสม์ (Impressionism) พ.ศ. 2433 - พ.ศ. 2453 พัฒนารูปแบบโดยนักดนตรีฝรั่งเศส มี โคล้ด เดอบุซซี เอริก ซาที มอริซ ราเวล เป็นผู้นำ ลักษณะดนตรีของยุคนี้เต็มไปด้วยจินตนาการ อารมณ์ที่เพ้อฝัน ประทับใจ ต่างไปจากดนตรีสมัยโรแมนติกที่ก่อให้เกิดความสะเทือนอารมณ์

10. ยุคศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน (20th Century Music) พ.ศ. 2443 - ปัจจุบัน นักดนตรีเริ่มแสวงหาดนตรีที่ไม่ขึ้นกับแนวทางในยุคก่อน จังหวะในแต่ละห้องเริ่มแปลกไปกว่าเดิม ไม่มีโน้ตสำคัญเกิดขึ้น (Atonal) ระยะห่างระหว่างเสียงเริ่มลดน้อยลง ไร้ท่วงทำนอง แต่นักดนตรีบางกลุ่มก็หันไปยึดดนตรีแนวเดิม เรียกว่านีโอคลาสสิก (Neo-Classic) นักดนตรีที่มีชื่อเสียงในยุคนี้ เช่นอิกอร์ สตราวินสกี้ เป็นต้น

แบ่งตามประเภทวงที่บรรเลง และประเภทของการแสดง

แบ่งตามโครงสร้างบทเพลง (Form)

  • คอนแชร์โต - Concerto
  • ซิมโฟนี - [English: Symphony | French: Symphonie | German: Sinfonia]
  • โซนาต้า - Sonata
  • ฟิวก์ - Fugue เป็นการประพันธ์เพลงที่ได้รับการพัฒนาอย่างมากแขนงหนึ่ง นิยมในยุคบาโรค จะเริ่มต้นด้วยทำนองที่เรียกว่า Subject จากนั้นจะเปลี่ยนแปลงทำนอง เรียกว่า Answer
  • พรีลูด - Prelude บทเพลงที่เป็นบทนำดนตรี มักใช้คู่กับเพลงแบบฟิวก์ หรือใช้บรรเลงนำเพลงชุด สำหรับงานเปียโนจะหมายถึงบทเพลงสั้น ๆ และบางครั้งมีความหมายเหมือนกับบทเพลงโหมโรงอุปรากร เช่น พรีลูดของวากเนอร์
  • โอเวอร์เจอร์ - Overture เพลงโหมโรงที่บรรเลงก่อนการแสดงอุปรากรหรือละคร รวมถึงประพันธ์ขึ้นเดี่ยว ๆ สำหรับบรรเลงคอนเสิร์ตโดยเฉพาะ เรียกว่า Concert Overture
  • บัลลาด - Ballade เป็นบทประพันธ์ที่ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว พบมากในงานเปียโน ลักษณะเหมือนการเล่าเรื่องหรือถ่ายทอดความรู้สึกแบบบทกวี
  • เอทู๊ด - Etude เป็นบทประพันธ์เพื่อฝึกหัดการบรรเลงด้วยเปียโนหรือไวโอลิน
  • มาร์ช - March เป็นบทเพลงที่ประพันธ์เพื่อการเดินแถว ต่อมาพัฒนาไปสู่บทเพลงที่ใช้บรรเลงคอนเสิร์ต
  • วาริเอชั่น - Variations
  • แฟนตาเซีย หรือ ฟ็องเตซี - [Italian: Fantasia | French: Fantasy]
  • น็อคเทิร์น - Nocturne/Notturno เป็นเพลงบรรเลงยามค่ำคืน มีทำนองเยือกเย็นอ่อนหวาน จอห์น ฟิลด์ ริเริ่มประพันธ์สำหรับเปียโน ซึ่งต่อมาโชแปงได้พัฒนาขึ้น
  • มินูเอ็ต - [French: Minuet |Italian: Menuet]
  • เซเรเนด - Serenade เพลงขับร้องหรือบรรเลงที่มีทำนองเยือกเย็นอ่อนหวาน มักเป็นบทเพลงที่ผู้ชายใช้เกี้ยวพาราสีผู้หญิง โดยยืนร้องใต้หน้าต่างในยามค่ำคืน
  • แคนนอน - Canon เป็นคีตลักษณ์ที่มีแบบแผนแน่นอน มีการบรรเลง ทำนองและการขับร้องที่เหมือนกันทุกประการ แต่เริ่มบรรเลงไม่พร้อมกัน เรียกอีกชื่อว่า Round
  • แคนแคน - Can-Can เป็นเพลงเต้นรำสไตล์ไนท์คลับของฝรั่งเศส เกิดในช่วงศตวรรษที่ 19
  • คาปริซ - Caprice บทบรรเลงสำหรับเครื่องดนตรีที่มีลักษณะอิสระ ไม่อยู่ในกฎเกณฑ์ มักมีชีวิตชีวา
  • โพลก้า - Polka เพลงเต้นรำแบบหนึ่ง มีกำเนิดมาจากชนชาติโบฮีเมียน
  • ตารันเตลลา - Tarantella การเต้นรำแบบอิตาเลียน มีจังหวะที่เร็ว
  • จิก - Gigue เป็นเพลงเต้นรำของอิตาลี เกิดในศตวรรษที่ 18 มักอยู่ท้ายบทของเพลงประเภทสวีต (Suite)
  • กาวอท - Gavotte เป็นเพลงเต้นรำของฝรั่งเศส ในศตวรรษที่ 17 มีรูปแบบแบบสองตอน (Two-parts) มักเป็นส่วนหนึ่งของเพลงประเภทสวีต (Suite)
  • โพโลเนส - Polonaise เป็นเพลงเต้นรำประจำชาติโปแลนด์ เกิดในราชสำนัก โชแปงเป็นผู้ประพันธ์เพลงลักษณะนี้สำหรับเปียโนไว้มาก
  • สวีต - Suite เพลงชุดที่นำบทเพลงที่มีจังหวะเต้นรำมาบรรเลงต่อกันหลาย ๆ บท พบมากในอุปรากรและบัลเลต์
  • อาราเบส - Arabesque เป็นดนตรีที่มีลีลาแบบอาหรับ
  • ฮิวเมอเรสค์ - Humoresque เป็นบทประพันธ์สั้น ๆ มีลีลาสนุกสนานร่าเริง มีชีวิตชีวา
  • ทอคคาต้า - Toccata บทเพลงสำหรับเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ด มีทำนองที่รวดเร็ว อิสระ ในแบบฉบับของเคาน์เตอร์พอยท์
  • บากาเตล - Bagatelle เป็นคีตนิพนธ์ชิ้นเล็ก ๆ สำหรับเปียโน มีจุดเด่นคือทำนองจำได้ง่าย เช่น Fur Elise
  • ดิแวร์ติเมนโต - Divertimento
  • บทเพลงทางศาสนา - Sacred Music
    • โมเต็ต - Motet เพลงขับร้องในพิธีกรรมของศาสนาคริสต์ ใช้วงขับร้องประสานเสียงในการร้องหมู่ ภายหลังจึงเริ่มมีเครื่องดนตรีประกอบเสียงร้อง
    • แพสชั่น - Passion เพลงสวดที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความทุกข์ยากของพระเยซู
    • ออราทอริโอ - Oratorio เพลงขับร้อง บทร้องเป็นเรื่องขนาดยาวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์ มีลักษณะคล้ายอุปรากร แต่ไม่มีการแต่งกาย ไม่มีฉากและการแสดงประกอบ
    • คันตาตา - Cantata เพลงศาสนาสั้น ๆ มีทั้งร้องในโบสถ์และตามบ้าน
    • แมส - Mass เพลงร้องประกอบในศาสนพิธีของศาสนาคริสต์
    • เรควีเอ็ม - Requiem เพลงสวดเกี่ยวกับความตาย

รายชื่อคีตกวีแบ่งตามยุค

ดูเพิ่มได้อีกที่ คีตกวี

คีตกวีชาวไทยที่ประพันธ์ดนตรีคลาสสิกในปัจจุบันที่มีงานดนตรีออกมาอย่างสม่ำเสมอ

  • ณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร www.narongrit.com
  • วีรชาติ เปรมานนท์
  • จิรเดช เสตะพันธุ
  • ณรงค์ ปรางเจริญ www.narongmusic.com
  • เด่น อยู่ประเสริฐ
  • ภาธร ศรีกรานนท์
  • บุญรัตน์ ศิริรัตนพันธ boonrut.blogspot.com
  • วานิช โปตะวนิช
  • อภิสิทธ์ วงศ์โชติ
  • อติภพ ภัทรเดชไพศาล
  • สุรัตน์ เขมาลีลากุล
  • นบ ประทีปะเสน
  • สิรเศรษฐ ปันฑุรอัมพร www.pantura-umporn.com
  • วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น
  • อโนทัย นิติพล



  • ยังไม่ได้จัดหมวดหมู่
  1. โยฮันน์ ฟรีดริค ฟรานซ์ เบิร์กมุลเลอร์ (Johann Friedrich Franz Burgmüller)
  2. ฟรานซิส ปูเลงค์ (Francis Poulenc)

อ้างอิง

  • คมสันต์ วงค์วรรณ์. ดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2551
  • สุรพงษ์ บุนนาค, ดนตรีแห่งชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. 2549
  • ณรุทธ์ สุทธจิตต์. สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548
  1. Rococo Style – Catholic Encyclopedia. Newadvent.org (1912-02-01). Retrieved on 2014-02-11.

ดนตร, คลาสส, ระว, งส, บสนก, ดนตร, คคลาสส, งกฤษ, classical, music, เป, นร, ปแบบหน, งของดนตร, งม, กจะหมายถ, งดนตร, เป, นศ, ลปะของตะว, นตกวงซ, มโฟน, ออเคสตรา, การแสดงจะใช, เคร, องดนตร, กล, กล, มแรก, เคร, องสาย, string, แบ, งออกเป, ไวโอล, โอลา, เชลโล, และด, บเบ, ล. rawngsbsnkb dntriyukhkhlassik dntrikhlassik xngkvs Classical music epnrupaebbhnungkhxngdntri sungmkcahmaythungdntrithiepnsilpakhxngtawntkwngsimofnixxekhstra karaesdngdntrikhlassikcaichekhruxngdntri 5 klum klumaerk khux ekhruxngsay String aebngxxkepn iwoxlin wioxla echlol aeladbebilebs klumthisxng khux ekhruxnglmim Woodwind echn flut khlarient oxob bassun pikhokhol klumthisam khux ekhruxnglmthxngehluxng Brass echn thrmept thrxmobn thuba efrnchhxrn klumthisi khux ekhruxngkrathb Percussion echn klxngthimpani chab klxngihy Bass Drum king Triangle klumthiha khux ekhruxnglimniw echn epiyon harpsikhxrd emuxelnrwmknepnwngeriykwawngduriyangkhhrux xxrekhstra Orchestra sungmiphuxanwyephlng conductor epnphukhwbkhumwng enuxha 1 prawtiaelaewla 1 1 aebngtampraephthwngthibrrelng aelapraephthkhxngkaraesdng 1 2 aebngtamokhrngsrangbthephlng Form 2 raychuxkhitkwiaebngtamyukh 3 khitkwichawithythipraphnthdntrikhlassikinpccubnthimingandntrixxkmaxyangsmaesmx 4 xangxingprawtiaelaewla aekikhdntrikhlassikaebngxxkepnyukh dngni1 dntrikrik prawtikhxngdntrikrikobrantngaeterimtnthung 330 pi kxnkhristkal 330 B C emux wthnthrrmkhxngkrikaeykepn 2 say klawkhux saythi 1 thangtawnxxk Alexander the Great aelasaythi 2 thangtawntk tamchawormn ekhruxngdntriidaekphinilra2 dntriormn hlngcakkrikepnswnhnungkhxngxanackrormn in 146 pi kxnkhristskrach xanackrormnrbexawthnthrrmkardntrikhxngkrikipthnghmd odymiidmikarphthnarupaebbkhxngdntriipskethairnkyngkhngichrupaebbkarrxngesiyngediyw Monophony sungeriykwa ephlnsxng Plain Song hruxaechnth Chant odymakaelwaetlaaehngcakhanungthungphlkhxngkarptibtimakkwathicayudtidkbrupaebbthirbmataytw3 yukhklang Medieval or Middle Age ph s 1019 ph s 1943 dntrikhlassikyuorpyukhklang hrux dntriyukhklang thuxwaepncudkaenidkhxngdntrikhlassik erimtnemuxpramanpi ph s 1019 kh s 476 sungepnpilmslaykhxngckrwrrdiormn dntriinyukhnimicudprasngkhhlkephuxprakxbphithikrrmthangsasna khadknwamitnkaenidmacakdntriinyukhkrikobran rupaebbephlnginyukhniennthikarrxng odyechphaaephlngswd Chant intxnplaykhxngyukhklangerimmikarrxngephlngaebbsxdthanxngprasandwy4 yukherenssxngs Renaissance ph s 1943 ph s 2143 erimemuxpramanpi ph s 1943 kh s 1400 emuxerimmikarepliynaeplngsilpaaelafunfusilpaobranyukhormnaelakrik aetdntriyngkhngennhnkipthangsasna ephiyngaeterimmikarichekhruxngdntrithihlakhlaykhun lksnakhxngdntriinsmyniyngkhngmirupaebbkhlayyukhklanginsmysilpihm ephlngrxngyngkhngniymkn aetephlngbrrelngerimmibthbathmakkhun duephimthi yukherenssxngs5 yukhbaorkh Baroque ph s 2143 ph s 2272 yukhnierimkhunemuxmikarkaenidxuprakrinpraethsfrngessemuxpi ph s 2143 kh s 1600 aelasinsudlngemux oyhnn esbasethiyn bakh esiychiwitlnginpi ph s 2293 kh s 1750 aetbangkhrngknbknwasinsudlnginpi ph s 2273 kh s 1730 erimmikarelndntriephuxkarfngmakkhuninhmuchnchnsung niymkarelnekhruxngdntripraephthxxraeknmakkhun aetkyngkhngennhnkipthangsasna nkdntrithimichuxesiynginyukhni echn bakh wiwldi epntn duephimthi silpabaorkh6 yukhorokok Rococo ph s 2273 ph s 2293 dntriaebbkalxngt Galante Style rahwangsmybaorkaelakhlassik thuxknwaepndntriorokok dntriorokokphthnamacakdntribaorkodyechphaathipraethsfrngess sungxaccaklawidwaepndntrithiimipthangnatkrrmaetcanumnwl xyangngankhxng chxng filip raom Jean Philippe Rameau luy okld daaekng Louis Claude Daquin aela Francois Couperin xyuintxnplaykhxngyukhbaork 1 duephimthi orokok7 yukhkhlassik Classical ph s 2293 ph s 2363 epnyukhthimikarepliynaeplngmakthisud mikdeknth aebbaephn rupaebbaelahlkinkarelndntrixyangchdecn sunyklangkhxngdntriyukhnikhuxpraethsxxsetriy odyechphaathikrungewiynna aelaemuxngmanihm Mannheim ekhruxngdntrimiwiwthnakarmacnsmburnthisud erimmikarphsmwngthiaennxn khux wngechmebxrmiwsikaelawngxxrekhstra sunginyukhnimikarichekhruxngdntrikhrbthukpraephth aelayngthuxepnaebbaephnkhxngwngxxrekhstrainpccubn nkdntrithimichuxesiynginyukhni echn omsarth epntn8 yukhoraemntik Romantic ph s 2363 ph s 2443 epnyukhthimierimmikaraethrkkhxngxarmninephlng mikarepliynxarmn karichkhwamdngkhwamkhxythichdecn thanxng cnghwa lilathiennipyngxarmnkhwamrusuk sungtangcakyukhkxn thiyngimmikarisxarmninthanxng nkdntrithimichuxesiynginyukhni echn ebthohefin chuebirt ochaepng wakenxr brahms ichkhxfski epntn9 dntriyukhximephrschnnism Impressionism ph s 2433 ph s 2453 phthnarupaebbodynkdntrifrngess mi okhld edxbussi exrik sathi mxris raewl epnphuna lksnadntrikhxngyukhnietmipdwycintnakar xarmnthiephxfn prathbic tangipcakdntrismyoraemntikthikxihekidkhwamsaethuxnxarmn10 yukhstwrrsthi 20 thungpccubn 20th Century Music ph s 2443 pccubn nkdntrierimaeswnghadntrithiimkhunkbaenwthanginyukhkxn cnghwainaetlahxngerimaeplkipkwaedim immiontsakhyekidkhun Atonal rayahangrahwangesiyngerimldnxylng irthwngthanxng aetnkdntribangklumkhnipyuddntriaenwedim eriykwanioxkhlassik Neo Classic nkdntrithimichuxesiynginyukhni echnxikxr strawinski epntn aebngtampraephthwngthibrrelng aelapraephthkhxngkaraesdng aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidekhruxngdntriediyw epiyonsimux epiyon echmebxrmiwsik wngduox karphsmwngdntrirwmkn 2 khn echn epiyonkbiwoxlin hruxepiyonkbnkrxng wngthriox karphsmwngdntrirwmkn 3 khn echn iwoxlin 1 wioxla 1 echlol 1 wngkhwxrett karphsmwngdntrirwmkn 4 khn wngkhwinett karphsmwngdntrirwmkn 5 khn echn stringkhwinett Strings Quintet wngcaprakxbdwyekhruxngsay 5 chin iwoxlin 2 wioxla 2 aelaechlol 1 wngesksett karphsmwngdntrirwmkn 6 khn wngsimofnixxrekhstra xuprakr lakhrbrxdewy blelt khbrxng khbrxngediyw wngkhbrxngprasanesiyngaebngtamokhrngsrangbthephlng Form aekikh khxnaechrot Concerto simofni English Symphony French Symphonie German Sinfonia osnata Sonata fiwk Fugue epnkarpraphnthephlngthiidrbkarphthnaxyangmakaekhnnghnung niyminyukhbaorkh caerimtndwythanxngthieriykwa Subject caknncaepliynaeplngthanxng eriykwa Answer phrilud Prelude bthephlngthiepnbthnadntri mkichkhukbephlngaebbfiwk hruxichbrrelngnaephlngchud sahrbnganepiyoncahmaythungbthephlngsn aelabangkhrngmikhwamhmayehmuxnkbbthephlngohmorngxuprakr echn phriludkhxngwakenxr oxewxrecxr Overture ephlngohmorngthibrrelngkxnkaraesdngxuprakrhruxlakhr rwmthungpraphnthkhunediyw sahrbbrrelngkhxnesirtodyechphaa eriykwa Concert Overture bllad Ballade epnbthpraphnththiimmikdeknthtaytw phbmakinnganepiyon lksnaehmuxnkarelaeruxnghruxthaythxdkhwamrusukaebbbthkwi exthud Etude epnbthpraphnthephuxfukhdkarbrrelngdwyepiyonhruxiwoxlin march March epnbthephlngthipraphnthephuxkaredinaethw txmaphthnaipsubthephlngthiichbrrelngkhxnesirt wariexchn Variations aefntaesiy hrux fxngetsi Italian Fantasia French Fantasy nxkhethirn Nocturne Notturno epnephlngbrrelngyamkhakhun mithanxngeyuxkeynxxnhwan cxhn fild rierimpraphnthsahrbepiyon sungtxmaochaepngidphthnakhun minuext French Minuet Italian Menuet eserend Serenade ephlngkhbrxnghruxbrrelngthimithanxngeyuxkeynxxnhwan mkepnbthephlngthiphuchayichekiywpharasiphuhying odyyunrxngithnatanginyamkhakhun aekhnnxn Canon epnkhitlksnthimiaebbaephnaennxn mikarbrrelng thanxngaelakarkhbrxngthiehmuxnknthukprakar aeterimbrrelngimphrxmkn eriykxikchuxwa Round aekhnaekhn Can Can epnephlngetnrasitlinthkhlbkhxngfrngess ekidinchwngstwrrsthi 19 khapris Caprice bthbrrelngsahrbekhruxngdntrithimilksnaxisra imxyuinkdeknth mkmichiwitchiwa ophlka Polka ephlngetnraaebbhnung mikaenidmacakchnchatiobhiemiyn tarnetlla Tarantella karetnraaebbxitaeliyn micnghwathierw cik Gigue epnephlngetnrakhxngxitali ekidinstwrrsthi 18 mkxyuthaybthkhxngephlngpraephthswit Suite kawxth Gavotte epnephlngetnrakhxngfrngess instwrrsthi 17 mirupaebbaebbsxngtxn Two parts mkepnswnhnungkhxngephlngpraephthswit Suite opholens Polonaise epnephlngetnrapracachatiopaelnd ekidinrachsank ochaepngepnphupraphnthephlnglksnanisahrbepiyoniwmak swit Suite ephlngchudthinabthephlngthimicnghwaetnramabrrelngtxknhlay bth phbmakinxuprakraelablelt xaraebs Arabesque epndntrithimililaaebbxahrb hiwemxerskh Humoresque epnbthpraphnthsn mililasnuksnanraering michiwitchiwa thxkhkhata Toccata bthephlngsahrbekhruxngdntripraephthkhiybxrd mithanxngthirwderw xisra inaebbchbbkhxngekhanetxrphxyth bakaetl Bagatelle epnkhitniphnthchinelk sahrbepiyon micudednkhuxthanxngcaidngay echn Fur Elise diaewrtiemnot Divertimento bthephlngthangsasna Sacred Music omett Motet ephlngkhbrxnginphithikrrmkhxngsasnakhrist ichwngkhbrxngprasanesiynginkarrxnghmu phayhlngcungerimmiekhruxngdntriprakxbesiyngrxng aephschn Passion ephlngswdthimienuxhaekiywkbkhwamthukkhyakkhxngphraeysu xxrathxriox Oratorio ephlngkhbrxng bthrxngepneruxngkhnadyawekiywkbsasnakhrist milksnakhlayxuprakr aetimmikaraetngkay immichakaelakaraesdngprakxb khntata Cantata ephlngsasnasn mithngrxnginobsthaelatamban aems Mass ephlngrxngprakxbinsasnphithikhxngsasnakhrist erkhwiexm Requiem ephlngswdekiywkbkhwamtayraychuxkhitkwiaebngtamyukh aekikhyukhklang eloxaenng Leonin pramankh s 1130 1180 ephoraetng Perotin hrux Perotinus Magnus pramankh s 1160 1220 cakhaop da obolnya Jacapo da Bologna franechsok landini Francesco Landini pramankh s 1325 1397 kioym edx maocht Guillaume de Machaut pramankh s 1300 1377 filipep edx withri Phillippe de Vitry oslach Solage epaol da fiernes Paolo da Firenze yukherenssxngs cxhn dnsetebil John Dunstable kioym duefy Guillaume Dufay oyhnens oxkhikm Johannes Ockeghem othms thllis Thomas Tallis cxskin eds ephrs Josquin des Prez yakhxb oxebrkhth Jacob Obrecht okhld elx echin Claude Le Jeune cioxwnni piaexrluyci da paelstrina Giovanni Pierluigi da Palestrina wileliym ebird William Byrd khlxdiox mxnethaewrdi Claudio Monteverdi xxrlnod di lsos Orlando di Lasso kharol ekswlod Carlo Gesualdo xadrixxng wilaelrt Adriane Willaert yukhbaorkh dithrich buksethued Dietrigh Buxtehude pramankh s 1637 1707 oyhnn phaekhlebl Johann Pachelbel kh s 1653 1706 xelssanod skaraeltti Alessando Scarlatti kh s 1660 1725 xnotniox wiwldi Antonio Vivaldi kh s 1678 1714 oyhn esbsthixn bkh Johann Sebastian Bach cxrc fridrik aehnedil Georg Friedrich Handel chxng aebptist lulli Jean Baptist Lully chxng fillip raom Jean Phillippe Rameau ekxxrk fillip ethelmnn Georg Phillip Telemann ehnri ephxresl Henry Purcell yukhorokok chxng filip raom Jean Philippe Rameau luy okld daaekng Louis Claude Daquin frxngsws khuepxaerng Francois Couperin yukhkhlassik khristxf willibld klukh Christoph Willibald Gluck oyesf ihedin Joseph Haydn kh s 1732 1809 wxlfkng xmaedxus omthsarth Wolfgang Amadeus Mozart luthwich fn ebthohefin Ludwig van Beethoven kharl fillip exmmanuexl bakh Carl Phillip Emanuel Bach oyhn khrisetiyn bakh Johann Christian Bach yukhoraemntik cioxxkhkhion rxssini Gioacchino Rossini frnths chuebirth Franz Schubert exketxr aebrlixxs Hector Berlioz eflikhs emnedilsosn Felix Mendelssohn Batholdy efredrik chxaepng Frederic Chopin nikokelaa pakanini Niccolo Paganini oraebrth chumn RobertSchumann frans listh Franz Liszt richcharth wakenxr Richard Wagner cuespep aewrdi Giuseppe Verdi ebedxrchich semthana Bedrich Smetana oyhnenis brams Johannes Brahms cxrc biest Georges Bizet pixxtr xilich ichkhxfski Peter Ilyich Tchaikovsky xnotyin dowchak Antonin Dvorak cixaokhom puchchini Giacomo Puccini kusthf maelxr Gustav Mahler esiyreky rkhmaninxf Sergej Rakhmaninov richcharth chetras Richard Strauss chxng sieblixus Jean Sibelius oyhn chetras phuphx Johann Strauss the father oyhn chetras phubutr Johann Strauss the son chk xxaefnbk Jacques Offenbach charl kuon Charles Gounod xnothn brukhenxr Anton Bruckner huok wxlf Hugo Wolf kharl esxrni Carl Czerny yukhximephrschnnism exrik sathi Erik Satie okhld edxbussi Claude Debussy mxris raewl Maurice Ravel yukhstwrrsthi 20 pccubn charls ixfs Charles Ives xarnxlth echinaebrkh Arnold Schoenberg kharl xxrf Carl Orff ebla bartxk Bela Bartok osltn okhday Zaltan Kodaly xikxr strawinski Igor Stravinsky xnothn ewaebrn Anton Webern xlbn aebrkh Alban Berg esiyreky oprokhefiyf Sergei Prokofiev phxl hinedmith Paul Hindemith cxrc ekirchwin George Gershwin xarxn khxpaelnd Aaron Copland kh s 1900 1990 dmitri chxstokwich Dmitri Shostakovich kh s 1906 1975 oxliwieyr emsesiyng Olivier Messiaen kh s 1908 1992 exleliyt kharetxr Elliott Carter kh s 1908 pccubn wiothld luothslfski Witold Lutoslawski cxhn ekhc John Cage kh s 1912 1992 piaexr buaels Pierre Boulez kh s 1925 pccubn luchaon ebriox Luciano Berio kh s 1925 2003 kharlihnths chtxkhehaesin Karlheinz Stockhausen kh s 1928 2006 filip klas Philip Glass luyci onon Luigi Nono yannis esnakhis Iannis Xenakis kh s 1922 2001 miltn aebbbith Milton Babbitt wxlfkng rihm Wolfgang Rihm xarow aephrth Arvo Part osefiy kuibdulina Sofia Gubaidulina Giya Kancheli yxrki liekti Gyorgy Ligeti kchuchtxf aepnaedaertski Krzysztof Penderecki yxrki ekhxrthkh Gyorgy Kurtag ehlmut laekhnmann Helmut Lachenmann stif irkh Steve Reich cxhn xdms John Adams John Zorn otru thaekhmitsu Toru Takemitsu thn tun Tan Dun Chen Yi Unsuk Chinduephimidxikthi khitkwikhitkwichawithythipraphnthdntrikhlassikinpccubnthimingandntrixxkmaxyangsmaesmx aekikhnrngkhvththi thrrmbutr www narongrit com wirchati eprmannth ciredch estaphnthu nrngkh prangecriy www narongmusic com edn xyupraesrith phathr srikrannth buyrtn sirirtnphnth boonrut blogspot com wanich optawnich xphisithth wngsochti xtiphph phthredchiphsal surtn ekhmalilakul nb prathipaesn siresrsth pnthurxmphr www pantura umporn com wibuly trakulhun xonthy nitiphl yngimidcdhmwdhmuoyhnn fridrikh frans ebirkmulelxr Johann Friedrich Franz Burgmuller fransis puelngkh Francis Poulenc xangxing aekikhkhmsnt wngkhwrrn dntritawntk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2551 surphngs bunnakh dntriaehngchiwit krungethph sankphimphsarkhdi 2549 nruthth suththcitt sngkhitniym khwamsabsungindntritawntk krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2548 bthkhwamekiywkbephlng dntri hrux ekhruxngdntriniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy dntri Rococo Style Catholic Encyclopedia Newadvent org 1912 02 01 Retrieved on 2014 02 11 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title dntrikhlassik amp oldid 9378366, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม