fbpx
วิกิพีเดีย

ปัญหาทางเดินม้าหมากรุก

ปัญหาทางเดินม้าหมากรุก (อังกฤษ: Knight's tour) เป็นปัญหาทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการเดินม้าในกระดานหมากรุก โดยม้าจะต้องเดินผ่านช่องทุกช่องบนกระดานหมากรุกเพียงช่องละหนึ่งครั้งเท่านั้นและเป็นไปตามกฎกติกาของเกมหมากรุก ถ้าการเดินม้ามีจุดเริ่มต้นเป็นช่องเดียวกับจุดสิ้นสุดจะเรียกการเดินม้านั้นว่า ”การเดินม้าแบบปิด” แต่ถ้าหากเป็นคนละช่องกันจะเรียกการเดินม้านั้นว่า “การเดินม้าแบบเปิด” ซึ่งในปัจจุบันยังไม่ทราบจำนวนวิธีในการเดินม้าแบบเปิดที่แน่ชัด ขนาดของตารางหมากรุกที่ใช้ในปัญหานี้มีหลายขนาด โดยขนาดที่ใช้โดยทั่วไปจะเป็นขนาด 8 x 8 ช่อง

ทางเดินม้าหมากรุกปิด
ทางเดินม้าหมากรุกเปิด

ทฤษฎีบท

ปัญหาทางเดินหมากรุกเป็นตัวอย่างหนึ่งของ ปัญหาทางเดินแบบแฮมิลตันในเรื่องทฤษฎีกราฟ และปัญหาในการหาการเดินม้าหมากรุกแบบปิดนับเป็นตัวอย่างที่คล้ายคลึงกับปัญหาวัฏจักรแบบแฮมิลตัน โดยจะมีความแตกต่างจากปัญหาทางเดินแบบแฮมิลตัน คือ ปัญหาการเดินม้าหมากรุกแบบปิดนั้นมีฟังก์ชันของเวลาการทำงานเป็นเชิงเส้น หรือ สามารถบรรยายความสัมพันธ์ของฟังก์ชันในแง่ของอัตราการเติบโตได้ด้วยสัญกรณ์เชิงเส้นกำกับ O(n)

ประวัติ

ปัญหาทางเดินม้าหมากรุกได้ถูกค้นพบในศตวรรษที่ 9 โดยกวีชาวอินเดียชื่อว่า รุถถะ เขาได้เขียนบทกวีเกี่ยวกับศิลปะ แบบแผนในการเล่นม้าหมากรุกแบบครึ่งกระดานในภาษาสันสกฤต ซึ่งแตกต่างจากกวีอื่นๆที่เขียนไว้

ลีออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์กลุ่มแรกที่สามารถจับเทคนิคปัญหาทางเดินม้าหมากรุกได้ ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นเทคนิคแรกที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคนี้ได้ถูกเขียนเป็นกฎของวานดรอฟและได้รับการเผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ.1823
ในศตวรรษที่ 20 กลุ่มของนักเขียน นามว่า อูลิโป ได้ใช้กฎนี้ในหลายๆรูปแบบ หนึ่งในบทความที่มีชื่อเสียงคือการเดินม้าหมากรุกบนขนาดตาราง 10x10 ช่อง ซึ่งอยู่ในหนังสือรางวัลโนเวลจอเจิส เพรก และในเกมการแข่งขันหมากรุก ระหว่าง วิสวันทาน เอนาน กับ วีสลิน โทเพลอฟ ในปี ค.ศ.2010 ซึ่งในเกมนี้ วิสวันทาน เอนาน ได้ทำการเดินม้าหมากรุกทั้ง 2 ตัว 13 ครั้งติดต่อกัน ซึ่งผู้บรรยายคิดว่า วิสวันทาน เอนาน นั้นพยายามจะพิสูจน์หรือค้นหาเทคนิคการเดินม้าหมากรุก

ทางเดินม้าหมากรุกปิด

ในตารางหมากรุกขนาด 8 × 8 ช่อง มีจำนวนวิธีการเดินม้าหมากรุกแบบปิด ระบุทิศทาง แน่นอน จำนวน 26,534,728,821,064 วิธี และมีจำนวนวิธีการเดินม้าหมากรุกแบบปิด ไม่ระบุทิศทาง จำนวน 13,267,364,410,532 วิธี ซึ่งมีจำนวนเป็นครึ่งหนึ่งของแบบระบุทิศทาง และในตารางหมากรุกขนาด 6x6 มี วิธีการเดินม้าหมากรุกแบบปิดซึ่งไม่ระบุทิศทางจำนวน 9,862 วิธี การเดินม้าหมากรุแบบปิดมีกรณีที่เล็กที่สุดคือ กรณี 1 × 1 (เป็นทฤษฎีบทแทรกของทฤษฎีนี้)

ทฤษฎีบทของชเวงค์

สำหรับทุกตารางหมากรุกขนาด m × n โดยที่ m น้อยกว่า n แล้วเราจะสามารถหาวิธีการเดินม้าหมากรุกแบบปิดได้ ยกเว้นตารางหมากรุกดังกล่าวจะสอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี้อย่างน้อย 1 เงื่อนไข

  1. m และ n เป็นจำนวนคี่ทั้งคู่ โดยที่ m≠1 และ n≠1
  2. m = 1, 2, หรือ 4 โดยที่ m≠1 และ n≠1
  3. m = 3 และ n = 4, 6, หรือ 8


เงื่อนไขที่1

สาเหตุที่เงื่อนไขนี้ไม่สามารถทำการเดินแบบปิดได้ เนื่องจากจำนวนช่องของสีบนตารางที่ไม่เท่ากัน กล่าวคือ ตารางหมากรุปแบบมาตรฐานจะมีสี 2 สี ได้แก่สีดำและสีขาว ซึ่งม้าหมากรุกสามารถเดินได้ทั้ง 2 สี คือ จากช่องสีดำไปช่องสีขาวและจากช่องสีขาวไปช่องสีดำ แต่ในการเดินแบบปิด ม้าจะต้องเดินบนช่องขาวและช่องดำเป็นจำนวนเท่ากัน และถ้าจำนวน m และ n เป็นจำนานคี่ทั้งคู่ จำนวนช่องทั้งหมดบนตารางหมากรุกจะเป็นเลขคี่ ซึ่งจะมีช่องขาวและช่องดำไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น ในตารางหมากรุกขนาด 5x5 จะมีสีหนึ่ง 13ช่อง และอีกสีหนึ่ง 12ช่อง สีที่ต่างกันมีจำนวนช่องไม่เท่ากัน ดังนั้นไม่มีวิธีที่จะเดินม้าหมากรุกแบบปิด กรณีนี้จะมีเพียงการเดินม้าแบบเปิดได้เท่านั้น


เงื่อนไขที่ 2

เมื่อกระดานข้างที่สั้นกว่ามีความกว้างเป็น 1,2 หรือ 4 จะไม่สามารถการเดินแบบปิดได้ และเมื่อ m=1 หรือ 2 จะไม่สามารถเดินแบบปิดได้ เนื่องจากม้าจะไม่สามารถเดินไปในทุกๆช่องได้ (ยกเว้นตารางหมากรุกขนาด 1x1) และเมื่อ m=4 ก็ไม่สามารถเกิดการเดินแบบปิดได้เช่นกัน โดยการพิสูจน์จากสีในตารางหมากรุก
เริ่มพิสูจน์โดยการสมมุติให้ตาราง 4xn สามารถเดินม้าแบบปิดได้ และให้ A1 เป็นเช็ตของช่องสีดำและ A2 เป็นเช็ตของช่องสีขาว แล้วถ้ามีช่องสีขาวและช่องสีดำ สลับกันบนกระดานหมากรุก พิจารณาจากรูปทางด้านขวา กำหนดให้ B1 เป็นเช็ตของช่องสีเขียวและ B2 เป็นเช็ตของช่องสีแดง จากรูปทางด้านขวาจะสังเกตได้ว่าจำนวนของช่องสีเขียวและสีแดงมีจำนวนเท่ากัน และสมมุติให้ม้าเดินจากช่องใน B1 ม้าจะต้องเดินไปช่องใน B2 และม้าจะต้องเดินบนทุกๆช่อง โดยจะเดินไม่ซ้ำช่องกัน และเมื่อม้าอยู่บนช่อง B2 ม้าจะต้องเดินไปในช่องของ B1 ต่อไป (ในทางกลับกัน ม้าต้องเดินไปบนช่อง B1 สองครั้งในภายหลัง)
ถ้าเราปฏิบัติตามการสมมุติข้างต้นเราจะพบข้อขัดแย้งดังนี้
  1. การเดินครั้งแรก ม้าจะเดินไปในช่องของ A1 และ B1 ถ้าไม่ได้เดินแบบนี้ เราสามารถเปลี่ยนเป็น B1 และ B2 ก็จะถูกเช่นเดียวกัน
  2. การเดินครั้งที่ 2 จะเป็นสมาชิกในเช็ตของ A2 และ B2.
  3. การเดินครั้งที่ 3 จะเป็นสมาชิกในเช็ตของ A1 และ B1.
  4. การเดินครั้งที่ 4 จะเป็นสมาชิกในเช็ตของ A2 และ B2.
  5. และอีกมากมาย
ดังนั้นเช็ต A1 จะมี สมาชิกเหมือนเช็ต B1 และเช็ต A2 มีสมาชิกเหมือนเช็ต B2 แต่ว่า การสรุปข้างต้นนั้นไม่ถูกต้องเสมอไป ถ้าสีแดงและสีเขียวจากรูปด้านบน ไม่เหมือนกระดานหมากรุก เช็ตของสีแดงจะไม่เหมือนเช็ตของสีดำ

ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าไม่สามารถเดินม้าแบบปิดในตาราง 4xn ได้ สำหรับ ทุกๆค่าของ n


เงื่อนไขที่ 3

เงื่อนไขนี้สามารถพิสูจน์ได้จากการแตกเป็นหลายๆวิธี และการสร้างการเดินแบบแบบปิด โดยใช้ตารางแบบ 3xn (n=4,6,8) จะไม่สามารถทำได้ ตารางหมากรุกแบบ 3xn โดย n เป็นจำนวนคู่และมีค่ามากกว่า 8 จะสามารถเกิดการเดินแบบปิดได้โดยอุปนัย


เงื่อนไขอื่นๆ

การพิสูจน์อย่างง่ายจากเงื่อนไข 3 ทั้งข้อที่กล่าวข้างต้น ไม่สามารถพิสูจน์ทฤษฎีทั้งหมดได้ การพิสูจน์ทฤษฎีนี้ยังคง ต้องการกระดานแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่ไม่ได้ซ้ำในเงื่อนไข 3 ข้อด้านบน จึงจะทำให้เกิดการเดินแบบปิดได้

ขั้นตอนวิธีทางคอมพิวเตอร์

ในการหาวิธีการเดินม้าหมากรุกนั้นนอกจากขั้นตอนวิธีแบบลุยทุกรูปแบบ (ซึ่งจะใช้เวลาในการทำงานนานมาก ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งหากจะนำมาใช้กับตารางขนาดใหญ่) ยังมีขั้นตอนวิธีอื่นๆอีก ดังนี้

วิธีการแก้ปัญหาโดยการแบ่งแยกและเอาชนะ

เริ่มจากการแบ่งส่วนของตารางหมากรุกเป็นส่วนย่อยๆ พิจารณาหาวิธีในแต่ละส่วนย่อย แล้วจึงนำแต่ละส่วนย่อยมาประกอบกัน ซึ่งวิธีการนี้สามารถบรรยายความสัมพันธ์ของฟังก์ชันในแง่ของอัตราการเติบโตได้ด้วยสัญกรณ์เชิงเส้นกำกับ O(n2)

กฎของวานดอล์ฟ

 
รูปภาพตาราง แสดงวิธีการเดินม้าหมากรุกตามกฎของวานส์ดอล์ฟ

กฎของวานดอล์ฟเป็นวิธีการแบบฮิวริสติกสำหรับการหาวิธีการเดินม้าหมากรุก กล่าวโดยสรุปคือในการเดินม้าแต่ละครั้งนั้นจะต้องเป็นไปตามกฎ กล่าวคือ กำหนดให้ ในทุกช่องที่สามารถเดินไปจากช่องปัจจุบัน(ซึ่งไม่นับรวมถึงช่องที่เคยเดินผ่านไปแล้ว) จะมีค่าเท่ากับจำนวนช่องที่ช่องดังกล่าวสามารถเดินต่อไปได้ตามกฎของการเดินม้าหมากรุก(ซึ่งไม่นับรวมถึงช่องที่เคยเดินผ่านไปแล้ว) การเลือกช่องต่อไปสำหรับการเดินม้าจะพิจารณาเลือกช่องที่มีค่าน้อยที่สุด ซึ่งหากมีหลายช่องที่มีค่าน้อยที่สุดเท่ากันก็อาจมีทางเลือกได้หลายทาง นอกจากกลวิธีดังกล่าวในการแก้ปัญหานี้ยังมีกลวิธีอื่นๆอีกหลายหลายวิธี เช่น กลวิธีของโพ และกลวิธีของสไควเออร์และคูล โดยทั่วไปกฎของวานส์ดอล์ฟ จะนำไปประยุกต์ใช้กับเรื่องกราฟได้ ในเรื่องของทฤษฎีกราฟ การเดินม้าหมากรุกแต่ละครั้ง จะเดินไปยังปมที่อยู่ติดกันด้วยดีกรีที่น้อยที่สุด ถึงแม้ว่าปัญหาทางเดินของแฮมิลตันจะจัดอยู่ในเรื่องของกลุ่มปัญหาเอ็นพีแบบยาก โดยปกติแล้วในการใช้วิธีการแบบฮิวริสติกในหลายๆกราฟสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยอัตราการเติบโตแบบเชิงเส้น แต่สำหรับปัญหาทางเดินม้าหมากรุกนี้จัดเปนกรณีพิเศษ

วิธีดำเนินการเพื่อประยุกต์กับกฎดังกล่าว

กฎของวานดอล์ฟสามารถใช้ได้กับจุดเริ่มต้นที่ช่องใดก็ได้ของตารางหมากรุก จำนวนครั้งที่เดินได้ก็คือจำนวนตัวเลขที่บรรจุในแต่ละช่อง ซึ่งตามกฎแล้ว จะต้องเดินไปยังช่องที่มีตัวเลขน้อยที่สุดนั่นเอง จากนั้นก็เลือกเดินตามกฎต่อไปจนกว่าจะเดินได้ครบทุกช่อง


ข้อตกลง :

  • ตำแหน่ง Q จะเข้าถึงจากตัวแหน่ง P ได้ ถ้าหากว่า P สามารถเคลื่อนที่ไปยัง Q ได้ด้วยการเคลื่อนที่เพียงครั้งเดียว และ Q ยังเป็นตำแหน่งที่ยังไม่ได้เยี่ยม
  • ความสามารถในการเข้าถึงตำแหน่ง P เท่ากับ จำนวนของตำแหน่งที่สามารถเข้าถึงได้จากตำแหน่ง P


ขั้นตอนวิธี :

1. กำหนดให้ P เป็นจำแหน่งเริ่มต้นของการเดินม้าหมากรุก โดยเลือกจุดเริ่มต้นนี้แบบสุ่ม
2. กำหนดให้จุดเริ่มต้นมีเลขกำกับการเคลื่อนที่เป็น 1
3. สำหรับทุกการเคลื่อนที่ที่มีเลขกำกับการเคลื่อนที่เป็น 2 ขึ้นไป
3.1 กำหนดให้ S เป็นตำแหน่งที่เข้าถึงได้จากตำแหน่งที่ส่งเข้าไป
3.2 กำหนดตำแหน่ง P ให้เป็นตำแหน่ง ที่ตำแหน่ง S มีความสามารถที่จะการเข้าถึงได้น้อยที่สุด
3.3 ทำเครื่องหมายแสดงเลขกำกับการเคลื่อนที่บนตำแหน่ง P
4. คืนค่าตารางหมากรุกที่ได้รับการทำเครื่องหมายแล้ว โดยแต่ละช่องจะถูกทำเครื่องหมายด้วยเลขกำกับการเคลื่อนที่ที่มันถูกเยี่ยม

ตัวอย่างโปรแกรมในภาษาซี

อ้างอิง

  1. Wegener, I. (January 1, 1987). Branching Programs and Binary Decision Diagrams. Society for Industrial & Applied Mathematics. ISBN 0-89871-458-3
  2. http://books.google.com/books?id=-DZjVz9E4f8C&pg=PA369&dq=532&hl=en#v=onepage&q=532&f=false

ดูเพิ่ม

ญหาทางเด, นม, าหมากร, งกฤษ, knight, tour, เป, นป, ญหาทางคณ, ตศาสตร, เก, ยวก, บการเด, นม, าในกระดานหมากร, โดยม, าจะต, องเด, นผ, านช, องท, กช, องบนกระดานหมากร, กเพ, ยงช, องละหน, งคร, งเท, าน, นและเป, นไปตามกฎกต, กาของเกมหมากร, าการเด, นม, าม, ดเร, มต, นเป, นช, อ. pyhathangedinmahmakruk xngkvs Knight s tour epnpyhathangkhnitsastrekiywkbkaredinmainkradanhmakruk odymacatxngedinphanchxngthukchxngbnkradanhmakrukephiyngchxnglahnungkhrngethannaelaepniptamkdktikakhxngekmhmakruk thakaredinmamicuderimtnepnchxngediywkbcudsinsudcaeriykkaredinmannwa karedinmaaebbpid aetthahakepnkhnlachxngkncaeriykkaredinmannwa karedinmaaebbepid sunginpccubnyngimthrabcanwnwithiinkaredinmaaebbepidthiaenchd khnadkhxngtaranghmakrukthiichinpyhanimihlaykhnad odykhnadthiichodythwipcaepnkhnad 8 x 8 chxngthangedinmahmakrukpid thangedinmahmakrukepid enuxha 1 thvsdibth 2 prawti 3 thangedinmahmakrukpid 3 1 thvsdibthkhxngchewngkh 4 khntxnwithithangkhxmphiwetxr 4 1 withikaraekpyhaodykaraebngaeykaelaexachna 4 2 kdkhxngwandxlf 4 2 1 withidaeninkarephuxprayuktkbkddngklaw 5 twxyangopraekrminphasasi 6 xangxing 7 duephimthvsdibth aekikhpyhathangedinhmakrukepntwxyanghnungkhxng pyhathangedinaebbaehmiltnineruxngthvsdikraf aelapyhainkarhakaredinmahmakrukaebbpidnbepntwxyangthikhlaykhlungkbpyhawtckraebbaehmiltn odycamikhwamaetktangcakpyhathangedinaebbaehmiltn khux pyhakaredinmahmakrukaebbpidnnmifngkchnkhxngewlakarthanganepnechingesn hrux samarthbrryaykhwamsmphnthkhxngfngkchninaengkhxngxtrakaretibotiddwysykrnechingesnkakb O n prawti aekikhpyhathangedinmahmakrukidthukkhnphbinstwrrsthi 9 odykwichawxinediychuxwa ruththa ekhaidekhiynbthkwiekiywkbsilpa aebbaephninkarelnmahmakrukaebbkhrungkradaninphasasnskvt sungaetktangcakkwixunthiekhiyniw lixxnhard xxyelxr epnhnunginnkkhnitsastrklumaerkthisamarthcbethkhnikhpyhathangedinmahmakrukid sungklawidwaepnethkhnikhaerkthismburnaebb ethkhnikhniidthukekhiynepnkdkhxngwandrxfaelaidrbkarephyaephrkhrngaerkinpi kh s 1823 instwrrsthi 20 klumkhxngnkekhiyn namwa xuliop idichkdniinhlayrupaebb hnunginbthkhwamthimichuxesiyngkhuxkaredinmahmakrukbnkhnadtarang 10x10 chxng sungxyuinhnngsuxrangwlonewlcxecis ephrk aelainekmkaraekhngkhnhmakruk rahwang wiswnthan exnan kb wislin othephlxf inpi kh s 2010 sunginekmni wiswnthan exnan idthakaredinmahmakrukthng 2 tw 13 khrngtidtxkn sungphubrryaykhidwa wiswnthan exnan nnphyayamcaphisucnhruxkhnhaethkhnikhkaredinmahmakrukthangedinmahmakrukpid aekikhintaranghmakrukkhnad 8 8 chxng micanwnwithikaredinmahmakrukaebbpid rabuthisthang aennxn canwn 26 534 728 821 064 withi 1 aelamicanwnwithikaredinmahmakrukaebbpid imrabuthisthang canwn 13 267 364 410 532 withi 2 sungmicanwnepnkhrunghnungkhxngaebbrabuthisthang aelaintaranghmakrukkhnad 6x6 mi withikaredinmahmakrukaebbpidsungimrabuthisthangcanwn 9 862 withi karedinmahmakruaebbpidmikrnithielkthisudkhux krni 1 1 epnthvsdibthaethrkkhxngthvsdini thvsdibthkhxngchewngkh aekikh sahrbthuktaranghmakrukkhnad m n odythi m nxykwa n aelweracasamarthhawithikaredinmahmakrukaebbpidid ykewntaranghmakrukdngklawcasxdkhlxngkbenguxnikhtxipnixyangnxy 1 enguxnikh m aela n epncanwnkhithngkhu odythi m 1 aela n 1 m 1 2 hrux 4 odythi m 1 aela n 1 m 3 aela n 4 6 hrux 8enguxnikhthi1 saehtuthienguxnikhniimsamarththakaredinaebbpidid enuxngcakcanwnchxngkhxngsibntarangthiimethakn klawkhux taranghmakrupaebbmatrthancamisi 2 si idaeksidaaelasikhaw sungmahmakruksamarthedinidthng 2 si khux cakchxngsidaipchxngsikhawaelacakchxngsikhawipchxngsida aetinkaredinaebbpid macatxngedinbnchxngkhawaelachxngdaepncanwnethakn aelathacanwn m aela n epncanankhithngkhu canwnchxngthnghmdbntaranghmakrukcaepnelkhkhi sungcamichxngkhawaelachxngdaimethakn twxyangechn intaranghmakrukkhnad 5x5 camisihnung 13chxng aelaxiksihnung 12chxng sithitangknmicanwnchxngimethakn dngnnimmiwithithicaedinmahmakrukaebbpid krninicamiephiyngkaredinmaaebbepididethannenguxnikhthi 2 emuxkradankhangthisnkwamikhwamkwangepn 1 2 hrux 4 caimsamarthkaredinaebbpidid aelaemux m 1 hrux 2 caimsamarthedinaebbpidid enuxngcakmacaimsamarthedinipinthukchxngid ykewntaranghmakrukkhnad 1x1 aelaemux m 4 kimsamarthekidkaredinaebbpididechnkn odykarphisucncaksiintaranghmakruk erimphisucnodykarsmmutiihtarang 4xn samarthedinmaaebbpidid aelaih A1 epnechtkhxngchxngsidaaela A2 epnechtkhxngchxngsikhaw aelwthamichxngsikhawaelachxngsida slbknbnkradanhmakruk phicarnacakrupthangdankhwa kahndih B1 epnechtkhxngchxngsiekhiywaela B2 epnechtkhxngchxngsiaedng cakrupthangdankhwacasngektidwacanwnkhxngchxngsiekhiywaelasiaedngmicanwnethakn aelasmmutiihmaedincakchxngin B1 macatxngedinipchxngin B2 aelamacatxngedinbnthukchxng odycaedinimsachxngkn aelaemuxmaxyubnchxng B2 macatxngedinipinchxngkhxng B1 txip inthangklbkn matxngedinipbnchxng B1 sxngkhrnginphayhlng thaeraptibtitamkarsmmutikhangtneracaphbkhxkhdaeyngdngni karedinkhrngaerk macaedinipinchxngkhxng A1 aela B1 thaimidedinaebbni erasamarthepliynepn B1 aela B2 kcathukechnediywkn karedinkhrngthi 2 caepnsmachikinechtkhxng A2 aela B2 karedinkhrngthi 3 caepnsmachikinechtkhxng A1 aela B1 karedinkhrngthi 4 caepnsmachikinechtkhxng A2 aela B2 aelaxikmakmay dngnnecht A1 cami smachikehmuxnecht B1 aelaecht A2 mismachikehmuxnecht B2 aetwa karsrupkhangtnnnimthuktxngesmxip thasiaedngaelasiekhiywcakrupdanbn imehmuxnkradanhmakruk echtkhxngsiaedngcaimehmuxnechtkhxngsidadngnnerasamarthsrupidwaimsamarthedinmaaebbpidintarang 4xn id sahrb thukkhakhxng nenguxnikhthi 3 enguxnikhnisamarthphisucnidcakkaraetkepnhlaywithi aelakarsrangkaredinaebbaebbpid odyichtarangaebb 3xn n 4 6 8 caimsamarththaid taranghmakrukaebb 3xn ody n epncanwnkhuaelamikhamakkwa 8 casamarthekidkaredinaebbpididodyxupnyenguxnikhxun karphisucnxyangngaycakenguxnikh 3 thngkhxthiklawkhangtn imsamarthphisucnthvsdithnghmdid karphisucnthvsdiniyngkhng txngkarkradanaebbsiehliymphunpha thiimidsainenguxnikh 3 khxdanbn cungcathaihekidkaredinaebbpididkhntxnwithithangkhxmphiwetxr aekikhinkarhawithikaredinmahmakruknnnxkcakkhntxnwithiaebbluythukrupaebb sungcaichewlainkarthangannanmak imehmaasmxyangyinghakcanamaichkbtarangkhnadihy yngmikhntxnwithixunxik dngni withikaraekpyhaodykaraebngaeykaelaexachna aekikh erimcakkaraebngswnkhxngtaranghmakrukepnswnyxy phicarnahawithiinaetlaswnyxy aelwcungnaaetlaswnyxymaprakxbkn sungwithikarnisamarthbrryaykhwamsmphnthkhxngfngkchninaengkhxngxtrakaretibotiddwysykrnechingesnkakb O n2 kdkhxngwandxlf aekikh rupphaphtarang aesdngwithikaredinmahmakruktamkdkhxngwansdxlf kdkhxngwandxlfepnwithikaraebbhiwristiksahrbkarhawithikaredinmahmakruk klawodysrupkhuxinkaredinmaaetlakhrngnncatxngepniptamkd klawkhux kahndih inthukchxngthisamarthedinipcakchxngpccubn sungimnbrwmthungchxngthiekhyedinphanipaelw camikhaethakbcanwnchxngthichxngdngklawsamarthedintxipidtamkdkhxngkaredinmahmakruk sungimnbrwmthungchxngthiekhyedinphanipaelw kareluxkchxngtxipsahrbkaredinmacaphicarnaeluxkchxngthimikhanxythisud sunghakmihlaychxngthimikhanxythisudethaknkxacmithangeluxkidhlaythang nxkcakklwithidngklawinkaraekpyhaniyngmiklwithixunxikhlayhlaywithi echn klwithikhxngoph aelaklwithikhxngsikhwexxraelakhul odythwipkdkhxngwansdxlf canaipprayuktichkberuxngkrafid ineruxngkhxngthvsdikraf karedinmahmakrukaetlakhrng caedinipyngpmthixyutidkndwydikrithinxythisud thungaemwapyhathangedinkhxngaehmiltncacdxyuineruxngkhxngklumpyhaexnphiaebbyak odypktiaelwinkarichwithikaraebbhiwristikinhlaykrafsamarthaekpyhaiddwyxtrakaretibotaebbechingesn aetsahrbpyhathangedinmahmakruknicdepnkrniphiess withidaeninkarephuxprayuktkbkddngklaw aekikh kdkhxngwandxlfsamarthichidkbcuderimtnthichxngidkidkhxngtaranghmakruk canwnkhrngthiedinidkkhuxcanwntwelkhthibrrcuinaetlachxng sungtamkdaelw catxngedinipyngchxngthimitwelkhnxythisudnnexng caknnkeluxkedintamkdtxipcnkwacaedinidkhrbthukchxngkhxtklng taaehnng Q caekhathungcaktwaehnng P id thahakwa P samarthekhluxnthiipyng Q iddwykarekhluxnthiephiyngkhrngediyw aela Q yngepntaaehnngthiyngimideyiym khwamsamarthinkarekhathungtaaehnng P ethakb canwnkhxngtaaehnngthisamarthekhathungidcaktaaehnng Pkhntxnwithi 1 kahndih P epncaaehnngerimtnkhxngkaredinmahmakruk odyeluxkcuderimtnniaebbsum 2 kahndihcuderimtnmielkhkakbkarekhluxnthiepn 1 3 sahrbthukkarekhluxnthithimielkhkakbkarekhluxnthiepn 2 khunip 3 1 kahndih S epntaaehnngthiekhathungidcaktaaehnngthisngekhaip 3 2 kahndtaaehnng P ihepntaaehnng thitaaehnng S mikhwamsamarththicakarekhathungidnxythisud 3 3 thaekhruxnghmayaesdngelkhkakbkarekhluxnthibntaaehnng P 4 khunkhataranghmakrukthiidrbkarthaekhruxnghmayaelw odyaetlachxngcathukthaekhruxnghmaydwyelkhkakbkarekhluxnthithimnthukeyiymtwxyangopraekrminphasasi aekikhhttp web archive org 20110912213543 chinmaylokesh wordpress com 2011 06 20 knights tour using warnsdorffs algorithm a heuristic approach xangxing aekikh Wegener I January 1 1987 Branching Programs and Binary Decision Diagrams Society for Industrial amp Applied Mathematics ISBN 0 89871 458 3 http books google com books id DZjVz9E4f8C amp pg PA369 amp dq 532 amp hl en v onepage amp q 532 amp f falseduephim aekikhhttp www wou edu broegb Cs345 KnightTour pdfekhathungcak https th wikipedia org w index php title pyhathangedinmahmakruk amp oldid 7338871, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม