fbpx
วิกิพีเดีย

ภาระรับผิดชอบ

ภาระรับผิดชอบ หรือ ภาระความรับผิด (accountability) หมายถึง ความรับผิด และรับชอบในผลของการกระทำตามบทบาทหน้าที่ของผู้กระทำ ไม่ว่าผู้นั้นจะดำรงตำแหน่งใดในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง (Tsai, 2011: 5) อย่างไรก็ตาม คำนี้อาจจะพิจารณาได้เป็นสองความหมายที่ซ้อนกัน ความหมายแรก เป็นความหมายที่ใช้กันทั่วไปในระบอบประชาธิปไตย ที่หมายถึง บรรดาผู้ที่ใช้อำนาจ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล สมาชิกรัฐสภา หรือสภาท้องถิ่นผู้มาจากการเลือกตั้ง หรือ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐผู้มาจากการแต่งตั้ง จะต้องแสดงให้เห็นได้ว่าตนได้ใช้อำนาจที่ได้รับมอบ รวมทั้งได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างถูกต้องเรียบร้อย ความหมายที่สองคือ รูปแบบต่างๆ ในอันที่จะให้เกิดความแน่ใจได้ว่า ค่านิยมของผู้ที่ได้รับมอบอำนาจหรือความรับผิดชอบมีความสอดคล้องต้องกันกับค่านิยมของผู้ที่มอบอำนาจ (พฤทธิสาณ, 2554: 1)

อรรถาธิบาย

ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย การสร้างภาระรับผิดชอบมีหลายกลไกด้วยกัน ประกอบด้วย “การเลือกตั้ง” เป็นพื้นฐานสำคัญที่สุดที่ทำให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองต้องมีความผูกพันกับสาธารณะซึ่งก็คือประชาชนที่เป็นผู้เลือกตั้งให้บุคคลนั้นได้เข้ามาดำรงตำแหน่ง “กระบวนการรัฐธรรมนูญและนิติบัญญัติ” เป็นการตรวจสอบและถ่วงดุลโดยใช้กลไกเชิงสถาบันอย่างเป็นทางการ “การควบคุมการคอร์รัปชั่นของข้าราชการ” เป็นการดูแลในด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ “พื้นที่ประชาสังคม” ในการให้ตัวแสดงทางสังคมอื่นๆ เข้ามาตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ และ “การกระจายอำนาจ” ในการแบ่งภาระความรับผิดชอบสาธารณะให้กับท้องถิ่นและกระจายอำนาจในการจัดการเพื่อให้เหมาะสมกับความแตกต่างเชิงภูมิศาสตร์ รวมถึงการทำให้ประชาชนในท้องถิ่นได้ตรวจสอบการทำงานของหน่วยงานท้องถิ่นด้วย (Tsai, 2011: 7-8)

คำว่า ภาระรับผิดชอบ (accountability) แตกต่างจากคำว่า ความรับผิดชอบ (responsibility) ซึ่งคำว่า ความรับผิดชอบ คือการรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ตามตำแหน่งงานที่ได้รับมา ทั้งในการปฏิบัติงานเพื่อบรรลุเป้าหมายและการรักษากฎระเบียบ แต่ ภาระรับผิดชอบ คือการรับผิดชอบที่ผู้ปฏิบัติงานจะต้องถูกควบคุม ตรวจสอบ ชี้แจง ต่อสาธารณะซึ่งเป็นพื้นที่ภายนอก ผู้ปฏิบัติหน้าที่จึงต้องมีความโปร่งใส ยึดหลักความประหยัด และสามารถถูกตรวจสอบจากประชาชนทั่วไปได้ ดังนั้น ภาระรับผิดชอบ จึงมีขอบข่ายกว้างกว่า ความรับผิดชอบ

ภาระรับผิดชอบสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ

  1. ภาระรับผิดชอบตามแนวยืน (vertical accountability) เป็นหลักความรับผิดชอบที่ภาครัฐในฐานะองค์กรที่ “เหนือกว่า” ต้องรับผิดชอบต่อประชาชนในฐานะที่ “อยู่ใต้การปกครอง” เนื่องจากประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งผู้ปกครองขึ้นไปมีอำนาจ ทำให้ประชาชนต้องสามารถตรวจสอบผู้ปกครองได้ หรือกล่าวได้ว่าประชาชนต้องสามารถตรวจสอบการทำงานของภาครัฐ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามตัวบทกฎหมายอย่างเป็นทางการ ไม่ใช่แค่เรื่องทำผิดกฎหมายหรือไม่ แต่ต้องรวมถึงความคุ้มค่าและจริยธรรม ในที่นี้รวมถึงสื่อมวลชนด้วย
  2. ภาระรับผิดชอบตามแนวนอน (horizontal accountability) เป็นหลักความรับผิดชอบที่หน่วยงานของรัฐหน่วยงานหนึ่งจะต้องมีต่ออีกหน่วยงานหนึ่ง ความสัมพันธ์ดังกล่าวจึงเป็นการตรวจสอบระหว่างหน่วยงานของรัฐในฐานะที่เสมอกัน เช่น นิติบัญญัติตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร หรือองค์กรอิสระตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลและหน่วยงานราชการ เป็นต้น

ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย

ในทางปฏิบัติของไทยพบว่า หลักภาระรับผิดชอบได้ถูกนำมาใช้อย่างจริงจังหลังการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2540 โดยสามารถพบในตัวบทกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 3/1 วรรคหนึ่งและสามที่ว่า

...การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน...

ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ...— 

อย่างไรก็ดี การปฏิบัติของระบบราชการไทยยังคงมีปัญหาอยู่มาก ซึ่งสามารถจำแนกได้ดังนี้

  1. ปัญหาเชิงโครงสร้างการเมือง: ภาระรับผิดชอบเกิดขึ้นได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับระบบรัฐสภาในประเทศไทย ที่รัฐบาลครองเสียงข้างมากในสภา ส่งผลให้ไม่เกิดการตรวจสอบระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร
  2. ปัญหาการนำกฎหมายไปใช้: เป็นปัญหาของระบบราชการที่ยึดติดกับตัวบทกฎหมาย มากกว่าการบริการประชาชน หรือเรียกว่าการบรรลุผิดเป้าหมาย (goal displacement) ทำให้ภาระรับผิดชอบเป็นเพียงสิ่งที่ต้องทำไปเพื่อให้ครบขั้นตอน ไม่ได้มุ่งหวังให้ประชาชนตรวจสอบจริงๆ
  3. ปัญหาในทัศนคติ: การทำงานของระบบการเมืองและระบบราชการไทย ไม่ส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบ เพราะไปคิดว่าเป็นการมุ่งจับผิดและมุ่งหวังทำร้ายฝ่ายตรงข้าม มากกว่าที่จะมองการตรวจสอบเป็นเรื่องของการทำให้ภารกิจมีประสิทธิภาพและความประหยัดสูงสุด รวมถึงทัศนคติที่มองว่าประชาชนไม่มีความรู้เพียงพอที่จะตรวจสอบการทำงานของภาครัฐ ทำให้ภาครัฐไม่เปิดเผยข้อมูลหรือตัวเลขในการดำเนินนโยบายต่างๆ

ดังนั้น การแก้ไขปัญหาเรื่องภาระรับผิดชอบจึงต้องนำหลักการดังกล่าวมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่จำกัดอยู่เพียงภาครัฐ แต่ต้องขยายขอบเขตไปถึงภาคเอกชนและภาคสังคมต่างๆ ซึ่งการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีอย่างอินเทอร์เน็ต ก็จะส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบได้ เมื่อประชาชนตื่นตัวและพร้อมที่จะติดตามภาครัฐ ภาครัฐจึงไม่อาจปฏิเสธที่จะต้องนำหลักภาระรับผิดชอบที่มีอยู่ในตัวบทกฎหมายลงมาสู่การปฏิบัติจริง

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน สืบค้นคำว่า accountability
  2. Tsai, Lily L. (2011). In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.
  3. พฤทธิสาณ ชุมพล ม.ร.ว. (2554). “accountability: ความตรวจสอบได้ ความรับผิดชอบขึ้นต่อการถูก “คิดบัญชี” ได้”. ใน เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา สิริพรรณ นกสวน และ ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล (บรรณาธิการ). คำและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  4. Tsai, Lily L. (2011). In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.
  5. Rick Stapenhurst, Mitchell O'Brien, เข้าถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 ใน http://siteresources.worldbank.org/PUBLICSECTORANDGOVERNANCE/Resources/AccountabilityGovernance.pdf
  6. พระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 เข้าถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 ใน http://hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/data/competency/gov_law2545.pdf
  7. สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2557), คำและแนวคิดประชาธิปไตยสมัยใหม่, เข้าถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 ใน http://www.fes-thailand.org/wb/media/documents/Democ%20Terms%20and%20Concept%20Handbook_Final28112014_compressed%282%29.pdf

ภาระร, บผ, ดชอบ, หร, ภาระความร, บผ, accountability, หมายถ, ความร, บผ, และร, บชอบในผลของการกระทำตามบทบาทหน, าท, ของผ, กระทำ, ไม, าผ, นจะดำรงตำแหน, งใดในทางส, งคม, เศรษฐก, และการเม, อง, tsai, 2011, อย, างไรก, ตาม, คำน, อาจจะพ, จารณาได, เป, นสองความหมายท, อนก, คว. phararbphidchxb 1 hrux pharakhwamrbphid 1 accountability hmaythung khwamrbphid aelarbchxbinphlkhxngkarkrathatambthbathhnathikhxngphukratha imwaphunncadarngtaaehnngidinthangsngkhm esrsthkic aelakaremuxng Tsai 2011 5 2 xyangirktam khanixaccaphicarnaidepnsxngkhwamhmaythisxnkn khwamhmayaerk epnkhwamhmaythiichknthwipinrabxbprachathipity thihmaythung brrdaphuthiichxanac imwacaepnrthbal smachikrthspha hruxsphathxngthinphumacakkareluxktng hrux kharachkaraelaecahnathirthphumacakkaraetngtng catxngaesdngihehnidwatnidichxanacthiidrbmxb rwmthngidptibtihnathixyangthuktxngeriybrxy khwamhmaythisxngkhux rupaebbtang inxnthicaihekidkhwamaenicidwa khaniymkhxngphuthiidrbmxbxanachruxkhwamrbphidchxbmikhwamsxdkhlxngtxngknkbkhaniymkhxngphuthimxbxanac phvththisan 2554 1 3 xrrthathibay aekikhphayitrabxbprachathipity karsrangphararbphidchxbmihlayklikdwykn prakxbdwy kareluxktng epnphunthansakhythisudthithaihphudarngtaaehnngthangkaremuxngtxngmikhwamphukphnkbsatharnasungkkhuxprachachnthiepnphueluxktngihbukhkhlnnidekhamadarngtaaehnng krabwnkarrththrrmnuyaelanitibyyti epnkartrwcsxbaelathwngdulodyichklikechingsthabnxyangepnthangkar karkhwbkhumkarkhxrrpchnkhxngkharachkar epnkarduaelindankarnanoybayipptibti phunthiprachasngkhm inkarihtwaesdngthangsngkhmxun ekhamatrwcsxbkhwamoprngiskhxngrth aela karkracayxanac inkaraebngpharakhwamrbphidchxbsatharnaihkbthxngthinaelakracayxanacinkarcdkarephuxihehmaasmkbkhwamaetktangechingphumisastr rwmthungkarthaihprachachninthxngthinidtrwcsxbkarthangankhxnghnwynganthxngthindwy Tsai 2011 7 8 4 khawa phararbphidchxb accountability aetktangcakkhawa khwamrbphidchxb responsibility sungkhawa khwamrbphidchxb khuxkarrbphidchxbtxpharahnathitamtaaehnngnganthiidrbma thnginkarptibtinganephuxbrrluepahmayaelakarrksakdraebiyb aet phararbphidchxb khuxkarrbphidchxbthiphuptibtingancatxngthukkhwbkhum trwcsxb chiaecng txsatharnasungepnphunthiphaynxk phuptibtihnathicungtxngmikhwamoprngis yudhlkkhwamprahyd aelasamarththuktrwcsxbcakprachachnthwipid dngnn phararbphidchxb cungmikhxbkhaykwangkwa khwamrbphidchxbphararbphidchxbsamarthaebngxxkepn 2 rupaebbkhux phararbphidchxbtamaenwyun vertical accountability epnhlkkhwamrbphidchxbthiphakhrthinthanaxngkhkrthi ehnuxkwa txngrbphidchxbtxprachachninthanathi xyuitkarpkkhrxng enuxngcakprachachnepnphueluxktngphupkkhrxngkhunipmixanac thaihprachachntxngsamarthtrwcsxbphupkkhrxngid hruxklawidwaprachachntxngsamarthtrwcsxbkarthangankhxngphakhrth sungptibtihnathitamtwbthkdhmayxyangepnthangkar imichaekheruxngthaphidkdhmayhruxim aettxngrwmthungkhwamkhumkhaaelacriythrrm inthinirwmthungsuxmwlchndwy phararbphidchxbtamaenwnxn horizontal accountability epnhlkkhwamrbphidchxbthihnwyngankhxngrthhnwynganhnungcatxngmitxxikhnwynganhnung khwamsmphnthdngklawcungepnkartrwcsxbrahwanghnwyngankhxngrthinthanathiesmxkn echn nitibyytitrwcsxbkarthangankhxngfaybrihar hruxxngkhkrxisratrwcsxbkarthangankhxngrthbalaelahnwynganrachkar epntn 5 twxyangkarnaipichinpraethsithy aekikhinthangptibtikhxngithyphbwa hlkphararbphidchxbidthuknamaichxyangcringcnghlngkarekidwikvtiesrsthkicinpi ph s 2540 odysamarthphbintwbthkdhmaywadwykaraekikhephimetimphrarachbyytiraebiybbriharrachkaraephndin chbbthi 5 ph s 2545 inmatra 3 1 wrrkhhnungaelasamthiwa karbriharrachkartamphrarachbyytinitxngepnipephuxpraoychnsukhkhxngprachachn ekidphlsmvththitxpharkickhxngrth khwammiprasiththiphaph khwamkhumkhainechingpharkicaehngrth karldkhntxnkarptibtingan karldpharkicaelayubelikhnwynganthiimcaepn karkracaypharkicaelathrphyakrihaekthxngthin karkracayxanactdsinic karxanwykhwamsadwk aelakartxbsnxngkhwamtxngkarkhxngprachachn thngni odymiphurbphidchxbtxphlkhxngngan inkarptibtihnathikhxngswnrachkar txngichwithikarbriharkickarbanemuxngthidi odyechphaaxyangyingihkhanungthungkhwamrbphidchxbkhxngphuptibtingan karmiswnrwmkhxngprachachn karepidephykhxmul kartidtamtrwcsxbaelapraeminphlkarptibtingan thngni tamkhwamehmaasmkhxngaetlapharkic 6 xyangirkdi karptibtikhxngrabbrachkarithyyngkhngmipyhaxyumak sungsamarthcaaenkiddngni pyhaechingokhrngsrangkaremuxng phararbphidchxbekidkhunidyak odyechphaaxyangyingkbrabbrthsphainpraethsithy thirthbalkhrxngesiyngkhangmakinspha sngphlihimekidkartrwcsxbrahwangfaynitibyytiaelafaybrihar pyhakarnakdhmayipich epnpyhakhxngrabbrachkarthiyudtidkbtwbthkdhmay makkwakarbrikarprachachn hruxeriykwakarbrrluphidepahmay goal displacement thaihphararbphidchxbepnephiyngsingthitxngthaipephuxihkhrbkhntxn imidmunghwngihprachachntrwcsxbcring pyhainthsnkhti karthangankhxngrabbkaremuxngaelarabbrachkarithy imsngesrimihekidkartrwcsxb ephraaipkhidwaepnkarmungcbphidaelamunghwngtharayfaytrngkham makkwathicamxngkartrwcsxbepneruxngkhxngkarthaihpharkicmiprasiththiphaphaelakhwamprahydsungsud rwmthungthsnkhtithimxngwaprachachnimmikhwamruephiyngphxthicatrwcsxbkarthangankhxngphakhrth thaihphakhrthimepidephykhxmulhruxtwelkhinkardaeninnoybaytangdngnn karaekikhpyhaeruxngphararbphidchxbcungtxngnahlkkardngklawmaprbichinchiwitpracawn imcakdxyuephiyngphakhrth aettxngkhyaykhxbekhtipthungphakhexkchnaelaphakhsngkhmtang sungkarecriyetibotkhxngethkhonolyixyangxinethxrent kcasngesrimihekidkartrwcsxbid emuxprachachntuntwaelaphrxmthicatidtamphakhrth phakhrthcungimxacptiesththicatxngnahlkphararbphidchxbthimixyuintwbthkdhmaylngmasukarptibticring 7 xangxing aekikh 1 0 1 1 sphthbyyti rachbnthitysthan subkhnkhawa accountability Tsai Lily L 2011 In George Thomas Kurian et al The Encyclopedia of Political Science Washington D C CQ Press phvththisan chumphl m r w 2554 accountability khwamtrwcsxbid khwamrbphidchxbkhuntxkarthuk khidbychi id in exk tngthrphywthna siriphrrn nkswn aela m r w phvththisan chumphl brrnathikar khaaelakhwamkhidinrthsastrrwmsmy krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly Tsai Lily L 2011 In George Thomas Kurian et al The Encyclopedia of Political Science Washington D C CQ Press Rick Stapenhurst Mitchell O Brien ekhathungwnthi 1 phvsphakhm 2558 in http siteresources worldbank org PUBLICSECTORANDGOVERNANCE Resources AccountabilityGovernance pdf phrarachbyytiraebiybrachkaraephndin chbbthi 5 ph s 2545 ekhathungwnthi 1 phvsphakhm 2558 in http hpe4 anamai moph go th hpe data competency gov law2545 pdf siriphrrn nkswn swsdi 2557 khaaelaaenwkhidprachathipitysmyihm ekhathungwnthi 1 phvsphakhm 2558 in http www fes thailand org wb media documents Democ 20Terms 20and 20Concept 20Handbook Final28112014 compressed 282 29 pdfekhathungcak https th wikipedia org w index php title phararbphidchxb amp oldid 5986558, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม