fbpx
วิกิพีเดีย

ปัญหาวันเกิด

ปัญหาวันเกิด หรือ ปฏิทรรศน์วันเกิด ในเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เกี่ยวข้องกับความน่าจะเป็นที่กลุ่มคนซึ่งถูกเลือกโดยการสุ่ม n คน จะมีบางคู่ในกลุ่มที่มีวันเกิดตรงกัน หากพิจารณาตามหลักรังนกพิราบ ความน่าจะเป็นดังกล่าวจะเป็น 100% ถ้าจำนวนคนในกลุ่มมี 367 คน (เนื่องจากวันที่เป็นไปได้ทั้งหมดมี 366 วัน รวม 29 กุมภาพันธ์ด้วย) อย่างไรก็ตาม ความน่าจะเป็น 99% จะเกิดกับกลุ่มคนเพียง 57 คน และความน่าจะเป็น 50% จะเกิดกับกลุ่มคนเพียง 23 คน การสรุปเหล่านี้ใช้พื้นฐานบนสมมติฐานว่า แต่ละวันของปีมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นวันเกิดอย่างเท่าเทียมกัน (ยกเว้น 29 กุมภาพันธ์)

คณิตศาสตร์ที่อยู่เบื้องหลังปัญหานี้นำไปสู่ปัญหาการโจมตีทางวิทยาการเข้ารหัสลับอันเป็นที่รู้จักเรียกว่า การโจมตีวันเกิด ซึ่งใช้ตัวแบบความน่าจะเป็นนี้ลดความซับซ้อนในการเจาะฟังก์ชันแฮช

กราฟแสดงความน่าจะเป็นโดยการคำนวณ ที่คนอย่างน้อยสองคนจะมีวันเกิดตรงกัน ในระหว่างกลุ่มคนตามจำนวนที่แน่นอน

ความเข้าใจในตัวปัญหา

ปัญหาวันเกิดถามว่า คนหนึ่งคนใดในกลุ่มที่กำหนด มีวันเกิดตรงกับคนอื่นคนใดหรือไม่ มิได้ถามเฉพาะเจาะจงว่าตรงกับคนหนึ่งเพียงคนเดียวหรือไม่

ตัวอย่างที่ให้มาก่อนหน้านี้คือกลุ่มคน 23 คน การเปรียบเทียบวันเกิดของคนแรกกับวันเกิดของคนอื่นจะมีโอกาส 22 ครั้งเพื่อหาว่าวันเกิดตรงกันหรือไม่ วันเกิดของคนที่สองกับวันเกิดของคนอื่นก็จะมีโอกาส 21 ครั้ง วันเกิดของคนที่สามก็จะมีโอกาส 20 ครั้ง เป็นเช่นนี้ต่อไปเรื่อย ๆ เพราะฉะนั้นโอกาสรวมทั้งหมดที่จะเปรียบเทียบคือ 22 + 21 + 20 + ... + 1 = 253 ครั้ง ดังนั้นการเปรียบเทียบทุก ๆ คนกับคนอื่นทั้งหมดจะทำได้ 253 วิธีที่แตกต่างกัน (การจัดหมู่) หรือกล่าวได้ว่า กลุ่มคน 23 คนสามารถจับคู่ได้ทั้งหมด   คู่

สมมติว่าวันเกิดทั้งหมดสามารถเป็นไปได้อย่างเท่าเทียมกัน ความน่าจะเป็นที่วันที่ตั้งขึ้นมาจะเป็นวันเกิดของใครสักคน ซึ่งเลือกมาโดยการสุ่มจากประชากรทั้งหมดอยู่ที่ 1/365 (ไม่พิจารณาอธิกวารคือ 29 กุมภาพันธ์) ถึงแม้การจับคู่ภายในกลุ่มคน 23 คน ไม่เทียบเท่าเชิงสถิติศาสตร์กับการเลือกคู่โดยอิสระ 253 คู่ ปฏิทรรศน์วันเกิดจะแปลกประหลาดน้อยลง ถ้ากลุ่มคนถูกพิจารณาว่าเป็นจำนวนคู่ที่เป็นไปได้ทั้งหมด มากกว่าที่จะเป็นจำนวนรายคน

การคำนวณความน่าจะเป็น

ปัญหาคือการคำนวณความน่าจะเป็นโดยประมาณว่า ในกลุ่มคน n คน จะมีอย่างน้อยสองคนที่มีวันเกิดตรงกัน สำหรับกรณีง่ายสุดคือไม่สนใจความแปรปรวนในการแจกแจง เช่นปีอธิกสุรทิน ฝาแฝด ความแปรปรวนเชิงฤดูกาลหรือวันในสัปดาห์ และสมมติว่าวันเกิดที่เป็นไปได้ 365 วันอย่างเท่าเทียมกัน การแจกแจงวันเกิดในชีวิตจริงไม่เป็นเอกรูปเพราะทุกวันมิได้มีโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน

ถ้าให้ P(A) คือความน่าจะเป็นที่อย่างน้อยสองคนในกลุ่มมีวันเกิดตรงกัน เราอาจคำนวณง่ายขึ้นจาก P(A′) คือความน่าจะเป็นที่ไม่มีสองคนใดเลยที่มีวันเกิดตรงกัน เนื่องจาก A และ A′ เป็นความน่าจะเป็นเพียงสองประการที่จะเกิดขึ้นได้และเป็นเหตุการณ์ไม่เกิดร่วม ดังนั้นเราจะได้ P(A) = 1 − P(A′)

คำตอบของปัญหาที่เผยแพร่อย่างกว้างขวางสรุปว่า กลุ่มคน 23 คนก็เพียงพอที่จะทำให้ P(A) มีค่ามากกว่า 50% การคำนวณ P(A) ต่อไปนี้จะใช้กลุ่มคน 23 คนมาเป็นตัวอย่าง

เมื่อเหตุการณ์เป็นอิสระซึ่งกันและกัน ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้น จะเท่ากับผลคูณของความน่าจะเป็นของแต่ละเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น P(A′) จึงสามารถแยกได้เป็นเหตุการณ์อิสระ 23 เหตุการณ์ และคำนวณได้จาก P(1) × P(2) × P(3) × ... P(23)

เหตุการณ์อิสระ 23 เหตุการณ์นี้สอดคล้องกับจำนวนคน 23 คนและสามารถนิยามไปตามลำดับ แต่ละเหตุการณ์สามารถนิยามว่าคนนั้นจะไม่มีวันเกิดตรงกับคนอื่นคนใดที่ได้วิเคราะห์ไปแล้วก่อนหน้า สำหรับเหตุการณ์ที่ 1 คือไม่มีคนอื่นคนใดก่อนหน้านี้ให้วิเคราะห์เลย เพราะฉะนั้นความน่าจะเป็น P(1) ซึ่งคนแรกไม่มีวันเกิดตรงกับคนอื่นคนใดที่ได้วิเคราะห์ไปแล้วก่อนหน้าเท่ากับ 1 หรือ 100% หรือเขียนในรูปแบบ 365/365 โดยไม่พิจารณาอธิกวารสำหรับการวิเคราะห์นี้ ส่วนเหตุผลจะได้ปรากฏชัดเจนต่อไป

สำหรับเหตุการณ์ที่ 2 คือมีเพียงคนที่หนึ่งที่ได้วิเคราะห์แล้วก่อนหน้านี้ สมมติว่าวันเกิดเป็นไปได้อย่างเท่าเทียมกัน 365 วันเช่นเดิม ความน่าจะเป็น P(2) ซึ่งคนที่สองมีวันเกิดต่างกับคนที่หนึ่งเท่ากับ 364/365 นั่นเป็นเพราะถ้าคนที่สองเกิดในวันใดก็ได้ในจำนวน 364 วันที่เหลือ ทำให้คนที่หนึ่งกับคนที่สองมีวันเกิดไม่ตรงกัน

ในทางเดียวกัน ถ้าคนที่สามเกิดในวันใดก็ได้ในจำนวน 363 วันที่เหลือ ทำให้ทั้งคนที่หนึ่ง ที่สอง ที่สาม มีวันเกิดไม่ตรงกันเลย จะได้ความน่าจะเป็น P(3) เท่ากับ 363/365

การวิเคราะห์เช่นนี้ดำเนินต่อไปจนกระทั่งถึงคนที่ยี่สิบสาม ซึ่งความน่าจะเป็นที่วันเกิดจะไม่ตรงกับคนที่ได้วิเคราะห์ไปแล้วก่อนหน้านี้เลย P(23) เท่ากับ 343/365

P(A′) เท่ากับผลคูณของความน่าจะเป็นรายเหตุการณ์เหล่านี้ นั่นคือ

P(A′) = 365/365 × 364/365 × 363/365 × 362/365 × ... × 343/365

สมการดังกล่าวสามารถดึงตัวประกอบร่วมได้เป็น

P(A′) = (1/365)23 × (365 × 364 × 363 × 362 × ... × 343)

ประเมินค่าออกมาจะได้ P(A′) ≈ 0.492703

ดังนั้น P(A) ≈ 1 − 0.492703 = 0.507297 หรือ 50.7297%

กระบวนการนี้สามารถทำให้เป็นกรณีทั่วไปสำหรับกลุ่มคน n คน เมื่อ p(n) คือความน่าจะเป็นที่อย่างน้อยสองคนในกลุ่ม n คนมีวันเกิดตรงกัน เราคำนวณง่ายขึ้นด้วย (n) คือความน่าจะเป็นที่วันเกิดของ n คนแตกต่างกันทั้งหมด ตามหลักรังนกพิราบ (n) จะเป็นศูนย์เมื่อ n > 365 และเมื่อ n ≤ 365 จะได้ว่า

 

โดยสัญลักษณ์ ! คือตัวดำเนินการแฟกทอเรียล   คือสัมประสิทธิ์ทวินาม และ   หมายถึงการเรียงสับเปลี่ยน

สมการดังกล่าวแสดงข้อเท็จจริงว่า สำหรับคนที่หนึ่งไม่มีคนใดที่มีวันเกิดตรงกัน (365/365) สำหรับคนที่สองก็ไม่มีวันเกิดตรงกับคนที่หนึ่ง (364/365) สำหรับคนที่สามก็ไม่มีวันเกิดตรงกับคนที่หนึ่งและที่สอง (363/365) ฯลฯ และในกรณีทั่วไปวันเกิดของคนที่ n ก็จะไม่มีวันเกิดตรงกับ n − 1 คนที่อยู่ก่อนหน้า

เหตุการณ์ที่อย่างน้อยสองคนจากกลุ่มคน n คนมีวันเกิดตรงกัน คือเหตุการณ์เติมเต็มที่วันเกิดของ n คนแตกต่างกันทั้งหมด เพราะฉะนั้นความน่าจะเป็น p(n) จะมีค่าเท่ากับ

 

ความน่าจะเป็นนี้มีค่าเกินกว่า 1/2 เมื่อ n = 23 (ค่าจริงประมาณ 50.7%) ตารางต่อไปนี้แสดงความน่าจะเป็นสำหรับ n อื่น ๆ บางค่า (โดยไม่พิจารณาปีอธิกสุรทินตามที่ได้อธิบายแล้วด้านบน)

 
กราฟแสดงความน่าจะเป็นโดยประมาณ ที่ไม่มีใครเลยในกลุ่มคน n คนมีวันเกิดตรงกัน สังเกตว่ามาตราส่วนตามแนวตั้งเป็นลอการิทึม (แต่ละขีดจากบนลงล่างลดลงทีละ 1020 เท่า)
n p(n)
10 11.7%
20 41.1%
23 50.7%
30 70.6%
50 97.0%
57 99.0%
100 99.99997%
200 99.9999999999999999999999999998%
300 (100 − (6×10−80))%
350 (100 − (3×10−129))%
365 (100 − (1.45×10−155))%
366 100%

การประมาณค่า

 
กราฟแสดงความน่าจะเป็นโดยประมาณ ที่คนอย่างน้อยสองคนจะมีวันเกิดตรงกัน (แดง) และเหตุการณ์เติมเต็มของมัน (น้ำเงิน)
 
กราฟแสดงความแม่นยำของการประมาณค่าด้วย   (ขาว)

การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันเลขชี้กำลัง (ค่าคงตัว e ≈ 2.718281828)

 

สามารถประมาณค่า ex อันดับที่หนึ่งเมื่อ x ≪ 1 ดังนี้

 

เพื่อใช้การประมาณนี้แก่นิพจน์แรกที่มาจาก (n) กำหนดให้ x = i/365 ดังนั้นเราจะได้

 

จากนั้นแทนที่ i ด้วยจำนวนเต็มไม่เป็นลบสำหรับแต่ละพจน์ในสูตรของ (n) จนกระทั่ง i = n − 1 ตัวอย่างเช่นเมื่อ i = 1 จะได้

 

นิพจน์แรกที่มาจาก (n) จึงสามารถประมาณค่าได้ดังนี้

 

เพราะฉะนั้น

 

การประมาณที่หยาบกว่าของสูตรดังกล่าวคือ

 

ซึ่งยังคงแม่นยำพอใช้ได้ ดังที่เห็นจากกราฟในภาพประกอบ

จากการประมาณค่าดังกล่าว แนวทางที่เหมือนกันสามารถใช้ได้กับ "คน" และ "วัน" จำนวนเท่าใดก็ได้ ถ้าให้จำนวนวันเป็น n วันแทนที่จะเป็น 365 วัน ให้จำนวนคน m คน และ mn จากแนวทางข้างต้นเราจะได้ผลสำเร็จเป็น Pr[(m, n)] คือความน่าจะเป็นที่อย่างน้อยสองคนในกลุ่ม m คน มีวันเกิดตรงกันภายใน n วันที่กำหนด ดังนี้

 

การยกกำลังอย่างง่าย

ความน่าจะเป็นที่คนสองคนไม่มีวันเกิดตรงกันเท่ากับ 364/365 หากกลุ่มคนมีจำนวน n คน จะสามารถจับคู่ได้ C(n, 2) = n(n − 1)/2 คู่ หรือเรียกได้ว่ามี C(n, 2) เหตุการณ์ ความน่าจะเป็นที่คนสองคนไม่มีวันเกิดตรงกันในกลุ่มคนดังกล่าว สามารถประมาณได้จากเหตุการณ์เหล่านี้ซึ่งสมมติว่าเป็นอิสระต่อกัน โดยคูณความน่าจะเป็นของพวกมันเข้าด้วยกัน กล่าวอย่างสั้นคือ 364/365 สามารถคูณกับตัวเองเป็นจำนวน C(n, 2) ตัว จะได้

 

เนื่องจากสิ่งนี้คือความน่าจะเป็นที่ไม่มีใครมีวันเกิดตรงกัน ดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะมีใครบางคนมีวันเกิดตรงกันก็คือ

 

การประมาณปัวซง

ใช้การประมาณปัวซงสำหรับทวินามกับกลุ่มคน 23 คน

 
 

ผลลัพธ์มีค่ามากกว่า 50% เช่นเดียวกับที่ได้อธิบายไว้ก่อนหน้านี้

การประมาณจำนวนคน

การประมาณจำนวนคนเท่าที่จำเป็นที่จะทำให้เกิดโอกาส 50% เป็นอย่างน้อยที่จะมีวันเกิดตรงกัน โดยแฟรงก์ เอช. แมทิส สามารถหาได้จากสูตรดังนี้

 

นี่เป็นผลลัพธ์ของการประมาณที่ดี ซึ่งเหตุการณ์ 1 ใน k ของความน่าจะเป็นจะมีโอกาสเกิดขึ้น 50% เป็นอย่างน้อย ถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดซ้ำ k ln 2 ครั้ง

ตารางความน่าจะเป็น

ดูบทความหลักที่: การโจมตีวันเกิด
ความยาว
สายอักขระ
ฐานสิบหก
#บิต ขนาดของ
ปริภูมิแฮช
(2#บิต)
จำนวนสมาชิกของแฮชที่ทำให้ {ความน่าจะเป็นที่แฮชชนกันอย่างน้อยหนึ่งครั้ง = p}
p = 10−18 p = 10−15 p = 10−12 p = 10−9 p = 10−6 p = 0.1% p = 1% p = 25% p = 50% p = 75%
8 32 4.3×109 2 2 2 2.9 93 2.9×103 9.3×103 5.0×104 7.7×104 1.1×105
16 64 1.8×1019 6.1 1.9×102 6.1×103 1.9×105 6.1×106 1.9×108 6.1×108 3.3×109 5.1×109 7.2×109
32 128 3.4×1038 2.6×1010 8.2×1011 2.6×1013 8.2×1014 2.6×1016 8.3×1017 2.6×1018 1.4×1019 2.2×1019 3.1×1019
64 256 1.2×1077 4.8×1029 1.5×1031 4.8×1032 1.5×1034 4.8×1035 1.5×1037 4.8×1037 2.6×1038 4.0×1038 5.7×1038
(96) (384) (3.9×10115) 8.9×1048 2.8×1050 8.9×1051 2.8×1053 8.9×1054 2.8×1056 8.9×1056 4.8×1057 7.4×1057 1.0×1058
128 512 1.3×10154 1.6×1068 5.2×1069 1.6×1071 5.2×1072 1.6×1074 5.2×1075 1.6×1076 8.8×1076 1.4×1077 1.9×1077

ช่องสีขาวในตารางนี้แสดงจำนวนสมาชิกของแฮชที่จำเป็น ที่ทำให้ความน่าจะเป็นที่แฮชชนกันตามกำหนด (ตามหลัก) โดยกำหนดปริภูมิแฮชในหน่วยบิตขนาดต่าง ๆ (ตามแถว) อุปมากับปัญหาวันเกิดได้ว่า "ขนาดของปริภูมิแฮช" คล้ายกับ "จำนวนวันที่ใช้ได้", "ความน่าจะเป็นที่แฮชชนกัน" คล้ายกับ "ความน่าจะเป็นที่คนมีวันเกิดตรงกัน", และ "จำนวนสมาชิกของแฮชที่จำเป็น" ก็คล้ายกับ "จำนวนคนที่จำเป็นในกลุ่ม" แน่นอนว่าใครก็ตามสามารถใช้แผนผังนี้เพื่อกำหนดขนาดของแฮชน้อยสุดที่จำเป็น (โดยกำหนดขอบเขตบนของแฮชและความน่าจะเป็นของความผิดพลาด) หรือความน่าจะเป็นที่แฮชชนกันได้ (เพื่อหาจำนวนแฮชตายตัวและความน่าจะเป็นของความผิดพลาด)

ยกตัวอย่างเพื่อการเปรียบเทียบ ความน่าจะเป็น 10−18 ถึง 10−15 คืออัตราความผิดพลาดบิตที่แก้ไขไม่ได้ของฮาร์ดดิสก์ทั่วไป ฟังก์ชันแฮช 128 บิตอย่างเช่น เอ็มดี5 จึงควรดำรงอยู่ในช่วงนั้นจนกว่าจะแฮชเอกสารไปแล้วประมาณ 8.2 แสนล้านเอกสารในทางทฤษฎี ถึงแม้ว่าผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ของมันจะมีได้มากยิ่งกว่านั้น

ขอบเขตบน

การอ้างเหตุผลด้านล่างดัดแปลงจากการอ้างเหตุผลของพอล ฮาลโมส

ความน่าจะเป็นที่ไม่มีวันเกิดของคนใดตรงกัน ดังที่ได้อธิบายไว้ด้านบนคือ

 

จากย่อหน้าก่อน ๆ นั้น สิ่งที่สนใจคือค่าของ n น้อยสุดที่ทำให้ p(n) > 1/2 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ค่าของ n น้อยสุดที่ทำให้ (n) < 1/2

ใช้อสมการ 1 − x < ex จากนิพจน์ด้านบนซึ่งเราได้แทนค่า 1 − k/365 ด้วย ek/365 จะได้ว่า

 

เพราะฉะนั้น นิพจน์ดังกล่าวมิได้เป็นเพียงแค่การประมาณค่า แต่ยังเป็นขอบเขตบนของ (n) ด้วย

อสมการนี้

 

แสดงนัยถึง (n) < 1/2 แก้อสมการเพื่อหาค่า n จะได้

 

730 ln 2 มีค่าประมาณ 505.997 ซึ่งน้อยกว่า 506 เล็กน้อย ค่าของ n2n ขึ้นมาถึง 506 เมื่อ n = 23 ดังนั้น 23 คนก็เพียงพอที่จะเป็นคำตอบ

อย่างไรก็ดี การแก้สมการ n2n = 2 · 365 ln 2 เพื่อหาค่า n ก็จะเป็นสูตรประมาณของแฟรงก์ เอช. แมทิส ดังที่ได้แสดงไว้แล้ว

การได้มานี้แสดงเพียงว่า 23 คนเป็นจำนวนคนที่ มากสุด ที่จำเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าวันเกิดจะตรงกันด้วยโอกาสครึ่งต่อครึ่ง กล่าวคือมันเปิดโอกาสความเป็นไปได้ว่าหาก n เท่ากับ 22 คนหรือน้อยกว่าก็อาจได้ผลเช่นกัน

อ้างอิงและเชิงอรรถ

  1. คำว่า "ปฏิทรรศน์" นี้มิได้หมายถึงความรู้สึกที่นำไปสู่ความขัดแย้งทางตรรกศาสตร์ แต่ถูกหยิบยกขึ้นเนื่องจากความจริงทางคณิตศาสตร์ขัดแย้งกับการหยั่งรู้ด้วยตนเอง กล่าวคือคนส่วนใหญ่มักประมาณว่าโอกาสที่คนสองคนจะมีวันเกิดตรงกันต้องน้อยกว่า 50% อย่างมาก สำหรับกลุ่มคน 23 คน
  2. ในความเป็นจริง วันเกิดไม่แจกแจงตลอดทั้งปีอย่างเท่าเทียมกัน การเกิดต่อวันในบางฤดูกาลมีมากกว่าฤดูกาลอื่น แต่เพื่อจุดมุ่งหมายของปัญหานี้ การแจกแจงจะถูกทำให้เป็นเอกรูป (รูปแบบเดียว)
  3. Murphy, Ron. "An Analysis of the Distribution of Birthdays in a Calendar Year". สืบค้นเมื่อ 2011-12-27.
  4. Mathers, C D (1983). "Seasonal Distribution of Births in Australia". International Journal of Epidemiology. 12 (3): 326–331. doi:10.1093/ije/12.3.326. สืบค้นเมื่อ 2011-12-27. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  5. Mathis, Frank H. (1991). "A Generalized Birthday Problem". SIAM Review. Society for Industrial and Applied Mathematics. 33 (2): 265–270. doi:10.1137/1033051. ISSN 0036-1445. JSTOR 2031144. OCLC 37699182. Unknown parameter |month= ignored (help)
  6. Jim Gray, Catharine van Ingen. Empirical Measurements of Disk Failure Rates and Error Rates
  7. ฮาลโมสได้วิจารณ์รูปแบบของปฏิทรรศน์วันเกิดที่มักจะถูกนำเสนอ ด้วยการคำนวณเชิงตัวเลขในอัตชีวประวัติของเขา เขาเชื่อว่ามันควรใช้เป็นตัวอย่างของมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ที่นามธรรมมากขึ้น เขาเขียนว่า

    "การให้เหตุผลมีพื้นฐานอยู่บนเครื่องมือสำคัญที่ว่าผู้ศึกษาคณิตศาสตร์ทุกคนควรพร้อมที่จะเข้าถึง ปัญหาวันเกิดเคยเป็นการสาธิตที่ยอดเยี่ยมของความได้เปรียบแห่งความคิดอันบริสุทธิ์เหนือการจัดดำเนินการเชิงกล อสมการสามารถได้มาในนาทีสองนาที ในขณะที่การคูณจะใช้เวลายิ่งกว่านั้นมาก และทำให้เกิดความผิดพลาดมากขึ้นไปอีก ไม่ว่าเครื่องมือนั้นจะเป็นดินสอหรือเครื่องคำนวณบนโต๊ะที่ล้าสมัย สิ่งที่เครื่องคิดเลขไม่ได้ให้ผลลัพธ์ออกมานั่นคือความเข้าใจ หรือคุณสมบัติทางคณิตศาสตร์ หรือพื้นฐานที่หนักแน่นสำหรับทฤษฎีวางนัยทั่วไปชั้นสูงยิ่งขึ้น"

ญหาว, นเก, หร, ปฏ, ทรรศน, นเก, ในเร, องทฤษฎ, ความน, าจะเป, เก, ยวข, องก, บความน, าจะเป, นท, กล, มคนซ, งถ, กเล, อกโดยการส, คน, จะม, บางค, ในกล, มท, นเก, ดตรงก, หากพ, จารณาตามหล, กร, งนกพ, ราบ, ความน, าจะเป, นด, งกล, าวจะเป, าจำนวนคนในกล, มม, คน, เน, องจากว, นท,. pyhawnekid hrux ptithrrsnwnekid 1 ineruxngthvsdikhwamnacaepn ekiywkhxngkbkhwamnacaepnthiklumkhnsungthukeluxkodykarsum n khn camibangkhuinklumthimiwnekidtrngkn hakphicarnatamhlkrngnkphirab khwamnacaepndngklawcaepn 100 thacanwnkhninklummi 367 khn enuxngcakwnthiepnipidthnghmdmi 366 wn rwm 29 kumphaphnthdwy xyangirktam khwamnacaepn 99 caekidkbklumkhnephiyng 57 khn aelakhwamnacaepn 50 caekidkbklumkhnephiyng 23 khn karsrupehlaniichphunthanbnsmmtithanwa aetlawnkhxngpimikhwamepnipidthicaepnwnekidxyangethaethiymkn ykewn 29 kumphaphnth khnitsastrthixyuebuxnghlngpyhaninaipsupyhakarocmtithangwithyakarekharhslbxnepnthiruckeriykwa karocmtiwnekid sungichtwaebbkhwamnacaepnnildkhwamsbsxninkarecaafngkchnaehch krafaesdngkhwamnacaepnodykarkhanwn thikhnxyangnxysxngkhncamiwnekidtrngkn inrahwangklumkhntamcanwnthiaennxn enuxha 1 khwamekhaicintwpyha 2 karkhanwnkhwamnacaepn 3 karpramankha 3 1 karykkalngxyangngay 3 2 karpramanpwsng 3 3 karpramancanwnkhn 3 4 tarangkhwamnacaepn 4 khxbekhtbn 5 xangxingaelaechingxrrthkhwamekhaicintwpyha aekikhpyhawnekidthamwa khnhnungkhnidinklumthikahnd miwnekidtrngkbkhnxunkhnidhruxim miidthamechphaaecaacngwatrngkbkhnhnungephiyngkhnediywhruximtwxyangthiihmakxnhnanikhuxklumkhn 23 khn karepriybethiybwnekidkhxngkhnaerkkbwnekidkhxngkhnxuncamioxkas 22 khrngephuxhawawnekidtrngknhruxim wnekidkhxngkhnthisxngkbwnekidkhxngkhnxunkcamioxkas 21 khrng wnekidkhxngkhnthisamkcamioxkas 20 khrng epnechnnitxiperuxy ephraachannoxkasrwmthnghmdthicaepriybethiybkhux 22 21 20 1 253 khrng dngnnkarepriybethiybthuk khnkbkhnxunthnghmdcathaid 253 withithiaetktangkn karcdhmu hruxklawidwa klumkhn 23 khnsamarthcbkhuidthnghmd 23 2 23 22 2 253 displaystyle textstyle 23 choose 2 frac 23 cdot 22 2 253 khusmmtiwawnekidthnghmdsamarthepnipidxyangethaethiymkn 2 3 4 khwamnacaepnthiwnthitngkhunmacaepnwnekidkhxngikhrskkhn sungeluxkmaodykarsumcakprachakrthnghmdxyuthi 1 365 imphicarnaxthikwarkhux 29 kumphaphnth thungaemkarcbkhuphayinklumkhn 23 khn imethiybethaechingsthitisastrkbkareluxkkhuodyxisra 253 khu ptithrrsnwnekidcaaeplkprahladnxylng thaklumkhnthukphicarnawaepncanwnkhuthiepnipidthnghmd makkwathicaepncanwnraykhnkarkhanwnkhwamnacaepn aekikhpyhakhuxkarkhanwnkhwamnacaepnodypramanwa inklumkhn n khn camixyangnxysxngkhnthimiwnekidtrngkn sahrbkrningaysudkhuximsnickhwamaeprprwninkaraeckaecng echnpixthiksurthin faaefd khwamaeprprwnechingvdukalhruxwninspdah aelasmmtiwawnekidthiepnipid 365 wnxyangethaethiymkn karaeckaecngwnekidinchiwitcringimepnexkrupephraathukwnmiidmioxkasxyangethaethiymknthaih P A khuxkhwamnacaepnthixyangnxysxngkhninklummiwnekidtrngkn eraxackhanwnngaykhuncak P A khuxkhwamnacaepnthiimmisxngkhnidelythimiwnekidtrngkn enuxngcak A aela A epnkhwamnacaepnephiyngsxngprakarthicaekidkhunidaelaepnehtukarnimekidrwm dngnneracaid P A 1 P A khatxbkhxngpyhathiephyaephrxyangkwangkhwangsrupwa klumkhn 23 khnkephiyngphxthicathaih P A mikhamakkwa 50 karkhanwn P A txipnicaichklumkhn 23 khnmaepntwxyangemuxehtukarnepnxisrasungknaelakn khwamnacaepnkhxngehtukarnthnghmdthiekidkhun caethakbphlkhunkhxngkhwamnacaepnkhxngaetlaehtukarnthiekidkhun ephraachann P A cungsamarthaeykidepnehtukarnxisra 23 ehtukarn aelakhanwnidcak P 1 P 2 P 3 P 23 ehtukarnxisra 23 ehtukarnnisxdkhlxngkbcanwnkhn 23 khnaelasamarthniyamiptamladb aetlaehtukarnsamarthniyamwakhnnncaimmiwnekidtrngkbkhnxunkhnidthiidwiekhraahipaelwkxnhna sahrbehtukarnthi 1 khuximmikhnxunkhnidkxnhnaniihwiekhraahely ephraachannkhwamnacaepn P 1 sungkhnaerkimmiwnekidtrngkbkhnxunkhnidthiidwiekhraahipaelwkxnhnaethakb 1 hrux 100 hruxekhiyninrupaebb 365 365 odyimphicarnaxthikwarsahrbkarwiekhraahni swnehtuphlcaidpraktchdecntxipsahrbehtukarnthi 2 khuxmiephiyngkhnthihnungthiidwiekhraahaelwkxnhnani smmtiwawnekidepnipidxyangethaethiymkn 365 wnechnedim khwamnacaepn P 2 sungkhnthisxngmiwnekidtangkbkhnthihnungethakb 364 365 nnepnephraathakhnthisxngekidinwnidkidincanwn 364 wnthiehlux thaihkhnthihnungkbkhnthisxngmiwnekidimtrngkninthangediywkn thakhnthisamekidinwnidkidincanwn 363 wnthiehlux thaihthngkhnthihnung thisxng thisam miwnekidimtrngknely caidkhwamnacaepn P 3 ethakb 363 365karwiekhraahechnnidaenintxipcnkrathngthungkhnthiyisibsam sungkhwamnacaepnthiwnekidcaimtrngkbkhnthiidwiekhraahipaelwkxnhnaniely P 23 ethakb 343 365P A ethakbphlkhunkhxngkhwamnacaepnrayehtukarnehlani nnkhux P A 365 365 364 365 363 365 362 365 343 365 dd smkardngklawsamarthdungtwprakxbrwmidepn P A 1 365 23 365 364 363 362 343 dd praeminkhaxxkmacaid P A 0 492703dngnn P A 1 0 492703 0 507297 hrux 50 7297 krabwnkarnisamarththaihepnkrnithwipsahrbklumkhn n khn emux p n khuxkhwamnacaepnthixyangnxysxngkhninklum n khnmiwnekidtrngkn erakhanwnngaykhundwy p n khuxkhwamnacaepnthiwnekidkhxng n khnaetktangknthnghmd tamhlkrngnkphirab p n caepnsunyemux n gt 365 aelaemux n 365 caidwa p n 1 1 1 365 1 2 365 1 n 1 365 365 364 365 n 1 365 n 365 365 n 365 n n 365 n 365 n 365 P n 365 n displaystyle begin aligned bar p n amp 1 times left 1 frac 1 365 right times left 1 frac 2 365 right times cdots times left 1 frac n 1 365 right amp 365 times 364 times cdots times 365 n 1 over 365 n amp 365 over 365 n 365 n frac n cdot 365 choose n 365 n frac 365 P n 365 n end aligned dd odysylksn khuxtwdaeninkaraefkthxeriyl 365 n displaystyle textstyle 365 choose n khuxsmprasiththithwinam aela k P r displaystyle k P r hmaythungkareriyngsbepliynsmkardngklawaesdngkhxethccringwa sahrbkhnthihnungimmikhnidthimiwnekidtrngkn 365 365 sahrbkhnthisxngkimmiwnekidtrngkbkhnthihnung 364 365 sahrbkhnthisamkimmiwnekidtrngkbkhnthihnungaelathisxng 363 365 l aelainkrnithwipwnekidkhxngkhnthi n kcaimmiwnekidtrngkb n 1 khnthixyukxnhnaehtukarnthixyangnxysxngkhncakklumkhn n khnmiwnekidtrngkn khuxehtukarnetimetmthiwnekidkhxng n khnaetktangknthnghmd ephraachannkhwamnacaepn p n camikhaethakb p n 1 p n displaystyle p n 1 bar p n dd khwamnacaepnnimikhaekinkwa 1 2 emux n 23 khacringpraman 50 7 tarangtxipniaesdngkhwamnacaepnsahrb n xun bangkha odyimphicarnapixthiksurthintamthiidxthibayaelwdanbn krafaesdngkhwamnacaepnodypraman thiimmiikhrelyinklumkhn n khnmiwnekidtrngkn sngektwamatraswntamaenwtngepnlxkarithum aetlakhidcakbnlnglangldlngthila 1020 etha n p n 10 11 7 20 41 1 23 50 7 30 70 6 50 97 0 57 99 0 100 99 99997 200 99 9999999999999999999999999998 300 100 6 10 80 350 100 3 10 129 365 100 1 45 10 155 366 100 karpramankha aekikh krafaesdngkhwamnacaepnodypraman thikhnxyangnxysxngkhncamiwnekidtrngkn aedng aelaehtukarnetimetmkhxngmn naengin krafaesdngkhwamaemnyakhxngkarpramankhadwy 1 e n 2 2 365 displaystyle 1 e n 2 2 times 365 khaw karkracayxnukrmethyelxrkhxngfngkchnelkhchikalng khakhngtw e 2 718281828 e x 1 x x 2 2 displaystyle e x 1 x frac x 2 2 cdots dd samarthpramankha ex xndbthihnungemux x 1 dngni e x 1 x displaystyle e x approx 1 x dd ephuxichkarpramanniaekniphcnaerkthimacak p n kahndih x i 365 dngnneracaid e i 365 1 i 365 displaystyle e i 365 approx 1 frac i 365 dd caknnaethnthi i dwycanwnetmimepnlbsahrbaetlaphcninsutrkhxng p n cnkrathng i n 1 twxyangechnemux i 1 caid e 1 365 1 1 365 displaystyle e 1 365 approx 1 frac 1 365 dd niphcnaerkthimacak p n cungsamarthpramankhaiddngni p n 1 e 1 365 e 2 365 e n 1 365 1 e 1 2 n 1 365 e n n 1 2 365 displaystyle begin aligned bar p n amp approx 1 times e 1 365 times e 2 365 cdots e n 1 365 amp 1 times e 1 2 cdots n 1 365 amp e n n 1 2 365 end aligned dd ephraachann p n 1 p n 1 e n n 1 2 365 displaystyle p n 1 bar p n approx 1 e n n 1 2 times 365 dd karpramanthihyabkwakhxngsutrdngklawkhux p n 1 e n 2 2 365 displaystyle p n approx 1 e n 2 2 times 365 dd sungyngkhngaemnyaphxichid dngthiehncakkrafinphaphprakxbcakkarpramankhadngklaw aenwthangthiehmuxnknsamarthichidkb khn aela wn canwnethaidkid thaihcanwnwnepn n wnaethnthicaepn 365 wn ihcanwnkhn m khn aela m n cakaenwthangkhangtneracaidphlsaercepn Pr m n khuxkhwamnacaepnthixyangnxysxngkhninklum m khn miwnekidtrngknphayin n wnthikahnd dngni P r m n 1 e m 2 2 n displaystyle Pr m n approx 1 e m 2 2n dd karykkalngxyangngay aekikh khwamnacaepnthikhnsxngkhnimmiwnekidtrngknethakb 364 365 hakklumkhnmicanwn n khn casamarthcbkhuid C n 2 n n 1 2 khu hruxeriykidwami C n 2 ehtukarn khwamnacaepnthikhnsxngkhnimmiwnekidtrngkninklumkhndngklaw samarthpramanidcakehtukarnehlanisungsmmtiwaepnxisratxkn odykhunkhwamnacaepnkhxngphwkmnekhadwykn klawxyangsnkhux 364 365 samarthkhunkbtwexngepncanwn C n 2 tw caid p n 364 365 C n 2 displaystyle bar p n approx left frac 364 365 right C n 2 dd enuxngcaksingnikhuxkhwamnacaepnthiimmiikhrmiwnekidtrngkn dngnnkhwamnacaepnthicamiikhrbangkhnmiwnekidtrngknkkhux p n 1 364 365 C n 2 displaystyle p n approx 1 left frac 364 365 right C n 2 dd karpramanpwsng aekikh ichkarpramanpwsngsahrbthwinamkbklumkhn 23 khn P o i C 23 2 365 P o i 253 365 P o i 0 6932 displaystyle mathrm Poi left frac C 23 2 365 right mathrm Poi left frac 253 365 right approx mathrm Poi 0 6932 Pr X gt 0 1 Pr X 0 1 e 0 6932 1 0 499998 0 500002 displaystyle Pr X gt 0 1 Pr X 0 approx 1 e 0 6932 approx 1 0 499998 0 500002 dd phllphthmikhamakkwa 50 echnediywkbthiidxthibayiwkxnhnani karpramancanwnkhn aekikh karpramancanwnkhnethathicaepnthicathaihekidoxkas 50 epnxyangnxythicamiwnekidtrngkn odyaefrngk exch aemthis samarthhaidcaksutrdngni n 1 2 1 4 2 365 ln 0 5 22 999943 displaystyle n approx frac 1 2 sqrt frac 1 4 2 times 365 times ln 0 5 22 999943 dd niepnphllphthkhxngkarpramanthidi sungehtukarn 1 in k khxngkhwamnacaepncamioxkasekidkhun 50 epnxyangnxy thaehtukarnnnekidsa k ln 2 khrng 5 tarangkhwamnacaepn aekikh dubthkhwamhlkthi karocmtiwnekid khwamyawsayxkkhrathansibhk bit khnadkhxngpriphumiaehch 2 bit canwnsmachikkhxngaehchthithaih khwamnacaepnthiaehchchnknxyangnxyhnungkhrng p p 10 18 p 10 15 p 10 12 p 10 9 p 10 6 p 0 1 p 1 p 25 p 50 p 75 8 32 4 3 109 2 2 2 2 9 93 2 9 103 9 3 103 5 0 104 7 7 104 1 1 10516 64 1 8 1019 6 1 1 9 102 6 1 103 1 9 105 6 1 106 1 9 108 6 1 108 3 3 109 5 1 109 7 2 10932 128 3 4 1038 2 6 1010 8 2 1011 2 6 1013 8 2 1014 2 6 1016 8 3 1017 2 6 1018 1 4 1019 2 2 1019 3 1 101964 256 1 2 1077 4 8 1029 1 5 1031 4 8 1032 1 5 1034 4 8 1035 1 5 1037 4 8 1037 2 6 1038 4 0 1038 5 7 1038 96 384 3 9 10115 8 9 1048 2 8 1050 8 9 1051 2 8 1053 8 9 1054 2 8 1056 8 9 1056 4 8 1057 7 4 1057 1 0 1058128 512 1 3 10154 1 6 1068 5 2 1069 1 6 1071 5 2 1072 1 6 1074 5 2 1075 1 6 1076 8 8 1076 1 4 1077 1 9 1077chxngsikhawintarangniaesdngcanwnsmachikkhxngaehchthicaepn thithaihkhwamnacaepnthiaehchchnkntamkahnd tamhlk odykahndpriphumiaehchinhnwybitkhnadtang tamaethw xupmakbpyhawnekididwa khnadkhxngpriphumiaehch khlaykb canwnwnthiichid khwamnacaepnthiaehchchnkn khlaykb khwamnacaepnthikhnmiwnekidtrngkn aela canwnsmachikkhxngaehchthicaepn kkhlaykb canwnkhnthicaepninklum aennxnwaikhrktamsamarthichaephnphngniephuxkahndkhnadkhxngaehchnxysudthicaepn odykahndkhxbekhtbnkhxngaehchaelakhwamnacaepnkhxngkhwamphidphlad hruxkhwamnacaepnthiaehchchnknid ephuxhacanwnaehchtaytwaelakhwamnacaepnkhxngkhwamphidphlad yktwxyangephuxkarepriybethiyb khwamnacaepn 10 18 thung 10 15 khuxxtrakhwamphidphladbitthiaekikhimidkhxngharddiskthwip 6 fngkchnaehch 128 bitxyangechn exmdi5 cungkhwrdarngxyuinchwngnncnkwacaaehchexksaripaelwpraman 8 2 aesnlanexksarinthangthvsdi thungaemwaphllphththiepnipidkhxngmncamiidmakyingkwannkhxbekhtbn aekikhkarxangehtuphldanlangddaeplngcakkarxangehtuphlkhxngphxl haloms 7 khwamnacaepnthiimmiwnekidkhxngkhnidtrngkn dngthiidxthibayiwdanbnkhux 1 p n p n k 1 n 1 1 k 365 displaystyle 1 p n bar p n prod k 1 n 1 left 1 k over 365 right dd cakyxhnakxn nn singthisnickhuxkhakhxng n nxysudthithaih p n gt 1 2 hruxklawxiknyhnung khakhxng n nxysudthithaih p n lt 1 2ichxsmkar 1 x lt e x cakniphcndanbnsungeraidaethnkha 1 k 365 dwy e k 365 caidwa p n k 1 n 1 1 k 365 lt k 1 n 1 e k 365 e n n 1 2 365 displaystyle bar p n prod k 1 n 1 left 1 k over 365 right lt prod k 1 n 1 left e k 365 right e n n 1 2 times 365 dd ephraachann niphcndngklawmiidepnephiyngaekhkarpramankha aetyngepnkhxbekhtbnkhxng p n dwyxsmkarni e n n 1 2 365 lt 1 2 displaystyle e n n 1 2 cdot 365 lt frac 1 2 dd aesdngnythung p n lt 1 2 aekxsmkarephuxhakha n caid n 2 n gt 2 365 ln 2 displaystyle n 2 n gt 2 times 365 ln 2 dd 730 ln 2 mikhapraman 505 997 sungnxykwa 506 elknxy khakhxng n2 n khunmathung 506 emux n 23 dngnn 23 khnkephiyngphxthicaepnkhatxbxyangirkdi karaeksmkar n2 n 2 365 ln 2 ephuxhakha n kcaepnsutrpramankhxngaefrngk exch aemthis dngthiidaesdngiwaelwkaridmaniaesdngephiyngwa 23 khnepncanwnkhnthi maksud thicaepnephuxihaenicwawnekidcatrngkndwyoxkaskhrungtxkhrung klawkhuxmnepidoxkaskhwamepnipidwahak n ethakb 22 khnhruxnxykwakxacidphlechnknxangxingaelaechingxrrth aekikh khawa ptithrrsn nimiidhmaythungkhwamrusukthinaipsukhwamkhdaeyngthangtrrksastr aetthukhyibykkhunenuxngcakkhwamcringthangkhnitsastrkhdaeyngkbkarhyngrudwytnexng klawkhuxkhnswnihymkpramanwaoxkasthikhnsxngkhncamiwnekidtrngkntxngnxykwa 50 xyangmak sahrbklumkhn 23 khn inkhwamepncring wnekidimaeckaecngtlxdthngpixyangethaethiymkn karekidtxwninbangvdukalmimakkwavdukalxun aetephuxcudmunghmaykhxngpyhani karaeckaecngcathukthaihepnexkrup rupaebbediyw Murphy Ron An Analysis of the Distribution of Birthdays in a Calendar Year subkhnemux 2011 12 27 Mathers C D 1983 Seasonal Distribution of Births in Australia International Journal of Epidemiology 12 3 326 331 doi 10 1093 ije 12 3 326 subkhnemux 2011 12 27 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Mathis Frank H 1991 A Generalized Birthday Problem SIAM Review Society for Industrial and Applied Mathematics 33 2 265 270 doi 10 1137 1033051 ISSN 0036 1445 JSTOR 2031144 OCLC 37699182 Unknown parameter month ignored help Jim Gray Catharine van Ingen Empirical Measurements of Disk Failure Rates and Error Rates halomsidwicarnrupaebbkhxngptithrrsnwnekidthimkcathuknaesnx dwykarkhanwnechingtwelkhinxtchiwprawtikhxngekha ekhaechuxwamnkhwrichepntwxyangkhxngmonthsnthangkhnitsastrthinamthrrmmakkhun ekhaekhiynwa karihehtuphlmiphunthanxyubnekhruxngmuxsakhythiwaphusuksakhnitsastrthukkhnkhwrphrxmthicaekhathung pyhawnekidekhyepnkarsathitthiyxdeyiymkhxngkhwamidepriybaehngkhwamkhidxnbrisuththiehnuxkarcddaeninkarechingkl xsmkarsamarthidmainnathisxngnathi inkhnathikarkhuncaichewlayingkwannmak aelathaihekidkhwamphidphladmakkhunipxik imwaekhruxngmuxnncaepndinsxhruxekhruxngkhanwnbnotathilasmy singthiekhruxngkhidelkhimidihphllphthxxkmannkhuxkhwamekhaic hruxkhunsmbtithangkhnitsastr hruxphunthanthihnkaennsahrbthvsdiwangnythwipchnsungyingkhun ekhathungcak https th wikipedia org w index php title pyhawnekid amp oldid 7560012, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม