fbpx
วิกิพีเดีย

พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษา

พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษา หรือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (อังกฤษ: Progressive education) เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางศึกษาศาสตร์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่าพิพัฒนาการนิยมเป็นคำที่ใช้เพื่อแสดงความแตกต่างจากหลักสูตรแบบยุโรป–อเมริกาดั้งเดิม พิพัฒนาการนิยมทางการศึกษาให้ความสำคัญกับประสบการณ์ปัจจุบัน โดยหลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยมจะเชื่อว่าความรู้เป็นเครื่องมือในการหาประสบการณ์และการจัดการศึกษาต้องเน้นถึงความถนัดและความสนใจของผู้เรียน นอกจากนี้ยังเน้นให้เกิดวิธีการเรียนแบบแก้ปัญหาหรือเรียนด้วยการปฏิบัติและมีความเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิต หลักสูตรที่ได้รับอิทธิพลจากปรัชญานี้จะพัฒนาขึ้นโดยคำนึงถึงพื้นฐานความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก รวมไปถึงมีการนำวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้ามาสอดแทรกในการเรียนรู้และจะเปิดโอกาสให้ลงมือทำจริง

จอห์น ดูอี ผู้สนับสนุนปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม

อ้างอิง

  1. อรรถพล อนันตวรสกุล."บทที่ 5 พื้นฐานสำคัญในการพัฒนาหลักสูตร : เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรขั้นนำ", กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (อัดสำเนา).
  2. บุญเลี้ยง ทุมทอง ,การพัฒนาหลักสูตร, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554) ISBN 9-74-032652-8
  3. . Oregon State University. 8 December 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2020-08-04.

ฒนาการน, ยมทางการศ, กษา, หร, ปร, ชญาการศ, กษาพ, ฒนาการน, ยม, งกฤษ, progressive, education, เป, นขบวนการเคล, อนไหวทางศ, กษาศาสตร, ในสม, ยคร, สต, ศตวรรษท, คำว, าพ, ฒนาการน, ยมเป, นคำท, ใช, เพ, อแสดงความแตกต, างจากหล, กส, ตรแบบย, โรป, อเมร, กาด, งเด, ให, ความสำค,. phiphthnakarniymthangkarsuksa hrux prchyakarsuksaphiphthnakarniym xngkvs Progressive education epnkhbwnkarekhluxnihwthangsuksasastrinsmykhriststwrrsthi 19 khawaphiphthnakarniymepnkhathiichephuxaesdngkhwamaetktangcakhlksutraebbyuorp xemrikadngedim phiphthnakarniymthangkarsuksaihkhwamsakhykbprasbkarnpccubn odyhlksutrthiidrbxiththiphlcakprchyakarsuksaphiphthnakarniymcaechuxwakhwamruepnekhruxngmuxinkarhaprasbkarnaelakarcdkarsuksatxngennthungkhwamthndaelakhwamsnickhxngphueriyn 1 nxkcakniyngennihekidwithikareriynaebbaekpyhahruxeriyndwykarptibtiaelamikhwamechuxwakarsuksakhuxchiwit 2 hlksutrthiidrbxiththiphlcakprchyanicaphthnakhunodykhanungthungphunthankhwamsnickhxngphueriynepnhlk rwmipthungmikarnawithikarthangwithyasastrekhamasxdaethrkinkareriynruaelacaepidoxkasihlngmuxthacring 3 cxhn duxi phusnbsnunprchyakarsuksaphiphthnakarniymxangxing aekikh xrrthphl xnntwrskul bththi 5 phunthansakhyinkarphthnahlksutr exksarprakxbkarsxnraywichakarphthnahlksutrkhnna krungethph culalngkrnmhawithyaly xdsaena buyeliyng thumthxng karphthnahlksutr krungethph culalngkrnmhawithyaly 2554 ISBN 9 74 032652 8 Educational Philosophies Oregon State University 8 December 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2020 07 28 subkhnemux 2020 08 04 bthkhwamekiywkbkarsuksaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title phiphthnakarniymthangkarsuksa amp oldid 9576245, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม