fbpx
วิกิพีเดีย

ปรากฏการณ์เชื่อมั่นมากเกินไป

ปรากฏการณ์เชื่อมั่นมากเกินไป (อังกฤษ: overconfidence effect) เป็นความเอนเอียงทางประชานอันมีหลักฐานชัดเจน ที่ความเชื่อมั่นอันเป็นอัตวิสัยคือเป็นความรู้สึกส่วนตัว จะเกินกว่าความเป็นจริงที่เป็นปรวิสัยอย่างคงเส้นคงวา โดยเฉพาะเมื่อความรู้สึกเชื่อมั่นค่อนข้างสูง นี่เป็นตัวอย่างหนึ่งของการปรับเทียบความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามความรู้สึกที่เป็นอัตวิสัย ให้ตรงกับความจริงได้ไม่ดี ในวรรณกรรมวิชาการต่าง ๆ ความเชื่อมั่นเกินจะมีนิยาม 3 อย่าง คือ

  1. การประเมินเกินสิ่งที่ตนทำ (overestimation)
  2. การเทียบฐานะ/สิ่งที่ตนทำเกินเมื่อเทียบกับผู้อื่น (overplacement)
  3. ความเที่ยงเกินจริง เป็นการแสดงความแน่ใจที่ไม่สมเหตุผลว่าความเชื่อของตนเป็นจริง (overprecision)

วิธีการศึกษาที่ใช้อย่างสามัญก็คือ ถามผู้เข้าร่วมว่า รู้สึกเชื่อมั่นแค่ไหนในความเชื่อที่มีหรือในคำตอบที่ตนให้ ข้อมูลแสดงว่า ความรู้สึกเชื่อมั่นจะเกินความจริงอย่างเป็นระบบ ซึ่งแสดงนัยว่า คนเราเชื่อมั่นว่าตัวเองถูกเกินกว่าเหตุผล ถ้าความเชื่อมั่นของมนุษย์ปรับเทียบกับความจริงอย่างสมบูรณ์ การตัดสินใจที่เชื่อมั่น 100% ก็ควรจะถูกต้อง 100% เชื่อมั่น 90% ก็ควรถูก 90% เป็นต้น เทียบกับผลการศึกษาสำคัญที่พบว่า ความเชื่อมั่นจะเกินจริงเมื่อตอบคำถามที่ยากและไม่คุ้นเคย

ยกตัวอย่างเช่น ในการสะกดคำ ผู้ร่วมการทดลองจะถูก 80% เทียบกับที่ตนอ้างว่าเชื่อมั่นว่าสะกดถูก 100% กล่าวอีกอย่างก็คือ อัตราความผิดพลาดจริง ๆ อยู่ที่ 20% โดยผู้ร่วมการทดลองคาดว่า อยู่ที่ 0% ในงานศึกษาที่ผู้ร่วมการทดลองตอบว่าถูกหรือผิดสำหรับประโยคเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป พวกเขาเชื่อมั่นเกินในทุก ๆ ระดับ เช่น ถ้าเชื่อมั่น 100% ในคำตอบของตน ก็จะผิด 20% เป็นต้น

แบบต่าง ๆ

การประเมินเกิน (overestimation)

อาการปรากฏของความเชื่อมั่นเกินอย่างหนึ่งก็คือ ความโน้มเอียงในการประเมินฐานะของตนเกินในเรื่องการตัดสินใจหรือการกระทำ เป็นความแน่ใจที่ตนรู้สึกเรื่องความสามารถ การกระทำ ระดับการควบคุม และโอกาสความสำเร็จของตน ๆ ซึ่งมีโอกาสเกิดมากที่สุดในงานที่ยาก ในสิ่งที่ยาก เมื่อความล้มเหลวมีโอกาสมากกว่า หรือเมื่อบุคคลต้องประเมินในสิ่งที่ตนไม่ชำนาญ การประเมินเกินยังเกิดในเรื่องต่าง ๆ นอกเหนือจากการกระทำของตน ซึ่งรวมปรากฏการณ์การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้และเหตุผลวิบัติในการวางแผน

การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้

การแปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้หมายถึงความโน้มเอียงที่บุคคลจะประพฤติเหมือนกับสามารถควบคุมอะไรได้ เมื่อความจริงไม่สามารถเลย อย่างไรก็ดี หลักฐานไม่สนับสนุนแนวคิดว่า มนุษย์ประเมินเกินการควบคุมที่ตนมีอย่างเป็นระบบ คือเมื่อตนสามารถควบคุมได้สูง ก็กลับประเมินน้อยเกินจริงถึงการควบคุมได้ที่ตนมี

เหตุผลวิบัติในการวางแผน

ข้อมูลเพิ่มเติม: เหตุผลวิบัติในการวางแผน

เหตุผลวิบัติในการวางแผนหมายถึงความโน้มเอียงที่มนุษย์จะประเมินว่างานจะเสร็จเมื่อไรเร็วเกินจริง คือประเมินเวลาเพื่อทำงานให้เสร็จน้อยเกินไป ซึ่งมีกำลังที่สุดสำหรับงานที่นานและซับซ้อน โดยจะไม่มีเลยหรือประเมินกลับกันสำหรับงานที่ง่าย ๆ และทำเสร็จได้เร็ว

หลักฐานคัดค้าน

ปรากฏการณ์ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล ที่มนุษย์ประเมินความเป็นไปได้ของเหตุการณ์ตามผลที่ต้องการ ค่อนข้างจะเกิดน้อย บางส่วนอาจเป็นเพราะมนุษย์บางคนจะมองโลกในแง่ร้ายเพื่อป้องกันตัวก่อนหน้าเหตุการณ์สำคัญ ๆ เพื่อลดความผิดหวังที่จะติดตามมาถ้าพยากรณ์สิ่งที่จะได้ดีกว่าความเป็นจริง

ความเที่ยงเกินจริง (overprecision)

ความเที่ยงเกินจริง (overprecision) เป็นความเชื่อมั่นเกินจริงว่า ตนรู้ความจริง หลักฐานของปรากฏการณ์นี้โดยมากมาจากงานศึกษาที่ถามผู้ร่วมการทดลองว่า เชื่อมั่นว่ารายการหนึ่ง ๆ ถูกต้องเท่าไร แม้จะมีประโยชน์บ้าง แต่วิธีนี้ไม่สามารถแยกแยะการประเมินเกิน (overestimation) จากความเที่ยงเกินจริง (overprecision) เพราะการตัดสินความเชื่อมั่นในรายการเช่นนี้ แสดงปรากฏการณ์ทั้งสอง

หลังจากให้ตัดสินความถูกต้องของรายการชุดหนึ่ง ถ้าให้ประเมินจำนวนที่ตนตัดสินได้ถูกต้อง ผู้ร่วมการทดลองมักจะไม่รายงานคะแนนของตนเองเกิน แต่ค่าเฉลี่ยของความเชื่อมั่นในการตัดสินถูกผิดต่อรายการ ก็เกินจำนวนรายการที่ตนอ้างว่าตัดสินถูก คำอธิบายอย่างหนึ่งก็คือ ความเชื่อมั่นในการตัดสินถูกผิดต่อรายการเกินจริงก็เพราะปรากฏการณ์ความเที่ยงเกินจริง แต่การตัดสินใจทั่วไปไม่แสดงการประเมินเกินอย่างเป็นระบบ

ช่วงความเชื่อมั่น

หลักฐานที่ดีสุดของความเที่ยงเกินจริง มาจากงานศึกษาที่ให้ผู้ร่วมการทดลองชี้บ่งความแน่นอนของความรู้ของตน โดยกำหนดช่วงความเชื่อมั่น 90% สำหรับการประเมินค่าหนึ่ง ๆ โดยเฉพาะ ถ้ามนุษย์ปรับเทียบกับความจริงอย่างสมบูรณ์ ช่วงความเชื่อมั่น 90% ก็จะรวมค่าที่เป็นจริง 90% ทั้งหมด แต่จริง ๆ แล้ว อัตราที่ถูกต้องบ่อยครั้งต่ำแค่ 50% ซึ่งแสดงว่า มนุษย์แสดงช่วงความเชื่อมั่นแคบเกินไป ซึ่งก็แสดงว่า มนุษย์คิดว่า ความรู้ของตน ๆ แม่นยำเกินความเป็นจริง

การเทียบฐานะเกิน (overplacement)

การเทียบฐานะเกินอาจเป็นอาการปรากฏเด่นที่สุดของปรากฏการณ์มั่นใจมากเกินไป เป็นการเปรียบการกระทำ/ฐานะของตนเองเทียบกับผู้อื่น ซึ่งเกิดเมื่อมนุษย์เชื่อว่าตนดีกว่าคนอื่น หรือ "ดีกว่าคนอื่นโดยเฉลี่ย" มันเป็นการจัดหรือให้คะแนนว่าตนดีกว่า/เก่งกว่าคนอื่น เป็นสิ่งที่เกิดบ่อยกว่าในงานง่าย ๆ ที่เราเชื่อว่าทำสำเร็จได้ง่าย คำอธิบายสำหรับปรากฏการณ์นี้ก็คือมันช่วยให้รู้สึกดีกับตัวเองและช่วยรักษาความภูมิใจในตน

ปรากฏการณ์เหนือกว่าโดยเฉลี่ย

ดูบทความหลักที่: ความเหนือกว่าเทียม

ปรากฏการณ์เหนือกว่าโดยเฉลี่ยที่ดังสุดอาจเป็นงานปี 1981 ที่พบว่า ผู้ขับรถชาวอเมริกัน 93% ให้คะแนนตัวเองว่า ขับรถดีกว่าค่ามัธยฐาน ปรากฏการณ์ที่โรงเรียนในเขตต่าง ๆ อ้างว่า นักเรียนของตนเรียนดีกว่านักเรียนโดยเฉลี่ยของประเทศได้เรียกว่า ปรากฏการณ์ทะเลสาบโวบีกอน (Lake Wobegon effect) ตามเมืองในนิยายที่ "หญิงทั้งหมดแข็งแรง ชายทุกคนรูปหล่อ และเด็กทั้งปวงเหนือกว่าเด็กธรรมดา" การเทียบฐานะเกินก็พบในสถานการณ์อื่น ๆ มากมากหลายอย่างเช่นกัน

แต่งานปี 1999 ก็ได้แสดงว่า ปรากฏการณ์นี้จำกัดอยู่ในสิ่งที่ทำง่าย ๆ ที่การทำสำเร็จเป็นเรื่องปกติและผู้ทำรู้สึกว่า ตนสามารถ สำหรับงานที่ยาก ปรากฏการณ์จะกลับกันคือผู้ทำจะรู้สึกว่าทำได้แย่กว่าผู้อื่น

การมองในแง่ดีโดยเปรียบเทียบ

นักวิจัยบางท่านอ้างว่า มนุษย์คิดว่าสิ่งดี ๆ มีโอกาสเกิดแก่ตนเองมากกว่าคนอื่น เทียบกับสิ่งร้าย ๆ ที่มีโอกาสเกิดแก่ตนเองน้อยกว่าผู้อื่น แต่นักวิจัยอื่น ๆ ก็ได้ชี้ว่า งานวิจัยที่ผ่าน ๆ มามักจะตรวจสอบผลดีที่เกิดทั่ว ๆ ไป (เช่น การมีบ้านเป็นของตนเอง) และผลร้ายที่มีน้อย (เช่น ถูกฟ้าผ่า) คือ ความเกิดบ่อยของเหตุการณ์เป็นตัวอธิบายสิ่งที่ค้นพบในงานก่อน ๆ เกี่ยวกับการมองในแง่ดีโดยเปรียบเทียบ มนุษย์คิดว่าเหตุการณ์ที่สามัญ (เช่น จะมีอายุเกิน 70 ปี) มีโอกาสเกิดแก่ตนมากกว่าคนอื่น ๆ และเหตุการณ์ที่มีน้อย (เช่น จะมีอายุเกิน 100 ปี) มีโอกาสเกิดขึ้นแก่ตนเองน้อยกว่าคนอื่น

การแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก

งานปี 1988 อ้างว่า มนุษย์ยึดติดกับความเชื่อในตนเองที่ดีเกินจริง แปลสิ่งเร้าผิดว่าควบคุมได้ และเชื่อความดี/ความเก่งกว่าที่ไม่เป็นจริง เพราะมันช่วยให้รับมือเหตุการณ์และก้าวหน้าในชีวิตได้ แม้จะมีหลักฐานว่าความเชื่อที่มองโลกในแง่ดีจะมีสหสัมพันธ์กับชีวิตที่ดีกว่า งานวิจัยโดยมากที่แสดงความสัมพันธ์เช่นนี้ ก็สามารถอธิบายได้ในแง่อื่น ๆ ด้วย

ผลต่อชีวิต

(แม้) ผู้ทำงานมืออาชีพที่มั่นใจมากเกินจะเชื่ออย่างจริงใจว่าตนมีความชำนาญ ประพฤติเหมือนผู้ชำนาญการ และแต่งตัวเหมือนผู้ชำนาญ (แต่) คุณก็จะต้องดิ้นรนเพื่อเตือนตัวเองว่า พวกเขา (ความจริง) อยู่ในกำมือของความเชื่อผิด ๆ

แดเนียล คาฮ์นะมัน

ความมั่นใจมากเกินเรียกว่าเป็นความเอนเอียงทางประชานที่มีอยู่อย่างกลาดเกลื่อนที่สุด และมีโอกาสสร้างความหายนะมากที่สุด ในบรรดาความเอนเอียงในมนุษย์ จึงได้โทษว่าเป็นเหตุของคดีความ การนัดหยุดงาน สงคราม ฟองสบู่ตลาดหลักทรัพย์ และการล้มของตลาดหุ้น

คดีความ การนัดหยุดงาน และสงครามอาจเกิดจากการเทียบฐานะเกินจริง ถ้าโจทก์หรือจำเลยมีแนวโน้มเชื่อว่า ตนควรจะได้มากกว่า ตนยุติธรรมกว่า หรือชอบธรรมกว่าฝ่ายตรงข้าม นี่ก็จะอธิบายความยืดเยื้อของคดีความที่ไม่สมเหตุผล ถ้าบริษัทหรือสหภาพแรงงานมีแนวโน้มเชื่อว่า ตนมีกำลังมากกว่าและอยู่ในฐานที่เที่ยงธรรมมากกว่าฝ่ายตรงข้าม นี่อาจจะเป็นส่วนให้การนัดหยุดงานยืดเยื้อ ถ้าประเทศหนึ่ง ๆ เชื่อว่า กำลังทหารของตนเข้มแข็งกว่าประเทศอื่น ๆ ก็อาจอธิบายความพร้อมเพื่อทำสงคราม

ความเที่ยงเกินจริงอาจมีผลสำคัญต่อพฤติกรรมการลงทุนและการซื้อขายหุ้น ทฤษฎีการเงินแบบคลาสสิกไม่สามารถอธิบายว่า ถ้าผู้ค้าขายหุ้นทั้งหมด เป็นผู้ทำการอย่างมีเหตุผลตามทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์ ทำไมจึงมีการค้าขายในตลาดหุ้นมากมายขนาดนี้ ดังนั้น ความเที่ยงเกินจริงอาจเป็นคำตอบอย่างหนึ่ง คือถ้าผู้ทำการมั่นใจในการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์หนึ่ง ๆ ของตนว่าถูกต้อง พวกเขาก็จะเต็มใจค้าขายกับคนอื่นผู้มีข้อมูลต่างกัน

งานปี 1965 ตรวจสอบนักจิตวิทยาทางคลินิกและนักศึกษาจิตวิทยา โดยให้ตอบคำถามแบบหลายตัวเลือกที่พวกเขาต้องสรุปข้อมูลจากกรณีศึกษา สำหรับคำตอบแต่ละข้อ ผู้ร่วมการทดลองจะกำหนดความมั่นใจเป็นเปอร์เซ็นต์ว่าคำตอบที่ให้มีโอกาสถูกแค่ไหน ซึ่งทำให้สามารถเปรียบได้กับความเป็นจริง เมื่อได้ข้อมูลเพิ่มขึ้นจากกรณีศึกษา ความมั่นใจของพวกเขาได้เพิ่มขึ้นจาก 33% เป็น 53% แต่การตอบตรงกับความเป็นจริงไม่ได้เพิ่มขึ้น คือถูกน้อยกว่า 30% เป็นการแสดงความมั่นใจเกิน ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ร่วมการทดลองมีข้อมูลมากขึ้นเพื่อตัดสินใจ

ถึงแม้มนุษย์จะไม่โน้มเอียงอย่างทั่วไปในการมีความมั่นใจมากเกินไป สถานการณ์ทางสังคมและการคัดเลือกที่ขัดประโยชน์ (adverse selection) อาจโปรโหมตให้มี ยกตัวอย่างเช่น ผู้ที่มีโอกาสกล้าหาญพอเพื่อเริ่มธุรกิจของตนเอง ก็คือบุคคลที่เทียบความสามารถของตนเองเกินกว่าผู้อื่นที่อาจเป็นคู่แข่ง และถ้าผู้ลงคะแนนเสียงเห็นว่าผู้นำที่มั่นใจน่าเชื่อถือมากกว่า ผู้ที่แข่งขันเพื่อตำแหน่งผู้นำก็อาจเรียนรู้ว่า ควรจะแสดงความมั่นใจมากกว่าคู่แข่งเพื่อให้ชนะการเลือกตั้ง

ความมั่นใจเกินอาจมีผลดีต่อความภูมิใจแห่งตน และทำให้บุคคลมุ่งมั่นเพื่อให้สำเร็จถึงเป้าหมาย คือ ความเชื่อในตนเองอาจทำให้มุ่งมั่นและพยายามมากกว่าบุคคลผู้ไม่เชื่อ

ความแตกต่างระหว่างบุคคล

การประเมินตัวเองที่ได้ค่าสูง ซึ่งแสดงลักษณะบุคลิกภาพอันเสถียรและมีองค์คือ locus of control, neuroticism, self-efficacy, และความภูมิใจแห่งตน อาจทำให้เกิดปรากฏการณ์มั่นใจมากเกิน เพราะผู้ได้ค่าสูงจะคิดถึงเองในเชิงบวกและมั่นใจในความสามารถของตน แม้ค่าที่สูงมากก็จะทำให้บุคคลมั่นใจเกินความเป็นจริง

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Pallier, Gerry; Wilkinson, Rebecca; Danthiir, Vanessa; Kleitman, Sabina; Knezevic, Goran; Stankov, Lazar; Roberts, Richard D. (2002). "The Role of Individual Differences in the Accuracy of Confidence Judgments". The Journal of General Psychology. 129 (3): 257–299. doi:10.1080/00221300209602099. PMID 12224810.
  2. Moore, Don A.; Healy, Paul J. (2008). "The trouble with overconfidence". Psychological Review. 115 (2): 502–517. doi:10.1037/0033-295X.115.2.502. PMID 18426301.
  3. Adams, P. A.; Adams, J. K. (1960). "Confidence in the recognition and reproduction of words difficult to spell". The American journal of psychology. 73 (4): 544–552. doi:10.2307/1419942. PMID 13681411.
  4. Lichtenstein, Sarah; Fischhoff, Baruch; Phillips, Lawrence D. (1982). "Calibration of probabilities: The state of the art to 1980". ใน Kahneman, Daniel; Slovic, Paul; Tversky, Amos (บ.ก.). Judgment Under Uncertainty: Heuristics and Biases. Cambridge University Press. pp. 306–334. ISBN 978-0-521-28414-1.
  5. Langer, Ellen J. (1975). "The illusion of control". Journal of Personality and Social Psychology. 32 (2): 311–328. doi:10.1037/0022-3514.32.2.311.
  6. Gino, Francesca; Sharek, Zachariah; Moore, Don A. (2011). "Keeping the illusion of control under control: Ceilings, floors, and imperfect calibration". Organizational Behavior and Human Decision Processes. 114 (2): 104–114. doi:10.1016/j.obhdp.2010.10.002.
  7. Buehler, Roger; Griffin, Dale; Ross, Michael (1994). "Exploring the "planning fallacy": Why people underestimate their task completion times". Journal of Personality and Social Psychology. 67 (3): 366–381. doi:10.1037/0022-3514.67.3.366.
  8. Krizan, Zlatan; Windschitl, Paul D. (2007). "The influence of outcome desirability on optimism" (PDF). Psychological Bulletin. 133 (1): 95–121. doi:10.1037/0033-2909.133.1.95. PMID 17201572.
  9. Norem, Julie K.; Cantor, Nancy (1986). "Defensive pessimism: Harnessing anxiety as motivation". Journal of Personality and Social Psychology. 51 (6): 1208–1217. doi:10.1037/0022-3514.51.6.1208. PMID 3806357.
  10. McGraw, A. Peter; Mellers, Barbara A.; Ritov, Ilana (2004). "The affective costs of overconfidence" (PDF). Journal of Behavioral Decision Making. 17 (4): 281–295. doi:10.1002/bdm.472.
  11. Harvey, Nigel (1997). "Confidence in judgment". Trends in Cognitive Sciences. 1 (2): 78–82. doi:10.1016/S1364-6613(97)01014-0. PMID 21223868.
  12. Hoffrage, Ulrich (2004). "Overconfidence". ใน Pohl, Rüdiger (บ.ก.). Cognitive Illusions: a handbook on fallacies and biases in thinking, judgement and memory. Psychology Press. ISBN 978-1-84169-351-4.
  13. Gigerenzer, Gerd (1993). "The bounded rationality of probabilistic mental models". ใน Manktelow, K. I.; Over, D. E. (บ.ก.). Rationality: Psychological and philosophical perspectives. London: Routledge. pp. 127–171. ISBN 9780415069557.
  14. Alpert, Marc; Raiffa, Howard (1982). "A progress report on the training of probability assessors". ใน Kahneman, Daniel; Slovic, Paul; Tversky, Amos (บ.ก.). Judgment Under Uncertainty: Heuristics and Biases. Cambridge University Press. pp. 294–305. ISBN 978-0-521-28414-1.
  15. Svenson, Ola (1981). "Are we all less risky and more skillful than our fellow drivers?". Acta Psychologica. 47 (2): 143–148. doi:10.1016/0001-6918(81)90005-6.
  16. Cannell, John Jacob (1989). "How public educators cheat on standardized achievement tests: The "Lake Wobegon" report". Friends for Education. Albuquerque, NM.
  17. Dunning, David (2005). Self-Insight: Roadblocks and Detours on the Path to Knowing Thyself. Psychology Press. ISBN 978-1841690742.
  18. Kruger, Justin (1999). "Lake Wobegon be gone! The "below-average effect" and the egocentric nature of comparative ability judgments". Journal of Personality and Social Psychology. 77 (2): 221–232. doi:10.1037/0022-3514.77.2.221. PMID 10474208.
  19. Weinstein, Neil D. (1980). "Unrealistic optimism about future life events". Journal of Personality and Social Psychology. 39 (5): 806–820. doi:10.1037/0022-3514.39.5.806.
  20. Chambers, John R.; Windschitl, Paul D. (2004). "Biases in Social Comparative Judgments: The Role of Nonmotivated Factors in Above-Average and Comparative-Optimism Effects". Psychological Bulletin. 130 (5): 813–838. doi:10.1037/0033-2909.130.5.813. PMID 15367082.
  21. Chambers, John R.; Windschitl, Paul D.; Suls, Jerry (2003). "Egocentrism, Event Frequency, and Comparative Optimism: When what Happens Frequently is "More Likely to Happen to Me"". Personality and Social Psychology Bulletin. 29 (11): 1343–1356. doi:10.1177/0146167203256870. PMID 15189574.
  22. Kruger, Justin; Burrus, Jeremy (2004). "Egocentrism and focalism in unrealistic optimism (and pessimism)". Journal of Experimental Social Psychology. 40 (3): 332–340. doi:10.1016/j.jesp.2003.06.002.
  23. Taylor, Shelley E.; Brown, Jonathon D. (1988). "Illusion and well-being: A social psychological perspective on mental health". Psychological Bulletin. 103 (2): 193–210. doi:10.1037/0033-2909.103.2.193. PMID 3283814.
  24. Kahneman, Daniel (2011-10-19). "Don't Blink! The Hazards of Confidence". New York Times. Adapted from: Kahneman, Daniel (2011). Thinking, Fast and Slow. Farrar, Straus and Giroux. ISBN 978-1-4299-6935-2.
  25. Plous, Scott (1993). The Psychology of Judgment and Decision Making. McGraw-Hill Education. ISBN 978-0-07-050477-6.
  26. Thompson, Leigh; Loewenstein, George (1992). "Egocentric interpretations of fairness and interpersonal conflict" (PDF). Organizational Behavior and Human Decision Processes. 51 (2): 176–197. doi:10.1016/0749-5978(92)90010-5.
  27. Babcock, Linda C.; Olson, Craig A. (1992). "The Causes of Impasses in Labor Disputes". Industrial Relations. 31 (2): 348–360. doi:10.1111/j.1468-232X.1992.tb00313.x.
  28. Johnson, Dominic D. P. (2004). Overconfidence and War: The Havoc and Glory of Positive Illusions. Harvard University Press. ISBN 978-0-674-01576-0.
  29. Aumann, Robert J. (1976). "Agreeing to Disagree". The Annals of Statistics. 4 (6): 1236–1239. doi:10.1214/aos/1176343654.
  30. Daniel, Kent; Hirshleifer, David; Subrahmanyam, Avanidhar (1998). "Investor Psychology and Security Market Under- and Overreactions". The Journal of Finance. 53 (6): 1839–1885. doi:10.1111/0022-1082.00077.
  31. Oskamp, Stuart (1965). "Overconfidence in case-study judgments" (PDF). Journal of Consulting Psychology. 29 (3): 261–265. doi:10.1037/h0022125. Reprinted in Kahneman, Daniel; Slovic, Paul; Tversky, Amos, บ.ก. (1982). Judgment Under Uncertainty: Heuristics and Biases. Cambridge University Press. pp. 287–293. ISBN 978-0-521-28414-1.
  32. Radzevick, J. R.; Moore, D. A. (2009). (PDF). Academy of Management Proceedings. 2009 (1): 1–6. doi:10.5465/AMBPP.2009.44246308. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2016-07-17. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)[ลิงก์เสีย]
  33. Fowler, James H.; Johnson, Dominic D. P. (2011-01-07). "On Overconfidence". Seed Magazine. ISSN 1499-0679.
  34. Judge, Timothy A.; Locke, Edwin A.; Durham, Cathy C. (1997). "The dispositional causes of job satisfaction: A core evaluations approach". Research in Organizational Behavior. 19. pp. 151–188. ISBN 978-0762301799.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Larrick, Richard P.; Burson, Katherine A.; Soll, Jack B. (2007). "Social comparison and confidence: When thinking you're better than average predicts overconfidence (and when it does not)". Organizational Behavior and Human Decision Processes. 102 (1): 76–94. doi:10.1016/j.obhdp.2006.10.002.
  • Baron, Johnathan (1994). Thinking and Deciding. Cambridge University Press. pp. 219–224. ISBN 0-521-43732-6.
  • Gilovich, Thomas; Griffin, Dale; Kahneman, Daniel (2002). Heuristics and Biases: The Psychology of Intuitive Judgment. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-79679-8.
  • Sutherland, Stuart (2007). Irrationality. Pinter & Martin. pp. 172–178. ISBN 978-1-905177-07-3.

ปรากฏการณ, เช, อม, นมากเก, นไป, งกฤษ, overconfidence, effect, เป, นความเอนเอ, ยงทางประชานอ, นม, หล, กฐานช, ดเจน, ความเช, อม, นอ, นเป, นอ, ตว, ยค, อเป, นความร, กส, วนต, จะเก, นกว, าความเป, นจร, งท, เป, นปรว, ยอย, างคงเส, นคงวา, โดยเฉพาะเม, อความร, กเช, อม, นค, . praktkarnechuxmnmakekinip xngkvs overconfidence effect epnkhwamexnexiyngthangprachanxnmihlkthanchdecn thikhwamechuxmnxnepnxtwisykhuxepnkhwamrusukswntw caekinkwakhwamepncringthiepnprwisyxyangkhngesnkhngwa odyechphaaemuxkhwamrusukechuxmnkhxnkhangsung 1 niepntwxyanghnungkhxngkarprbethiybkhwamepnipidkhxngehtukarntang tamkhwamrusukthiepnxtwisy ihtrngkbkhwamcringidimdi inwrrnkrrmwichakartang khwamechuxmnekincaminiyam 3 xyang khux 2 karpraeminekinsingthitntha overestimation karethiybthana singthitnthaekinemuxethiybkbphuxun overplacement khwamethiyngekincring epnkaraesdngkhwamaenicthiimsmehtuphlwakhwamechuxkhxngtnepncring overprecision withikarsuksathiichxyangsamykkhux thamphuekharwmwa rusukechuxmnaekhihninkhwamechuxthimihruxinkhatxbthitnih khxmulaesdngwa khwamrusukechuxmncaekinkhwamcringxyangepnrabb sungaesdngnywa khneraechuxmnwatwexngthukekinkwaehtuphl thakhwamechuxmnkhxngmnusyprbethiybkbkhwamcringxyangsmburn kartdsinicthiechuxmn 100 kkhwrcathuktxng 100 echuxmn 90 kkhwrthuk 90 epntn ethiybkbphlkarsuksasakhythiphbwa khwamechuxmncaekincringemuxtxbkhathamthiyakaelaimkhunekhyyktwxyangechn inkarsakdkha phurwmkarthdlxngcathuk 80 ethiybkbthitnxangwaechuxmnwasakdthuk 100 3 klawxikxyangkkhux xtrakhwamphidphladcring xyuthi 20 odyphurwmkarthdlxngkhadwa xyuthi 0 inngansuksathiphurwmkarthdlxngtxbwathukhruxphidsahrbpraoykhekiywkbkhwamruthwip phwkekhaechuxmnekininthuk radb echn thaechuxmn 100 inkhatxbkhxngtn kcaphid 20 epntn 4 enuxha 1 aebbtang 1 1 karpraeminekin overestimation 1 1 1 karaeplsingeraphidwakhwbkhumid 1 1 2 ehtuphlwibtiinkarwangaephn 1 1 3 hlkthankhdkhan 1 2 khwamethiyngekincring overprecision 1 2 1 chwngkhwamechuxmn 1 3 karethiybthanaekin overplacement 1 3 1 praktkarnehnuxkwaodyechliy 1 3 2 karmxnginaengdiodyepriybethiyb 1 3 3 karaeplsingeraphidechingbwk 2 phltxchiwit 3 khwamaetktangrahwangbukhkhl 4 duephim 5 echingxrrthaelaxangxing 6 aehlngkhxmulxunaebbtang aekikhkarpraeminekin overestimation aekikh xakarpraktkhxngkhwamechuxmnekinxyanghnungkkhux khwamonmexiynginkarpraeminthanakhxngtnekinineruxngkartdsinichruxkarkratha epnkhwamaenicthitnrusukeruxngkhwamsamarth karkratha radbkarkhwbkhum aelaoxkaskhwamsaerckhxngtn sungmioxkasekidmakthisudinnganthiyak insingthiyak emuxkhwamlmehlwmioxkasmakkwa hruxemuxbukhkhltxngpraemininsingthitnimchanay karpraeminekinyngekidineruxngtang nxkehnuxcakkarkrathakhxngtn sungrwmpraktkarnkaraeplsingeraphidwakhwbkhumidaelaehtuphlwibtiinkarwangaephn 2 karaeplsingeraphidwakhwbkhumid aekikh khxmulephimetim karaeplsingeraphidwakhwbkhumid karaeplsingeraphidwakhwbkhumidhmaythungkhwamonmexiyngthibukhkhlcapraphvtiehmuxnkbsamarthkhwbkhumxairid emuxkhwamcringimsamarthely 5 xyangirkdi hlkthanimsnbsnunaenwkhidwa mnusypraeminekinkarkhwbkhumthitnmixyangepnrabb khuxemuxtnsamarthkhwbkhumidsung kklbpraeminnxyekincringthungkarkhwbkhumidthitnmi 6 ehtuphlwibtiinkarwangaephn aekikh khxmulephimetim ehtuphlwibtiinkarwangaephn ehtuphlwibtiinkarwangaephnhmaythungkhwamonmexiyngthimnusycapraeminwangancaesrcemuxirerwekincring khuxpraeminewlaephuxthanganihesrcnxyekinip 7 sungmikalngthisudsahrbnganthinanaelasbsxn odycaimmielyhruxpraeminklbknsahrbnganthingay aelathaesrciderw hlkthankhdkhan aekikh praktkarnkhwamprarthnahruxkhwamechuxthixyuehnuxehtuphl thimnusypraeminkhwamepnipidkhxngehtukarntamphlthitxngkar khxnkhangcaekidnxy 8 bangswnxacepnephraamnusybangkhncamxngolkinaengrayephuxpxngkntwkxnhnaehtukarnsakhy 9 ephuxldkhwamphidhwngthicatidtammathaphyakrnsingthicaiddikwakhwamepncring 10 khwamethiyngekincring overprecision aekikh khwamethiyngekincring overprecision epnkhwamechuxmnekincringwa tnrukhwamcring 11 12 hlkthankhxngpraktkarnniodymakmacakngansuksathithamphurwmkarthdlxngwa echuxmnwaraykarhnung thuktxngethair aemcamipraoychnbang aetwithiniimsamarthaeykaeyakarpraeminekin overestimation cakkhwamethiyngekincring overprecision ephraakartdsinkhwamechuxmninraykarechnni aesdngpraktkarnthngsxnghlngcakihtdsinkhwamthuktxngkhxngraykarchudhnung thaihpraemincanwnthitntdsinidthuktxng phurwmkarthdlxngmkcaimrayngankhaaennkhxngtnexngekin aetkhaechliykhxngkhwamechuxmninkartdsinthukphidtxraykar kekincanwnraykarthitnxangwatdsinthuk 13 khaxthibayxyanghnungkkhux khwamechuxmninkartdsinthukphidtxraykarekincringkephraapraktkarnkhwamethiyngekincring aetkartdsinicthwipimaesdngkarpraeminekinxyangepnrabb chwngkhwamechuxmn aekikh hlkthanthidisudkhxngkhwamethiyngekincring macakngansuksathiihphurwmkarthdlxngchibngkhwamaennxnkhxngkhwamrukhxngtn odykahndchwngkhwamechuxmn 90 sahrbkarpraeminkhahnung odyechphaa thamnusyprbethiybkbkhwamcringxyangsmburn chwngkhwamechuxmn 90 kcarwmkhathiepncring 90 thnghmd 14 aetcring aelw xtrathithuktxngbxykhrngtaaekh 50 sungaesdngwa mnusyaesdngchwngkhwamechuxmnaekhbekinip sungkaesdngwa mnusykhidwa khwamrukhxngtn aemnyaekinkhwamepncring karethiybthanaekin overplacement aekikh karethiybthanaekinxacepnxakarpraktednthisudkhxngpraktkarnmnicmakekinip epnkarepriybkarkratha thanakhxngtnexngethiybkbphuxun sungekidemuxmnusyechuxwatndikwakhnxun hrux dikwakhnxunodyechliy 2 mnepnkarcdhruxihkhaaennwatndikwa ekngkwakhnxun epnsingthiekidbxykwainnganngay thieraechuxwathasaercidngay khaxthibaysahrbpraktkarnnikkhuxmnchwyihrusukdikbtwexngaelachwyrksakhwamphumiicintn praktkarnehnuxkwaodyechliy aekikh dubthkhwamhlkthi khwamehnuxkwaethiym praktkarnehnuxkwaodyechliythidngsudxacepnnganpi 1981 thiphbwa phukhbrthchawxemrikn 93 ihkhaaenntwexngwa khbrthdikwakhamthythan 15 praktkarnthiorngeriyninekhttang xangwa nkeriynkhxngtneriyndikwankeriynodyechliykhxngpraethsideriykwa praktkarnthaelsabowbikxn Lake Wobegon effect tamemuxnginniyaythi hyingthnghmdaekhngaerng chaythukkhnruphlx aelaedkthngpwngehnuxkwaedkthrrmda 16 karethiybthanaekinkphbinsthankarnxun makmakhlayxyangechnkn 17 aetnganpi 1999 kidaesdngwa praktkarnnicakdxyuinsingthithangay thikarthasaercepneruxngpktiaelaphutharusukwa tnsamarth sahrbnganthiyak praktkarncaklbknkhuxphuthacarusukwathaidaeykwaphuxun 18 karmxnginaengdiodyepriybethiyb aekikh khxmulephimetim khwamexnexiyngodykarmxnginaengdi nkwicybangthanxangwa mnusykhidwasingdi mioxkasekidaektnexngmakkwakhnxun ethiybkbsingray thimioxkasekidaektnexngnxykwaphuxun 19 aetnkwicyxun kidchiwa nganwicythiphan mamkcatrwcsxbphldithiekidthw ip echn karmibanepnkhxngtnexng aelaphlraythiminxy echn thukfapha 20 21 22 khux khwamekidbxykhxngehtukarnepntwxthibaysingthikhnphbinngankxn ekiywkbkarmxnginaengdiodyepriybethiyb mnusykhidwaehtukarnthisamy echn camixayuekin 70 pi mioxkasekidaektnmakkwakhnxun aelaehtukarnthiminxy echn camixayuekin 100 pi mioxkasekidkhunaektnexngnxykwakhnxun karaeplsingeraphidechingbwk aekikh khxmulephimetim karaeplsingeraphidechingbwk nganpi 1988 xangwa mnusyyudtidkbkhwamechuxintnexngthidiekincring aeplsingeraphidwakhwbkhumid aelaechuxkhwamdi khwamekngkwathiimepncring ephraamnchwyihrbmuxehtukarnaelakawhnainchiwitid 23 aemcamihlkthanwakhwamechuxthimxngolkinaengdicamishsmphnthkbchiwitthidikwa nganwicyodymakthiaesdngkhwamsmphnthechnni ksamarthxthibayidinaengxun dwyphltxchiwit aekikh aem phuthanganmuxxachiphthimnicmakekincaechuxxyangcringicwatnmikhwamchanay praphvtiehmuxnphuchanaykar aelaaetngtwehmuxnphuchanay aet khunkcatxngdinrnephuxetuxntwexngwa phwkekha khwamcring xyuinkamuxkhxngkhwamechuxphid aedeniyl khahnamn 24 khwammnicmakekineriykwaepnkhwamexnexiyngthangprachanthimixyuxyangkladekluxnthisud aelamioxkassrangkhwamhaynamakthisud inbrrdakhwamexnexiynginmnusy 25 cungidothswaepnehtukhxngkhdikhwam karndhyudngan sngkhram fxngsbutladhlkthrphy aelakarlmkhxngtladhunkhdikhwam karndhyudngan aelasngkhramxacekidcakkarethiybthanaekincring thaocthkhruxcaelymiaenwonmechuxwa tnkhwrcaidmakkwa tnyutithrrmkwa hruxchxbthrrmkwafaytrngkham nikcaxthibaykhwamyudeyuxkhxngkhdikhwamthiimsmehtuphl 26 thabristhhruxshphaphaerngnganmiaenwonmechuxwa tnmikalngmakkwaaelaxyuinthanthiethiyngthrrmmakkwafaytrngkham nixaccaepnswnihkarndhyudnganyudeyux 27 thapraethshnung echuxwa kalngthharkhxngtnekhmaekhngkwapraethsxun kxacxthibaykhwamphrxmephuxthasngkhram 28 khwamethiyngekincringxacmiphlsakhytxphvtikrrmkarlngthunaelakarsuxkhayhun thvsdikarenginaebbkhlassikimsamarthxthibaywa thaphukhakhayhunthnghmd epnphuthakarxyangmiehtuphltamthvsdikhwamnacaepnaebbeby thaimcungmikarkhakhayintladhunmakmaykhnadni 29 dngnn khwamethiyngekincringxacepnkhatxbxyanghnung 30 khuxthaphuthakarmnicinkarpraeminmulkhakhxngsinthrphyhnung khxngtnwathuktxng phwkekhakcaetmickhakhaykbkhnxunphumikhxmultangknnganpi 1965 trwcsxbnkcitwithyathangkhlinikaelanksuksacitwithya odyihtxbkhathamaebbhlaytweluxkthiphwkekhatxngsrupkhxmulcakkrnisuksa 31 sahrbkhatxbaetlakhx phurwmkarthdlxngcakahndkhwammnicepnepxresntwakhatxbthiihmioxkasthukaekhihn sungthaihsamarthepriybidkbkhwamepncring emuxidkhxmulephimkhuncakkrnisuksa khwammnickhxngphwkekhaidephimkhuncak 33 epn 53 aetkartxbtrngkbkhwamepncringimidephimkhun khuxthuknxykwa 30 epnkaraesdngkhwammnicekin sungephimkhunemuxphurwmkarthdlxngmikhxmulmakkhunephuxtdsinic 31 thungaemmnusycaimonmexiyngxyangthwipinkarmikhwammnicmakekinip sthankarnthangsngkhmaelakarkhdeluxkthikhdpraoychn adverse selection xacoprohmtihmi yktwxyangechn phuthimioxkasklahayphxephuxerimthurkickhxngtnexng kkhuxbukhkhlthiethiybkhwamsamarthkhxngtnexngekinkwaphuxunthixacepnkhuaekhng aelathaphulngkhaaennesiyngehnwaphunathimnicnaechuxthuxmakkwa phuthiaekhngkhnephuxtaaehnngphunakxaceriynruwa khwrcaaesdngkhwammnicmakkwakhuaekhngephuxihchnakareluxktng 32 khwammnicekinxacmiphlditxkhwamphumiicaehngtn aelathaihbukhkhlmungmnephuxihsaercthungepahmay khux khwamechuxintnexngxacthaihmungmnaelaphyayammakkwabukhkhlphuimechux 33 khwamaetktangrahwangbukhkhl aekikhkarpraemintwexngthiidkhasung sungaesdnglksnabukhlikphaphxnesthiyraelamixngkhkhux locus of control neuroticism self efficacy aelakhwamphumiicaehngtn 34 xacthaihekidpraktkarnmnicmakekin ephraaphuidkhasungcakhidthungexnginechingbwkaelamnicinkhwamsamarthkhxngtn 34 aemkhathisungmakkcathaihbukhkhlmnicekinkhwamepncringduephim aekikhhiwristikinkarpraeminaelakartdsinic raychuxkhwamexnexiyngthangprachan khwamexnexiyngodykarmxnginaengdi scniymehtusumesraechingxrrthaelaxangxing aekikh Pallier Gerry Wilkinson Rebecca Danthiir Vanessa Kleitman Sabina Knezevic Goran Stankov Lazar Roberts Richard D 2002 The Role of Individual Differences in the Accuracy of Confidence Judgments The Journal of General Psychology 129 3 257 299 doi 10 1080 00221300209602099 PMID 12224810 2 0 2 1 2 2 Moore Don A Healy Paul J 2008 The trouble with overconfidence Psychological Review 115 2 502 517 doi 10 1037 0033 295X 115 2 502 PMID 18426301 Adams P A Adams J K 1960 Confidence in the recognition and reproduction of words difficult to spell The American journal of psychology 73 4 544 552 doi 10 2307 1419942 PMID 13681411 Lichtenstein Sarah Fischhoff Baruch Phillips Lawrence D 1982 Calibration of probabilities The state of the art to 1980 in Kahneman Daniel Slovic Paul Tversky Amos b k Judgment Under Uncertainty Heuristics and Biases Cambridge University Press pp 306 334 ISBN 978 0 521 28414 1 Langer Ellen J 1975 The illusion of control Journal of Personality and Social Psychology 32 2 311 328 doi 10 1037 0022 3514 32 2 311 Gino Francesca Sharek Zachariah Moore Don A 2011 Keeping the illusion of control under control Ceilings floors and imperfect calibration Organizational Behavior and Human Decision Processes 114 2 104 114 doi 10 1016 j obhdp 2010 10 002 Buehler Roger Griffin Dale Ross Michael 1994 Exploring the planning fallacy Why people underestimate their task completion times Journal of Personality and Social Psychology 67 3 366 381 doi 10 1037 0022 3514 67 3 366 Krizan Zlatan Windschitl Paul D 2007 The influence of outcome desirability on optimism PDF Psychological Bulletin 133 1 95 121 doi 10 1037 0033 2909 133 1 95 PMID 17201572 Norem Julie K Cantor Nancy 1986 Defensive pessimism Harnessing anxiety as motivation Journal of Personality and Social Psychology 51 6 1208 1217 doi 10 1037 0022 3514 51 6 1208 PMID 3806357 McGraw A Peter Mellers Barbara A Ritov Ilana 2004 The affective costs of overconfidence PDF Journal of Behavioral Decision Making 17 4 281 295 doi 10 1002 bdm 472 Harvey Nigel 1997 Confidence in judgment Trends in Cognitive Sciences 1 2 78 82 doi 10 1016 S1364 6613 97 01014 0 PMID 21223868 Hoffrage Ulrich 2004 Overconfidence in Pohl Rudiger b k Cognitive Illusions a handbook on fallacies and biases in thinking judgement and memory Psychology Press ISBN 978 1 84169 351 4 Gigerenzer Gerd 1993 The bounded rationality of probabilistic mental models in Manktelow K I Over D E b k Rationality Psychological and philosophical perspectives London Routledge pp 127 171 ISBN 9780415069557 Alpert Marc Raiffa Howard 1982 A progress report on the training of probability assessors in Kahneman Daniel Slovic Paul Tversky Amos b k Judgment Under Uncertainty Heuristics and Biases Cambridge University Press pp 294 305 ISBN 978 0 521 28414 1 Svenson Ola 1981 Are we all less risky and more skillful than our fellow drivers Acta Psychologica 47 2 143 148 doi 10 1016 0001 6918 81 90005 6 Cannell John Jacob 1989 How public educators cheat on standardized achievement tests The Lake Wobegon report Friends for Education Albuquerque NM Dunning David 2005 Self Insight Roadblocks and Detours on the Path to Knowing Thyself Psychology Press ISBN 978 1841690742 Kruger Justin 1999 Lake Wobegon be gone The below average effect and the egocentric nature of comparative ability judgments Journal of Personality and Social Psychology 77 2 221 232 doi 10 1037 0022 3514 77 2 221 PMID 10474208 Weinstein Neil D 1980 Unrealistic optimism about future life events Journal of Personality and Social Psychology 39 5 806 820 doi 10 1037 0022 3514 39 5 806 Chambers John R Windschitl Paul D 2004 Biases in Social Comparative Judgments The Role of Nonmotivated Factors in Above Average and Comparative Optimism Effects Psychological Bulletin 130 5 813 838 doi 10 1037 0033 2909 130 5 813 PMID 15367082 Chambers John R Windschitl Paul D Suls Jerry 2003 Egocentrism Event Frequency and Comparative Optimism When what Happens Frequently is More Likely to Happen to Me Personality and Social Psychology Bulletin 29 11 1343 1356 doi 10 1177 0146167203256870 PMID 15189574 Kruger Justin Burrus Jeremy 2004 Egocentrism and focalism in unrealistic optimism and pessimism Journal of Experimental Social Psychology 40 3 332 340 doi 10 1016 j jesp 2003 06 002 Taylor Shelley E Brown Jonathon D 1988 Illusion and well being A social psychological perspective on mental health Psychological Bulletin 103 2 193 210 doi 10 1037 0033 2909 103 2 193 PMID 3283814 Kahneman Daniel 2011 10 19 Don t Blink The Hazards of Confidence New York Times Adapted from Kahneman Daniel 2011 Thinking Fast and Slow Farrar Straus and Giroux ISBN 978 1 4299 6935 2 Plous Scott 1993 The Psychology of Judgment and Decision Making McGraw Hill Education ISBN 978 0 07 050477 6 Thompson Leigh Loewenstein George 1992 Egocentric interpretations of fairness and interpersonal conflict PDF Organizational Behavior and Human Decision Processes 51 2 176 197 doi 10 1016 0749 5978 92 90010 5 Babcock Linda C Olson Craig A 1992 The Causes of Impasses in Labor Disputes Industrial Relations 31 2 348 360 doi 10 1111 j 1468 232X 1992 tb00313 x Johnson Dominic D P 2004 Overconfidence and War The Havoc and Glory of Positive Illusions Harvard University Press ISBN 978 0 674 01576 0 Aumann Robert J 1976 Agreeing to Disagree The Annals of Statistics 4 6 1236 1239 doi 10 1214 aos 1176343654 Daniel Kent Hirshleifer David Subrahmanyam Avanidhar 1998 Investor Psychology and Security Market Under and Overreactions The Journal of Finance 53 6 1839 1885 doi 10 1111 0022 1082 00077 31 0 31 1 Oskamp Stuart 1965 Overconfidence in case study judgments PDF Journal of Consulting Psychology 29 3 261 265 doi 10 1037 h0022125 Reprinted in Kahneman Daniel Slovic Paul Tversky Amos b k 1982 Judgment Under Uncertainty Heuristics and Biases Cambridge University Press pp 287 293 ISBN 978 0 521 28414 1 Radzevick J R Moore D A 2009 Competing To Be Certain But Wrong Social Pressure and Overprecision in Judgment PDF Academy of Management Proceedings 2009 1 1 6 doi 10 5465 AMBPP 2009 44246308 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2016 07 17 Unknown parameter deadurl ignored help lingkesiy Fowler James H Johnson Dominic D P 2011 01 07 On Overconfidence Seed Magazine ISSN 1499 0679 34 0 34 1 Judge Timothy A Locke Edwin A Durham Cathy C 1997 The dispositional causes of job satisfaction A core evaluations approach Research in Organizational Behavior 19 pp 151 188 ISBN 978 0762301799 aehlngkhxmulxun aekikhLarrick Richard P Burson Katherine A Soll Jack B 2007 Social comparison and confidence When thinking you re better than average predicts overconfidence and when it does not Organizational Behavior and Human Decision Processes 102 1 76 94 doi 10 1016 j obhdp 2006 10 002 Baron Johnathan 1994 Thinking and Deciding Cambridge University Press pp 219 224 ISBN 0 521 43732 6 Gilovich Thomas Griffin Dale Kahneman Daniel 2002 Heuristics and Biases The Psychology of Intuitive Judgment Cambridge University Press ISBN 978 0 521 79679 8 Sutherland Stuart 2007 Irrationality Pinter amp Martin pp 172 178 ISBN 978 1 905177 07 3 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title praktkarnechuxmnmakekinip amp oldid 7682220, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม